โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์

ดัชนี จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์

ลเอก จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ (27 ตุลาคม พ.ศ. 2438 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2526) อดีตอธิบดีกรมรถไฟ และผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.

27 ความสัมพันธ์: การรถไฟแห่งประเทศไทยมังกร พรหมโยธีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทยรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวงรายนามสมาชิกคณะราษฎรรายนามผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทยวุฒิสภาไทย ชุดที่ 1สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3สงครามแปซิฟิกสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทยหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)อร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองจิทัศ ศรสงครามทัศนาวลัย ศรสงครามความตกลงสมบูรณ์แบบควง อภัยวงศ์คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 10คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9นามสกุลพระราชทานไสว ไสวแสนยากรเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลงเปรม ติณสูลานนท์

การรถไฟแห่งประเทศไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และการรถไฟแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

มังกร พรหมโยธี

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก มังกร พรหมโยธี หรือ หลวงพรหมโยธี (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2439 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2509) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และอดีตรัฐมนตรี.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และมังกร พรหมโยธี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไท.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณ.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 1 ของไทย ประกอบด้วยกรรมการราษฎร จำนวน 14 คน และหัวหน้ารัฐบาลเรียกว่า "ประธานคณะกรรมการราษฎร" เทียบเท่าตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ต่อมาตั้งแต่คณะรัฐมนตรีคณะที่ 2 ได้เปลี่ยนชื่อตำแหน่งจาก "กรรมการราษฎร" เป็น "รัฐมนตรี" โดยมีทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง และ รัฐมนตรี (ช่วยราชการกระทรวงต่างๆ แต่ไม่ได้ระบุชื่อกระทรวงในชื่อตำแหน่ง หรือ "รัฐมนตรีลอย") คณะรัฐมนตรีคณะสุดท้ายที่มีตำแหน่งรัฐมนตรี ที่ไม่ได้ประจำกระทรวง คือ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 28 ของไทย เมื่อ..

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง · ดูเพิ่มเติม »

รายนามสมาชิกคณะราษฎร

ณะราษฎรพบปะกันที่กรุงปารีส เมื่อ พ.ศ. 2468 (นายปรีดี พนมยงค์-ที่ 4 จากซ้าย, ร้อยโท แปลก ขีตตะสังคะ-ขวาสุด, ร.ท.ประยูร ภมรมนตรี-นั่งติดกับ ร.ท.แปลก และนายควง อภัยวงศ์-ยืน) สมาชิกคณะราษฎรประกอบด้วยราษฎร ข้าราชการ ทหาร และพลเรือน จำนวน 115 คน.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และรายนามสมาชิกคณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย

้านล่างนี้คือรายพระนามและรายนามเจ้ากรมรถไฟ ผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวง อธิบดีกรมรถไฟและผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และรายนามผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 1

วุฒิสภาไทยชุดที่ 1 (24 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490) หรือรู้จักกันในชื่อ..

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และวุฒิสภาไทย ชุดที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1 (15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2480) เป็นสภาผู้แทนราษฎรชุดแรกของไทย ได้มาจากการแต่งตั้งและเลือกตั้งโดยอ้อม สภาชุดแรกนี้อยู่ทำหน้าที่จนครบวาระ สภาพผู้แทนราษฎรไทยชุดถัดไปที่อยู่จนครบวาระโดยไม่ถูกยุบสภาหรือรัฐประหารคือ สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 7 และ 21.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2 (10 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 11 กันยายน พ.ศ. 2481) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 182 คน โดยประเภทที่ 1 มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 78 คนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 78 คน และมีการแต่งตั้งเพิ่ม 13 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก รัฐบาลพ่ายแพ้การลงมติในสภาฯ กรณี..

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 - 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 178 คน โดยประเภทที่ 1 มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 91 คนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 91 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติอาชญากรสงครามที่รัฐบาลเสนอ เพื่อให้ลงโทษผู้ก่อให้เกิดการปกครองตามลัทธิคอมมิวนิสต.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามแปซิฟิก

