สารบัญ
16 ความสัมพันธ์: พระคริสต์ทรงพระสิริมัสยิดซิวเลย์มานีเยรายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์ร็อกเซลานาสู่นรกภูมิอาสนวิหารกาออร์อิสตันบูลจักรพรรดินิโคลอส คานาบอสจักรวรรดิออตโตมันจักรวรรดิไบแซนไทน์ต้นสมัยกลางประวัติศาสตร์อานาโตเลียนิว7วันเดอส์ออฟเดอะเวิลด์โลกันตนรกไม้เท้าโมเสสเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก
พระคริสต์ทรงพระสิริ
ระคริสต์ทรงพระสิริ (Christ in Glory) หรือ พระคริสต์ผู้ยิ่งใหญ่ (Christ in Majesty Majestas Domini), เป็นภาพพระเยซูประทับบนบัลลังก์ในฐานะประมุขของโลก ในการวางองค์ประกอบของงานศิลปะจะเป็นภาพที่จะมองจากด้านหน้าเสมอ และมักจะขนาบด้วยคนหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนไปแล้วแต่บริบท ลักษณะ ภาพ “พระคริสต์ทรงพระสิริ” เป็นภาพที่วิวัฒนาการมาตั้งแต่ศิลปะคริสเตียนยุคแรกที่นำมาโดยตรงจากภาพจักรพรรดิโรมันบนบัลลังก์ ในศิลปะไบแซนไทน์จะมีลักษณะที่ต่างออกไปเล็กน้อยเป็นภาพครึ่งพระองค์ “พระคริสต์ผู้ทรงสรรพานุภาพ” (Christ Pantocrator) และจะไม่มีสิ่งอื่นใดประกอบ และภาพ “เดอีซิส” (Deesis) ที่เป็นภาพทั้งพระองค์บนบัลลังก์ขนาบด้วยพระแม่มารีย์และนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาและนักบุญองค์อื่น ๆ ทางตะวันตกองค์ประกอบของภาพวิวัฒนาการมาโดยตลอดจนกระทั่งถึงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และยังคงดำรงความสำคัญจนมาถึงปลายศิลปะบารอกที่เป็นภาพที่ลอยอยู่บนฟ้.
ดู ฮายาโซฟีอาและพระคริสต์ทรงพระสิริ
มัสยิดซิวเลย์มานีเย
มัสยิดซิวเลย์มานีเย (Süleymaniye Camii, Süleymaniye Mosque) เป็นมัสยิดหลวงของออตโตมันที่ตั้งอยู่ในอิสตันบูลในตุรกี เป็นมัสยิดที่ใหญ่เป็นที่สองของอิสตันบูลและเป็นสิ่งก่อสร้างที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดของเมืองสิ่งก่อสร้างหนึ่ง มัสยิดซิวเลย์มานีเยสร้างตามพระบรมราชโองการของสุลต่านสุลัยมานแห่งจักรวรรดิออตโตมัน โดยมีมิมาร์ ซินานเป็นสถาปนิก เป็นสถาปัตยกรรมแบบอิสลาม ที่เริ่มก่อสร้างในปี ค.ศ.
ดู ฮายาโซฟีอาและมัสยิดซิวเลย์มานีเย
รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์
นี่คือ รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์ ตั้งแต่การสถาปนากรุงคอนสแตนติโนเปิลในปี..
ดู ฮายาโซฟีอาและรายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์
ร็อกเซลานา
วร์เรม ซุลตาน (ตุรกีออตโตมัน: خُرَّم سلطان) หรือเป็นที่รู้จักในพระนามว่า ร็อกเซลานา (Roxelana; ราว พ.ศ. 2045 – 15 เมษายน พ.ศ. 2101) เป็นพระชายาเอกในสุลต่านสุลัยมานแห่งจักรวรรดิออตโตมัน พระองค์เป็นที่รู้จักในฐานะพระชายาเอกในองค์สุลต่าน (ตุรกีออตโตมัน: خاصکي سلطان Haseki Sultan) ที่ทรงพระราชอำนาจทางการเมืองผ่านพระราชสวามี และทรงบทบาทสำคัญยิ่งต่อกิจการของรั.
สู่นรกภูมิ
ู่นรกภูมิ (Inferno) เป็นนวนิยายแนวลึกลับ/ระทึกขวัญ เขียนโดยแดน บราวน์ โดยอยู่ในลำดับที่ 4 ในชุด โรเบิร์ต แลงดอน ศาสตราจารย์ด้านสัญลักษณ์วิทยาแห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ฉบับภาษาอังกฤษวางจำหน่ายเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม..
อาสนวิหารกาออร์
อาสนวิหารกาออร์ (Cathédrale de Cahors) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งกาออร์ (Cathédrale Saint-Étienne de Cahors) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลกาออร์ ตั้งอยู่ที่เมืองกาออร์ จังหวัดล็อต แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญสเทเฟน เป็นอีกหนึ่งสถานที่ที่แสดงให้เห็นถึงช่วงเปลี่ยนผ่านระหว่างสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์กับสถาปัตยกรรมกอทิกได้อย่างดียิ่ง อาสนวิหารแห่งนี้ยังเป็นสถานที่บรรจุเรลิกสำคัญของพระเยซู ซึ่งเรียกว่า "Sainte Coiffe" ซึ่งเป็นหมวกผ้าคลุมศีรษะเพื่อใช้แต่งพระศพพระเยซูเมื่อตอนสิ้นพระชนม์ ซึ่งเรลิกชิ้นนี้ถูกนำกลับมาจากแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ โดยเฌโร เดอ การ์ดายัก อาสนวิหารแห่งกาออร์ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ.
ดู ฮายาโซฟีอาและอาสนวิหารกาออร์
อิสตันบูล
อิสตันบูล (ตุรกี: İstanbul) เดิมชื่อ คอนสแตนติโนเปิล เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศตุรกี ตั้งอยู่บริเวณช่องแคบบอสฟอรัส ซึ่งทำให้อิสตันบูลเป็นเมืองสำคัญเพียงเมืองเดียวในโลก ที่ตั้งอยู่ใน 2 ทวีป คือ ทวีปยุโรป (ฝั่ง Thrace ของบอสฟอรัส) และทวีปเอเชีย (ฝั่งอานาโตเลีย) ข้อมูลปี 2007 จังหวัดอิสตันบูลมีประชากรประมาณ 11,372,613 คน ในอดีต อิสตันบูลเป็นเมืองสำคัญของชนเผ่าจำนวนมากในบริเวณนั้น จึงส่งผลให้อิสตันบูลมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป เช่น ไบแซนไทน์, คอนสแตนติโนเปิล, สแตมโบล, อิสลามบูลเป็นต้น คำว่า อิสตันบูล มาจากภาษากรีก แปลว่า "ในเมือง" หรือ "ของเมือง".
จักรพรรดินิโคลอส คานาบอส
ักรพรรดินิโคลอส คานาบอส (Nikolaos Kanabos หรือ Nicolas Canabus) จักรพรรดินิโคลอสทรงได้รับเลือกให้เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์เมื่อวันที่ 25 หรือ 27 มกราคม ค.ศ.
ดู ฮายาโซฟีอาและจักรพรรดินิโคลอส คานาบอส
จักรวรรดิออตโตมัน
ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ.
ดู ฮายาโซฟีอาและจักรวรรดิออตโตมัน
จักรวรรดิไบแซนไทน์
ักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) หรือ จักรวรรดิไบแซนทิอุม (Βασιλεία των Ρωμαίων) เป็นจักรววรรดิที่สืบทอดโดยตรงจากจักรวรรดิโรมันในปลายสมัยโบราณ และยุคกลาง มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ในบริบทสมัยโบราณตอนปลาย จักรวรรดิยังถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จักรวรรดิโรมันตะวันออก ขณะที่ยังมีจักรวรรดิโรมันตะวันตกอยู่ ทั้งคำว่า "จักรวรรดิไบแซนไทน์" และ "จักรวรรดิโรมันตะวันออก" เป็นคำทางภูมิประวัติศาสตร์ที่สร้างขึ้นและใช้กันในหลายศตวรรษต่อมา ขณะที่พลเมืองยังเรียกจักรวรรดิของตนว่า "จักรวรรดิโรมัน" หรือ "โรมาเนีย" เรื่อยมากระทั่งล่มสลายไป ขณะที่จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ส่วนตะวันออกยังดำเนินต่อมาอีกพันปีก่อนจะเสียแก่เติร์กออตโตมันใน..
ดู ฮายาโซฟีอาและจักรวรรดิไบแซนไทน์
ต้นสมัยกลาง
ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg.
ประวัติศาสตร์อานาโตเลีย
ประวัติศาสตร์อานาโตเลียกล่าวถึงดินแดนที่เรียกว่าอานาโตเลียหรือเอเชียไมเนอร์ ซึ่งเป็นดินแดนทางตะวันตกของทวีปเอเชีย ในทางภูมิศาสตร์หมายถึงดินแดนส่วนใหญ่ของประเทศตุรกีในปัจจุบัน จากทะเลอีเจียนซึ่งเป็นขอบเขตทางตะวันตกจนถึงภูเขาชายแดนประเทศอาร์มีเนียทางตะวันออก และเทือกเขาทะเลดำทางเหนือจนถึงเทือกเขาเทารัสทางใต้ โดยสภาพทางภูมิศาสตร์ อานาโตเลียเป็นเสมือนสะพานที่เชื่อมระหว่างยุโรปและเอเชียตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์ ดินแดนแห่งนี้จึงเป็นเส้นทางสำหรับการเดินทางไปมาระหว่างยุโรปและเอเชีย ตลอดระยะเวลากว่า 4 ถึง 5,000 ปีที่ผ่านมา มีชนหลายเผ่าพันธุ์เดินทางเข้ามายังอานาโตเลียและได้ตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนของตนบนดินแดนแห่งนี้ อาณาจักรของชนเหล่านี้ได้พัฒนาเจริญรุ่งเรืองและในที่สุดก็ต้องล่มสลายไปตามกาลเวลา ความเก่าแก่และหลากหลายของอารยธรรมที่เคยเจริญรุ่งเรืองบนผืนแผ่นดินแห่งนี้เป็น 1 ใน 3 สิ่งที่ชาวตุรกีมีความภาคภูมิใจเป็นพิเศษสำหรับดินแดนอันเป็นประเทศตนในปัจจุบัน ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่ราบสูงอานาโตเลียเคยเป็นที่อาศัยของมนุษย์มาตั้งแต่ยุคหิน ยุคประวัติศาสตร์ของอานาโตเลียเริ่มต้นขึ้นในยุคโลหะ ประมาณ 3,000 - 1,200 ก่อนคริสตกาล หากมองย้อนหลังไปในยุคดังกล่าวกลับมาจนถึงยุคปัจจุบันจะพบว่าอานาโตเลียมีลักษณะพิเศษที่ไม่เหมือนดินแดนอื่นใดในโลกคือ เป็นดินแดนที่มีอารยธรรมที่เก่าแก่และหลากหลายของชนหลายกลุ่มซึ่งได้ผลัดเปลี่ยนกันเข้ามาครอบครองดินแดนแห่งนี้.
ดู ฮายาโซฟีอาและประวัติศาสตร์อานาโตเลีย
นิว7วันเดอส์ออฟเดอะเวิลด์
นิว7วันเดอส์ออฟเดอะเวิลด์ (New7Wonders of the World) เป็นการริเริ่มตั้งแต่ปี 2543 โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการรอบสหัสวรรษในการเลือกสิ่งมหัศจรรย์ของโลกจากการคัดเลือกอนุสรณ์สถานที่มีอยู่ 200 แห่ง การสำรวจความเห็นของประชาชนนี้มี Bernard Weber เป็นผู้นำ และมูลนิธิ New7Wonders เป็นผู้จัดระเบียบ ซึ่งเป็นองค์การตั้งอยู่ในซูริก ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ประกาศผลเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2550 ที่กรุงลิสบอน.
ดู ฮายาโซฟีอาและนิว7วันเดอส์ออฟเดอะเวิลด์
โลกันตนรก
ลกันตนรก (Inferno) เป็นภาพยนตร์ลึกลับ/ระทึกขวัญ กำกับโดยรอน ฮาวเวิร์ด เขียนบทโดยเดวิด เคปป์ โดยอิงจากนวนิยายเรื่อง สู่นรกภูมิ ของแดน บราวน์ ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาคต่อจาก รหัสลับระทึกโลก (ค.ศ.
ไม้เท้าโมเสส
ตามพระธรรมอพยพในพระคริสตธรรม ไม้เท้า (ฉบับพระเจ้าเจมส์ว่า rod; matteh) ที่โมเสส (Moses) ใช้นั้น อยู่ข้างกายเขาตลอดเวลาที่เกิดเหตุการณ์สำคัญในพระธรรมดังกล่าวซึ่งระบุว่า โมเสสใช้ไม้เท้าเสกน้ำจากศิลา แปลงไม้เท้าเป็นงู และใช้แยกทะเลแดง แต่ปัญหาว่า ไม้เท้าของโมเสสเป็นอันเดียวกับไม้เท้าของอาโรน (Aron) พี่ชายของเขาหรือไม่นั้น เป็นที่อภิปรายในหมู่นักวิชาการเสมอม.
เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก
็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก (Seven Wonders of the World) คือ สิ่งก่อสร้างที่มีความยิ่งใหญ่และโดดเด่น ทั้งหมด 7 แห่งด้วยกัน โดยมีการกล่าวถึงครั้งแรกในงานของเฮโรโดตุส (Herodotos หรือ Herodotus เมื่อราว 5 ศตวรรษก่อนคริสตกาล แต่หลังจากนั้นก็การอ้างถึงจากกวีชาวกรีก เช่น คัลลิมาฆุส แห่งคีเรนี, อันทิพาเตอร์ แห่งซีดอน และฟิโล แห่งไบเซนไทน์ เมื่อราวศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ หรือสิ่งมหัศจรรย์ทั้งเจ็ดของโลก ในบัญชีแรก เรียกกันว่า เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ และหลังจากนั้น ยังมีบัญชีเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกในยุคกลางและยุคปัจจุบัน โดยไม่ปรากฏผู้จัดทำรายการอย่างชัดเจน.
ดู ฮายาโซฟีอาและเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Hagia Sophiaสุเหร่าโซเฟียสุเหร่าเซนต์โซเฟียฮาเยียโซเฟียฮาเจีย โซเฟียพิพิธภัณฑ์อะยาโซเฟียโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย