เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ช่องโค้ง

ดัชนี ช่องโค้ง

วาดสามมิติของช่องโค้งทั่วไป ช่องโค้ง (arch) คือโครงสร้างลักษณะโค้งที่ใช้รองรับน้ำหนักของสิ่งก่อสร้างด้านบนเหนือตัวมันเอง เทคนิคการสร้างอาร์ชถูกพัฒนาขึ้นในเมโสโปเตเมีย อัสซีเรีย อียิปต์ และอีทรูเรีย แต่ถูกปรับปรุงและใช้อย่างแพร่หลายในโรมันโบราณ หลังจากนั้นอาร์ชกลายเป็นโครงสร้างสำคัญของอาคารโบสถ์ในศาสนาคริสต์ และในปัจจุบันยังมีการใช้อาร์ชในส่วนของโครงสร้างสะพาน ประโยชน์ของอาร์ชคือใช้เป็นโครงสร้างในการเชื่อมต่อบริเวณช่องของส่วนโครงสร้างอื่น ออกแบบเพื่อรับแรงอัดในแนวดิ่ง โดยการเปลี่ยนแรงอัดในแนวดิ่งเป็นแรงอัดในแนวระนาบของอาร์ชและถ่ายแรงลงสู่ฐานทั้งสองข้างของอาร์ช ไฟล์:Treledsbåge.png|อาร์ชสามเหลี่ยม ไฟล์:Rundbåge.png|อาร์ชกลม หรือ อาร์ชครึ่งวงกลม ไฟล์:Segmentbåge.png|Segmental arch ไฟล์:Stigande båge.png|Unequal round arch or Rampant round arch ไฟล์:Lansettbåge.png|Lancet arch ไฟล์:Spetsbåge.png|Equilateral pointed arch ไฟล์:Skulderbåge.png|Shouldered flat arch ไฟล์:Trepassbåge.png|Three-foiled cusped arch ไฟล์:Hästskobåge.png|Horseshoe arch ไฟล์:Korgbåge.png|Three-centred arch ไฟล์:Ellipsbåge.png|Elliptical arch ไฟล์:Draperibåge.png|Inflexed arch ไฟล์:Kölbåge.png|Ogee arch ไฟล์:Karnisbåge.png|Reverse ogee arch ไฟล์:Tudorbåge.png|Tudor arch ไฟล์:Parabelbåge.png|Catenary or Parabolic arch.

สารบัญ

  1. 20 ความสัมพันธ์: พระคัมภีร์คนยากพระปรางค์สามยอดพลศาสตร์ของไหลมหาวิหารซาเคร-เกอร์สะพานสะพานชาลส์สะพานแบบโค้งหน้าบันอาร์กเดอทรียงฟ์ดูว์การูแซลอาสนวิหารกาวายงอาสนวิหารกูต็องส์อาสนวิหารมากงอาสนวิหารออลอรงอาสนวิหารอาวร็องช์อาสนวิหารโอเติงอาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแลฮายาโซฟีอาประตูชัยปงเดซาร์โครงสร้างเชิงสาเหตุ

พระคัมภีร์คนยาก

หน้าต่าง “พระคัมภีร์คนยาก” ที่ มหาวิหารแคนเทอร์เบอรีจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 ที่อาจจะสร้างจากชิ้นส่วนของบานหน้าต่างเดิมสองบาน รายละเอียดจากหน้าต่างสองหน้าต่างจากมหาวิหารแคนเทอร์เบอรีที่เป็นเรื่องสองเรื่องที่ต่างกัน แต่ตัวแบบสองตัวในภาพทางด้านซ้ายเป็นตัวเดียวกัน และเสา โต๊ะ เชิงเทียน และหนังสือ ภาพซ้ายสร้างในสมัยกลาง และภาพขวาในสมัยวิกตอเรีย พระคัมภีร์คนยาก (Poor Man's Bible) คำว่า “พระคัมภีร์คนยาก” ในปัจจุบันหมายถึงงานศิลปะภายในคริสต์ศาสนสถานที่อาจจะเป็นงานชิ้นเดียวหรืองานชุดที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนสาระของคัมภีร์ไบเบิลต่อประชากรส่วนใหญ่ที่ไร้การศึกษา ศิลปะ “พระคัมภีร์คนยาก” อาจจะเป็นงานประติมากรรม งานแกะสลัก จิตรกรรม งานโมเสก หรือหน้าต่างประดับกระจกสี ในโบสถ์บางแห่งหน้าต่างบานเดียวก็อาจจะเรียกได้ว่าเป็น “พระคัมภีร์คนยาก” ขณะที่ในโบสถ์อื่นทั้งโบสถ์อาจจะตกแต่งด้วยบทบรรยายพระคัมภีร์ไบเบิลอันซับซ้อนภายใต้หัวใจของเรื่องที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน.

ดู ช่องโค้งและพระคัมภีร์คนยาก

พระปรางค์สามยอด

ระปรางค์สามยอด จังหวัดลพบุรี เป็นโบราณสถานและ แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดลพบุรี ลักษณะเป็นปราสาทขอมในศิลปะบายน (พ.ศ.

ดู ช่องโค้งและพระปรางค์สามยอด

พลศาสตร์ของไหล

ลศาสตร์ของไหล(Fluid dynamics) เป็นสาขาวิชาการย่อยของกลศาสตร์ของไหล ที่ศึกษาการเคลื่อนที่ของของไหล ซึ่งหมายรวมถึงของเหลวและแก๊ส โดยพลศาสตร์ของไหลยังแบ่งแยกย่อยออกเป็นหลายสาขาวิชา เช่น อากาศพลศาสตร์ ที่ศึกษาการเคลื่อนที่ของอากาศ และพลศาสตร์ของเหลวที่ศึกษาการเคลื่อนที่ของของเหลว เราใช้พลศาสตร์ของไหลในหลายวิธี เช่นในการคำนวณแรงและโมเมนต์บนอากาศยาน ในการหาอัตราการไหลของมวลของปิโตรเลียมผ่านท่อ คาดคะเนแบบรูปของสภาพอากาศ ทำความเข้าใจเนบิวลาและสสารระหว่างดาว ตลอดจนงานคอมพิวเตอร์กราฟิก.

ดู ช่องโค้งและพลศาสตร์ของไหล

มหาวิหารซาเคร-เกอร์

มหาวิหารพระหฤทัยแห่งมงมาทร์ (Basilique du Sacré-Cœur de Montmartre) เป็นโบสถ์และมหาวิหารรองในคริสตจักรโรมันคาทอลิก ซึ่งตั้งอยู่บนยอดเขาที่สูงที่สุดของกรุงปารีส หรือที่เรียกกันว่า "มงมาทร์" สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแก่พระหฤทัยของพระเยซู ปัจจุบันถือเป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวหลักของกรุงปารีส โดยถือเป็นอนุสาวรีย์ของทั้งสองด้าน คือการเมือง และวัฒนธรรม โบสถ์ได้ถูกออกแบบโดยโปล อะบาดี ซึ่งเป็นสถาปนิกชาวฝรั่งเศสที่เป็นหนึ่งใน 77 สถาปนิกผู้ชนะการประกวด เริ่มการก่อสร้างในปี..1875 และเสร็จสิ้นในปี..1914 โดยได้รับการแต่งตั้งโดยสมบูรณ์ (วางศิลาฤกษ์) ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี..1919 ในปัจจุบันนักท่องเที่ยวสามารถเข้าเยี่ยมชมได้ทุกวันตั้งแต่ 06.00 น.

ดู ช่องโค้งและมหาวิหารซาเคร-เกอร์

สะพาน

น Akashi-Kaikyō ในญี่ปุ่นเป็นสะพานแขวนที่ยาวที่สุดในโลก สะพานจากท่อนซุง เชื่อมต่อเพื่อใช้ข้ามแม่น้ำ สะพาน คือโครงสร้างที่เชื่อมต่อระหว่างฝั่งสำหรับข้ามหุบเขา แม่น้ำ ถนน ทางรถไฟ หรือพื้นน้ำต่างๆ การออกแบบความสูงของสะพาน จะขึ้นอยู่กับสิ่งกีดขวางด้านล่าง รวมถึงการจราจรด้านล่าง (เช่น รถ เรือ สามารถผ่านได้) การก่อสร้างสะพานมีจุดประสงค์เพื่อให้การสัญจรมีการต่อเนื่องระหว่างทางที่มีการสร้างไว้แล้ว555.

ดู ช่องโค้งและสะพาน

สะพานชาลส์

นชาลส์ (Karlův most; Charles Bridge) เป็นสะพานประวัติศาสตร์ ข้ามแม่น้ำวัลทาวา ในกรุงปราก ประเทศเช็กเกีย เริ่มก่อสร้างในปี..

ดู ช่องโค้งและสะพานชาลส์

สะพานแบบโค้ง

นหินโค้งในญี่ปุ่น สะพานแบบโค้ง (arch bridge) คือ สะพานรูปแบบหนึ่งที่มีการรับน้ำหนักในแต่ละด้านในการก่อสร้างเป็นรูปโค้ง สะพานแบบโค้งใช้การโอนน้ำหนักของสะพานและน้ำหนักถ่วงบางส่วนในการผลักตามแนวนอนโดยเครื่องรับน้ำหนักที่ด้านใดด้านหนึ่ง สะพานหนึ่งอาจจะสร้างจากรูปโค้งที่ต่อเนื่องกัน แต่ในปัจจุบันมีสะพานหลายรูปแบบที่ใช้โครงสร้างที่ประหยัดมากกว่าสะพานแบบโค้ง.

ดู ช่องโค้งและสะพานแบบโค้ง

หน้าบัน

การตกแต่งหน้าบันวัดราชบุรณราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร หน้าบัน (Tympanum鼓室) คือบริเวณครึ่งวงกลมหรือเกือบสามเหลี่ยมเหนือประตูทางเข้าที่อยู่ระหว่างทับหลังและโค้ง (arch) ซึ่งจะมีรูปสลักตกแต่งหรือเครื่องตกแต่งอื่นๆ สถาปัตยกรรมเกือบทุกแบบจะมีองค์ประกอบนี้ ผู้คิดค้นการสร้างหน้าบันเป็นคือชาวอียิปต์โบราณประมาณ 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช ต่อมาก็ปรากฏในสถาปัตยกรรมกรีก สถาปัตยกรรมของคริสต์ศาสนา และ สถาปัตยกรรมของศาสนาอิสลาม.

ดู ช่องโค้งและหน้าบัน

อาร์กเดอทรียงฟ์ดูว์การูแซล

อาร์กเดอทรียงฟ์ดูว์การูแซล (Arc de triomphe du Carrousel) หรือรู้จักกันในชื่อ ประตูชัยแห่งการูแซล เป็นอนุสรณ์สถานที่สำคัญในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่กลางจัตุรัสดูว์การูแซล (Place du Carousel) ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งของพระราชวังทุยเลอรี อยู่ในเขตที่ 1 ของกรุงปารีส ประตูชัยแห่งนี้สร้างขึ้นในระหว่างปีค.ศ.

ดู ช่องโค้งและอาร์กเดอทรียงฟ์ดูว์การูแซล

อาสนวิหารกาวายง

อาสนวิหารกาวายง (Cathédrale de Cavaillon) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระและนักบุญเวร็องแห่งกาวายง (Cathédrale Notre-Dame-et-Saint-Véran de Cavaillon) เป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชและอดีตอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลกาวายงตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 จนกระทั่งถูกยุบรวมเข้ากับอัครมุขมณฑลอาวีญงตั้งแต่ ค.ศ.

ดู ช่องโค้งและอาสนวิหารกาวายง

อาสนวิหารกูต็องส์

อาสนวิหารกูต็องส์ (Cathédrale de Coutances) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งกูต็องส์ (Cathédrale Notre-Dame de Coutances) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายก ประจำมุขมณฑลกูต็องส์และอาวร็องช์ ตั้งอยู่ในเมืองกูต็องส์ จังหวัดม็องช์ ในแคว้นนอร์ม็องดี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระแม่มารี อาสนวิหารแห่งนี้สร้างขึ้นที่ความสูงเหนือระดับน้ำทะเลประมาณ 90 เมตร ซึ่งเป็นจุดสนใจที่สำคัญของตัวเมืองกูต็องส์ อีกทั้งยังสามารถมองเห็นได้จากทะเลอีกด้วย ตามตำนานกล่าวว่าสามารถมองเห็นได้จากเกาะเจอร์ซีย์ ที่อยู่ห่างไปถึง 40 กิโลเมตร เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของอาคารที่อยู่ในระหว่างการเปลี่ยนผ่านทางสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์กับองค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใหม่กว่าตามแบบกอทิก จะพบว่าด้านข้างของบริเวณกลางโบสถ์และหอสูงซึ่งขนาบทั้งสองข้างของหน้าบันหลักนั้นยังเป็นโครงสร้างแบบโรมาเนสก์ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 11 ซึ่งยังเห็นได้ชัดเจนจากบริเวณชั้นบนของวิหารในเวลาเยี่ยมชม นอกจากนี้ยังประกอบด้วยยอดสูงถึงสองยอดบริเวณหน้าบันด้านหน้าวิหาร และหอรับแสง (tour-lanterne) ตรงกลางระหว่างหอสูงทั้งสอง และยังถือเป็นตัวอย่างที่สำคัญของสถาปัตยกรรมกอทิกนอร์มัน (gothique normand) ซึ่งโดดเด่นด้วยเส้นสายที่ตรงและสูงชะลูด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแนวดิ่ง อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ.

ดู ช่องโค้งและอาสนวิหารกูต็องส์

อาสนวิหารมากง

อาสนวิหารมากง (Cathédrale de Mâcon) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญบิเซนเตแห่งมากง (Cathédrale Saint-Vincent de Mâcon) ในอดีตมีฐานะเป็นอาสนวิหารนิกายโรมันคาทอลิกประจำมุขมณฑลมากงซึ่งต่อมาได้ถูกยุบลงเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลโอเติงตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู ช่องโค้งและอาสนวิหารมากง

อาสนวิหารออลอรง

อาสนวิหารออลอรง (Cathédrale d'Oloron) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญมารีย์แห่งออลอรง (Cathédrale Sainte-Marie d'Oloron) ในปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชนิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลออลอรงซึ่งต่อมาได้ถูกยุบลงเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลบายอนตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู ช่องโค้งและอาสนวิหารออลอรง

อาสนวิหารอาวร็องช์

อาสนวิหารอาวร็องช์ (Cathédrale d'Avranches) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญอันดรูว์แห่งอาวร็องช์ (Cathédrale Saint-André d'Avranches) ก่อนถูกทำลายลงในเดือนเมษายน ค.ศ.

ดู ช่องโค้งและอาสนวิหารอาวร็องช์

อาสนวิหารโอเติง

อาสนวิหารโอเติง (Cathédrale d'Autun) หรือชื่อเต็มคือ อาสนวิหารนักบุญลาซารัสแห่งโอเติง (Cathédrale Saint-Lazare d'Autun) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกอันเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลโอเติง ตั้งอยู่ที่เมืองโอเติง จังหวัดโซเนลัวร์ แคว้นบูร์กอญ-ฟร็องช์-กงเต ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญลาซารัสแห่งแอ็กซ์ สร้างขึ้นในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 12 เพื่อเป็นอาสนวิหารหลังใหม่ทดแทน "อาสนวิหารนักบุญนาซาริอุสแห่งโอเติง" อาสนวิหารหลังเก่าซึ่งสร้างมาตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 5 อาสนวิหารโอเติงเป็นหนึ่งในตัวอย่างของอาสนวิหารแบบโรมาเนสก์ที่ประกอบด้วยทั้งงานสถาปัตยกรรมและศิลปะตกแต่งภายในช่วงที่สมัยที่ศิลปะโรมาเนสก์มีความเจริญถึงขีดสุด และยังเป็นตัวอย่างที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งของสถาปัตยกรรมแบบโรมาเนสก์ในประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ.

ดู ช่องโค้งและอาสนวิหารโอเติง

อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล

อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล (Cathédrale du Puy-en-Velay) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระรับสารแห่งเลอปุย-อ็อง-เวอแล (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Annonciation du Puy-en-Velay) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลเลอปุย-อ็อง-เวอแล ตั้งอยู่ที่เมืองเลอปุย-อ็อง-เวอแล จังหวัดโอต-ลัวร์ แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับสาร และยังได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นบาซิลิกาเมื่อปีค.ศ.

ดู ช่องโค้งและอาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล

ฮายาโซฟีอา

ัณฑ์อายาโซเฟียในปัจจุบัน โครงสร้างโบสถ์ ฮายาโซฟีอา (Hagia Sophia), อายาโซเฟีย (Ayasofya), ฮากีอาโซพีอา (Ἁγία Σοφία) หรือ ซางก์ตาซาปีเอนเตีย (Sancta Sapientia) เดิมเคยเป็นโบสถ์ของคริสต์ศาสนา นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ต่อมาถูกเปลี่ยนเป็นสุเหร่า ปัจจุบันเป็นพิพิธภัณฑ์ ตั้งอยู่ที่นครอิสตันบูล ประเทศตุรกี ถือเป็นสิ่งก่อสร้างที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งและมักถูกจัดให้อยู่ในรายการสิ่งมหัศจรรย์ของโลกในยุคกลางHereward Carrington (1880-1958), "The Seven Wonders of the World: ancient, medieval and modern", reprinted in the Carington Collection (2003) ISBN 0-7661-4378-3,.

ดู ช่องโค้งและฮายาโซฟีอา

ประตูชัย

ประตูชัย (triumphal arch, arc de tromphe) เป็นสิ่งก่อสร้างมีลักษณะเป็นซุ้มโค้งประดับด้วยประติมากรรม คำจารึก และสิ่งตกแต่งอย่างอื่น กำเนิดในยุคสาธารณรัฐโรมโดยสร้างเพื่อฉลองชัยชนะในการรบแต่ละคราว ตัวอย่างเช่น ประตูชัยของลูชียุส สเตอริตินุส (Lucius Steritinus) สร้างเมื่อ..

ดู ช่องโค้งและประตูชัย

ปงเดซาร์

ปงเดซาร์ (Pont des Arts) เป็นสะพานคนเดินเท้าข้ามแม่น้ำแซนในปารีส เชื่อมระหว่างสถาบันแห่งฝรั่งเศส (Institut de France) กับจัตุรัสหน้าพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ ชื่อสะพานตั้งชื่อตามชื่อของพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ซึ่งเคยมีชื่อเรียกว่า "ปาแลเดซาร์" (Palais des Arts) ในช่วงจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1 เป็นสะพานเหล็กแห่งแรกที่สร้างขึ้นในปารีส สะพานแห่งนี้สร้างขึ้นราว..

ดู ช่องโค้งและปงเดซาร์

โครงสร้างเชิงสาเหตุ

ในฟิสิกส์เชิงคณิตศาสตร์ โครงสร้างเชิงสาเหตุ (Cuasal stucture) ของแมนิโฟลด์แบบโลเร็นตซ์ บอกถึงความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างจุดต่าง ๆ ในแมนิโฟล.

ดู ช่องโค้งและโครงสร้างเชิงสาเหตุ

หรือที่รู้จักกันในชื่อ อาร์ชโค้ง