งครามแปซิฟิก (Pacific War) หรือ สงครามมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia War; 大東亜戦争, Dai Tō-A Sensō) เป็นเขตสงครามหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง สู้รบกันในมหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกเป็นหลัก มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าสงครามแปซิฟิกเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 หรือ 8 ธันวาคม 1941 เมื่อญี่ปุ่นบุกครองประเทศไทยและโจมตีอาณานิคมของบริติช ได้แก่ มาลายา สิงคโปร์และฮ่องกง ตลอดจนฐานทัพสหรัฐในหมู่เกาะฮาวาย หมู่เกาะเวก เกาะกวมและฟิลิปปินส์ ทว่า สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและสาธารณรัฐจีนมีมาต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 1937 โดยมีความเป็นปรปักษ์ย้อนหลังไปถึงวันที่ 19 กันยายน 1931 เมื่อประเทศญี่ปุ่นบุกครองแมนจูเรีย จักรวรรดิญี่ปุ่นเริ่มนโยบายชาตินิยมโดยใช้คำขวัญที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asiatics) วันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และสงครามแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย

อาณาเขตของประเทศไทยระหว่างสงคราม สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไท.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)

ลเรือเอก หลวงสินธุสงครามชัย มีชื่อจริงว่า สินธุ์ กมลนาวิน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คนแรก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ คนแรก ภายหลังเปลี่ยนชื่อจากกระทรวงธรรมการเป็นกระทรวงศึกษาธิการ, อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ, แม่ทัพเรือ หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร และเป็นหัวหน้าคณะราษฎรสายทหารเรือ.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) · ดูเพิ่มเติม »

อร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์

ันเอก อร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ (24 สิงหาคม พ.ศ. 2463 - 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 อายุ 61 ปี) บุตรของพลเอก หลวงเสรีเริงฤทธิ์ (จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์) อดีตแม่ทัพกองทัพพายัพ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ และกระทรวงพาณิชย์ ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม อธิบดีกรมรถไฟและผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทยตามลำดับ พันเอกอร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ สมรสกับสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา พระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อ พ.ศ. 2487 นับเป็นพระเชษฐภาดา (พี่เขย) ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีธิดาคือ ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม (เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488 ที่สวิตเซอร์แลนด์) พันเอกอร่าม รัตนกุล เป็นบุคคลเดียวที่โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลเดช อยู่ในรถยนต์พระที่นั่งขณะที่เกิดอุบัติเหตุรถชนกับรถบรรทุก ที่ทะเลสาบเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2491 และได้รับบาดเจ็บสาหัส เมื่อเดินทางกลับประเทศไทย พันเอกอร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ ได้รับราชการเป็นอาจารย์สอนหนังสือ เมื่อ..

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และอร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

จิทัศ ศรสงคราม

ร้อยเอก จิทัศ ศรสงคราม (6 สิงหาคม พ.ศ. 2517) สถาปนิกและนักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ชาวไทย เป็นบุตรชายคนเดียวของสินธู ศรสงคราม กับท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม และเขาเป็นพระนัดดาเพียงคนเดียวในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และจิทัศ ศรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ทัศนาวลัย ศรสงคราม

ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม (สกุลเดิม: รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์; 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488) เป็นพระธิดาเพียงคนเดียวในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ กับพันเอกอร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ เป็นพระภาคิไนยในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และทัศนาวลัย ศรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงสมบูรณ์แบบ

วามตกลงสมบูรณ์แบบเพื่อยุติสถานะสงครามระหว่างสยามและฝ่ายสัมพันธมิตร (Formal Agreement for The Termination of The State of War Between Siam and Allies ("United Nations")) หรือ ความตกลงสมบูรณ์แบบ เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และความตกลงสมบูรณ์แบบ · ดูเพิ่มเติม »

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวง.ต.ควง ถือเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งกระทรวงคมนาคมยุคใหม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการคนแรก ด้วยประสบการณ์ที่เคยรับราชการจนมีตำแหน่ง เป็นถึงอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข นอกจากนี้ยังเคย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงเกษตราธิการ และกระทรวงมหาดไทยด้ว.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และควง อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 10

อมพลแปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 10 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 10 ของไทย (7 มีนาคม พ.ศ. 2485 - 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487) จอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 7 มีนาคม..

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9

นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 9 หลวงพรหมโยธี คณะรัฐมนตรี คณะที่ 9 ของไทย (16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2485) นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ประกอบด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) และนายพลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่น อินทรโยธิน) ลงนามในประกาศ พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา) ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

นามสกุลพระราชทาน

ป็นนามสกุลที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขนานนามสกุลขึ้นเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2455 โดยให้มีผลใช้บังคับในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2456 อย่างไรก็ตาม ได้มีการเลื่อนเวลาการบังคับใช้กฎหมาย 2 ครั้ง เพื่ออำนวยความการสะดวกแก่เจ้าพนักงานซึ่งจะทำทะเบียนและสะดวกแก่ผู้ที่จะเลือกตั้งนามสกุล โดยพระราชบัญญัติได้บังคับใช้เป็นกฎหมายโดยสมบูรณ์เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสกุลครั้งแรกเป็นจำนวน 102 นามสกุล เช่น นามสกุล "สุขุม" พระราชทานแก่ เจ้าพระยายมราช (ปั้น), นามสกุล "มาลากุล" พระราชทานแก่ พระยาวิสุทธสุริยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เปีย) และ พระยาอนุรักษ์ราชมณเฑียร (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม) และนามสกุล "พึ่งบุญ" พระราชทานแก่ พระยาประสิทธิ์ศุภการ (หม่อมหลวงเฟื้อ) นามสกุลที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานไว้มีทั้งสิ้น 6464 นามสกุล แยกเป็น.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และนามสกุลพระราชทาน · ดูเพิ่มเติม »

ไสว ไสวแสนยากร

ลตำรวจเอก พลเอก ไสว ไสวแสนยากร (8 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 - 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2523) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ,อดีตผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย, อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก, อดีตแม่ทัพภาคที่ 2, อดีตเจ้ากรมทหารสื่อสาร และอดีตจเรทหารสื่อสาร.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และไสว ไสวแสนยากร · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง

้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง หรือที่ชาวเชียงตุงนิยมเรียกว่า เจ้าฟ้าเฒ่า เป็นโอรสองค์ที่ 5 ของเจ้าฟ้าโชติก๋องไต ซึ่งขึ้นเป็นเจ้าฟ้าหลวงเชียงตุงสืบแทนเจ้าพี่คือเจ้าฟ้าโชติคำฟู ที่สิ้นพระชนม์ใน ปี พ.ศ. 2441 ตลอดเวลาที่เจ้าฟ้าก้อนแก้วอินแถลงครองนครเชียงตุง พระองค์ได้สร้างความเจริญแก่นครเชียงตุงเป็นอย่างมาก เช่น การสร้างถนนหนทาง ทำนุบำรุงพระศาสนา เช่น สร้างวัดหลายแห่ง และมีการบูรณะปฏิสังขรณ์ เช่นวัดหัวข่วงที่ถูกไฟไหม้ก็สร้างใหม่แล้วยกเป็นวัดหลวง มีการสร้างวัดพระเจ้าหลวงประดิษฐานพระพุทธมหามัยมุนีจำลองมาจากเมืองมัณฑะเลย์ สร้างหอหลวงขึ้นใหม่เป็นตึกแบบอินเดีย บรรดาหอต่างๆที่พำนักของเจ้าแม่เฒ่า (ราชมารดา) เจ้าแม่นางเมือง (พระมเหสี) และบรรดานางฟ้า(พระสนม) โปรดให้เปลี่ยนเป็นตึกแบบใหม่ทั้งหมด รวมความว่าสิ่งใดที่จะนำความเจริญมาสู่บ้านเมือง ท่านผู้นี้ก็ได้พยายามจัดขึ้นทำขึ้น การติดต่อกับเพื่อนบ้านก็ให้ตัดถนนเป็นทางรถยนต์ติดต่อกับจังหวัดเชียงรายซึ่งเป็นจังหวัดชายแดนติดต่อกับเชียงตุง ทางตะวันตกก็มีทางรถยนต์ติดต่อกับตองยี กับได้ทำความสัมพันธ์กับเจ้านายพื้นเมืองทางเชียงใหม่และลำปางโดยทางแต่งงานของราชบุตรเป็นต้น โดยได้ปฏิบัติงานเป็นที่เรียบร้อยและเป็นที่พอใจแก่อังกฤษซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคม จนรัฐบาลอังกฤษได้ยกให้เป็น C.I.E. (Companion of the Indian Empire) เจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง มีพระมเหสี 1 พระองค์ และมีพระสนม 5 คน มีราชโอรส-ธิดารวม 19 พระองค์ ได้แก.

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง · ดูเพิ่มเติม »

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ใหม่!!: จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์และเปรม ติณสูลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

หลวงเสรีเริงฤทธิ์หลวงเสรีเริงฤทธิ์ (จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์)จรูญ รัตนกุลจรูญ เสรีเริงฤทธิ์เจริญ รัตนกุลเจริญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »