โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การอภิปรายไม่ไว้วางใจ

ดัชนี การอภิปรายไม่ไว้วางใจ

การอภิปรายไม่ไว้วางใจ คือ การอภิปรายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (โดยมากเป็นสมาชิกฝ่ายค้าน) กระทำเมื่อเห็นว่าการทำงานของรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีไม่เป็นที่พอใจ ในกรณีนี้สมาชิกมีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติไม่ไว้วางใจ ถือเป็นวิธีการหนึ่งในการควบคุมและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล วิธีอื่นนอกจากนี้ ได้แก่ การตั้งกระทู้ถาม การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน การถอดถอนจากตำแหน่ง การอภิปรายไม่ไว้วางใจเป็นวิธีที่เห็นผลชัดเจนที่สุด มีผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐบาลมากที่สุด และยังเป็นการคานอำนาจของฝ่ายบริหาร (รัฐบาล) โดยฝ่ายนิติบัญญัติ (รัฐสภา) ที่ชัดเจนและได้ผลดีที่สุดด้วย การอภิปรายไม่ไว้วางใจเป็นไปตามหลักการที่ว่า "ฝ่ายบริหารจะอยู่ได้ก็โดยความไว้วางใจของฝ่ายนิติบัญญัติ" ดังนั้นการอภิปรายไม่ไว้วางใจจะมีขึ้นก็ต่อเมื่อรัฐสภาเห็นว่ารัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีไม่ควรแก่การไว้วางใจให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ซึ่งอาจเกิดจากการตัดสินใจผิดพลาด การใช้อำนาจหน้าที่ในทางมิชอบ เป็นต้น.

39 ความสัมพันธ์: ชวน หลีกภัยพนิช วิกิตเศรษฐ์กรณีพิพาทพรมแดนไทย–กัมพูชาการยุบสภาผู้แทนราษฎรไทยการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2552การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2553การปฏิวัติประชาธิปไตยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549มาร์ซีโอ สตราซโซลโดมนูญกฤต รูปขจรระบบเวสต์มินสเตอร์รัฐบาลรักษาการรัฐบาลผสมรัฐบาลไทยรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520รังสิมา รอดรัศมีวิลาศ จันทร์พิทักษ์วิสาระดี เตชะธีราวัฒน์วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์สภานิติบัญญัติสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์สุนัย จุลพงศธรอินทร สิงหเนตรดนุพร ปุณณกันต์ซิลวีโอ แบร์ลุสโกนีประชาธิปไตยประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัยประเสริฐ จันทรรวงทองประเทศไทยใน พ.ศ. 2539นายกรัฐมนตรีไทยแกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กเชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกงเฉลิม อยู่บำรุง18 กันยายน27 กันยายน

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและชวน หลีกภัย · ดูเพิ่มเติม »

พนิช วิกิตเศรษฐ์

นิช วิกิตเศรษฐ์ (4 กันยายน 2506 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ (สำรอง) อดีตผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (นายกษิต ภิรมย์) และอดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในสมัยนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและพนิช วิกิตเศรษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรณีพิพาทพรมแดนไทย–กัมพูชา

วามขัดแย้งไทย-กัมพูชา เป็นเหตุการณ์ที่เริ่มต้นในเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและกรณีพิพาทพรมแดนไทย–กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย

การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย คือ การทำให้ความเป็นสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยสิ้นสุดลง โดยนายกรัฐมนตรีเสนอให้พระมหากษัตริย์ทรงตราพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร อันเป็นผลให้สภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งปวงพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระ ทั้งนี้ เพื่อจัดการเลือกตั้งใหม่ การยุบสภาเป็นมาตรการสำคัญอย่างหนึ่งของระบบรัฐสภาที่ทำให้มีการคานอำนาจกันระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหาร อาจนำมาใช้แก้ปัญหาทางตันทางการเมือง นอกจากทางอื่น เช่น รัฐบาลลาออก อนึ่ง เหตุผลในการยุบสภานั้น หาได้มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดบัญญัติไว้ไม่ ดังนี้ จึงเป็นไปตามประเพณีการปกครองตลอดจนสภาวการณ์ของประเทศในขณะนั้น อาทิ เกิดความขัดแย้งรุนแรงในรัฐสภาหรือระหว่างพรรคร่วมรัฐบาล การใช้เป็นเครื่องมือในการชิงความได้เปรียบทางการเมือง เช่น ขณะที่ตนมีคะแนนนิยมสูงมาก การที่สภาวการณ์ต่าง ๆ สุกงอมพอสมควรที่จะจัดให้มีการเลือกตั้งก่อนครบอายุสภา เช่น ดำเนินการตามรัฐธรรมนูญได้เสร็จสิ้นแล้ว.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและการยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2552

นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ ขณะชี้แจงข้อกล่าวหาจากผู้อภิปราย การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไท..

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2553

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไท..

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติประชาธิปไตย

การปฏิวัติประชาธิปไตย (democratic revolution) เป็นการเคลื่อนไหวทางการเมือง หรือการปฏิวัติ ซึ่งเป็นการจัดตั้งรัฐบาลตามระบอบประชาธิปไตย และล้มล้างรัฐบาลอันมิใช่ประชาธิปไตย การปฏิวัติอเมริกาเป็นตัวอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นการล้มล้างรัฐบาลในระบอบราชาธิปไตย และจัดตั้งด้วยรัฐบาลตามระบอบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและการปฏิวัติประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ซีโอ สตราซโซลโด

มาร์ซีโอ สตราซโซลโด (Marzio Strassoldo; 23 ธันวาคม พ.ศ. 2482 ในกอรีเซีย อิตาลี – 5 มกราคม พ.ศ. 2560) เป็นนักการเมืองชาวอิตาลี และประธานจังหวัดอูดีเน ตามผลการสำรวจในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและมาร์ซีโอ สตราซโซลโด · ดูเพิ่มเติม »

มนูญกฤต รูปขจร

ลตรี มนูญกฤต รูปขจร อดีตประธานวุฒิสภาและอดีต..ระบบสัดส่วนพรรคประชาธิปัตย์ เดิมมีชื่อว่า "มนูญ" เกิดเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2478 จบการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิตจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 7 (จปร.7) จากนั้นได้ไปเรียนหลักสูตรผู้บังคับกองร้อยที่จังหวัดสระบุรี มีผลการเรียนดีด้วยการสอบได้ที่ 1 และได้ทุนไปเรียนต่อที่ฟอร์ตนอกซ์ สหรัฐอเมริกา จึงได้รู้จักกับ พล.ต.สนั่น ขจรประศาสน์ จากนั้นจึงกลับมารับราชการครั้งแรกในตำแหน่งผู้บังคับหมวดอาวุโสที่กรมทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์ (ม.1 รอ.) ในปี พ.ศ. 2509 พล.ต.มนูญกฤตเริ่มเข้ามามีส่วนร่วมในการเมืองด้วยการเป็นคนสนิทของ พล.อ.ฉลาด หิรัญศิริ รองผู้บัญชาการทหารบก และ พล.อ.กฤษณ์ สีวะรา อดีตผู้บัญชาการทหารบกและรัฐมนตรีว่าการและช่วยว่าการหลายกระทรวง หลังการรัฐประหาร 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 พล.ต.มนูญกฤตได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาปฏิรูปแผ่นดิน และเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2520 แต่ในเหตุการณ์กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520 ที่นำโดย พล.อ.ฉลาด หิรัญสิริ พล.ต.มนูญกฤตซึ่งในขณะนั้นเป็นผู้บังคับบัญชาการกองพันทหารม้าที่ 4 รักษาพระองค์ (ม.พัน 4 รอ.) ได้นำรถถังออกมาต่อต้านการรัฐประหาร ปรากฏว่าฝ่าย พล.อ.ฉลาดเป็นฝ่ายพ่ายแพ้และกลายเป็นกบฏ ต่อมาในรัฐบาล พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ พล.ต.มนูญกฤตเป็นผู้มีส่วนสำคัญในการกระทำรัฐประหารถึง 2 ครั้ง แต่ไม่สำเร็จ คือ กบฏเมษาฮาวาย ระหว่างวันที่ 1-3 เมษายน พ.ศ. 2524 ทำให้ต้องหลบหนีออกนอกประเทศ และถูกถอดยศทางทหาร ซึ่งในขณะนั้นมียศ พันเอก (พ.อ.) และอีกครั้งเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2528 หรือ กบฏ 9 กันยา ได้ร่วมมือกับ พล.อ.อ.มนัส รูปขจร น้องชายของตนซึ่งขณะนั้นมียศ นาวาอากาศโท (น.ท.) และดำรงตำแหน่งผู้บังคับบัญชาหน่วยบัญชาการอากาศโยธิน (อย.) นำกองกำลังและรถถังออกปฏิบัติการ แต่ไม่สำเร็จ ทำให้ต้องหลบหนีอีกครั้ง ก่อนจะกลับมาสู้คดีในปี พ.ศ. 2531 ซึ่งรวมถึงคดีวันลอบสังหารด้วย พร้อมกับได้เปลี่ยนชิ่อมาเป็น มนูญกฤต เช่นในปัจจุบัน ต่อมาได้รับพระราชทานอภัยโทษ จึงได้คืนยศทางทหาร และคดีวันลอบสังหารศาลได้สั่งยกฟ้อง ด้วยความช่วยเหลือของ พล.ต.สนั่น ขจรประศาสน์ ซึ่งหันมาเล่นการเมืองแล้วในขณะนั้น จนกระทั่งในวันที่ 4 มีนาคม ปี พ.ศ. 2543 ได้ลงเลือกตั้งเป็นวุฒิสภาชิกจังหวัดสระบุรี ได้รับเลือกตั้ง และได้รับเลือกให้เป็นประธานวุฒิสภา ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทางกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในต้นปี พ.ศ. 2549 พล.ต.มนูญกฤตในฐานะอดีตประธานวุฒิสภาได้ขึ้นเวทีในรายการ "รู้ทันประเทศไทย" ของ ดร.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและมนูญกฤต รูปขจร · ดูเพิ่มเติม »

ระบบเวสต์มินสเตอร์

ระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ระบบเวสมินสเตอร์ เป็นระบอบการปกครองประชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา ซึ่งยึดตามการเมืองสหราชอาณาจักร คำนี้มาจากพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ อันเป็นที่ประชุมรัฐสภาสหราชอาณาจักร ระบบเวสมินสเตอร์ คือ ชุดวิธีดำเนินการสำหรับการดำเนินสภานิติบัญญัต.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและระบบเวสต์มินสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลรักษาการ

รัฐบาลรักษาการ (Caretaker government) เป็นรัฐบาลประเภทหนึ่งที่ปกครองประเทศชั่วคราว รัฐบาลรักษาการอาจเกิดขึ้นเมื่อรัฐบาลในระบบรัฐสภาแพ้ญัตติไม่ไว้วางใจ หรือในกรณีที่สภาซึ่งรัฐบาลรับผิดชอบต่อนั้นถูกยุบไป เพื่อปกครองประเทศเป็นการชั่วคราวจนกว่ามีการจัดการเลือกตั้งและตั้งรัฐบาลใหม่ ในความหมายนี้ บางประเทศซึ่งใช้ระบบการปกครองแบบเวสต์มินสเตอร์ รัฐบาลรักษาการจึงมักเป็นเพียงรัฐบาลซึ่งปฏิบัติหน้าที่ โดยมีความมุ่งหมายจัดการเลือกตั้งและตั้งรัฐบาลใหม่หลังทราบผลการเลือกตั้ง กิจกรรมของรัฐบาลรักษาการถูกจำกัดด้วยจารีตประเพณีและขนบธรรมเนียม ต่างจากยามปกติ ในระบบซึ่งมีรัฐบาลผสมบ่อย อาจมีการตั้งรัฐบาลรักษาการชั่วคราวขณะมีการเจรจาตั้งรัฐบาลผสมใหม่ ซึ่งเหตุการณ์นี้ปกติเกิดขึ้นทันทีหลังการเลือกตั้งซึ่งไม่มีผู้ชนะชัดเจน หรือเมื่อรัฐบาลผสมชุดหนึ่งล้มลงและจำต้องมีการเจรจาตั้งรัฐบาลผสมชุดใหม่ รัฐบาลรักษาการถูกคาดให้จัดการปัญหาประจำวันและเตรียมงบประมาณเพื่ออภิปราย แต่มิได้ถูกคาดหมายให้ผลิตแนวนโยบายของรัฐบาลหรือเสนอร่างกฎหมายอันเป็นที่โต้เถียง มักมีการตั้งรัฐบาลรักษาการระหว่างสงครามกระทั่งสามารถฟื้นฟูหรือจัดตั้งการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่เสถียรได้ ซึ่งในกรณีนี้มักเรียกว่า รัฐบาลเฉพาะกาล หมวดหมู่:อภิธานศัพท์การเมือง.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและรัฐบาลรักษาการ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลผสม

รัฐบาลผสม (coalition government) หมายถึง คณะรัฐมนตรีในการปกครองระบบรัฐสภาซึ่งพรรคการเมืองหลายพรรคได้ร่วมมือกันจัดตั้งรัฐบาล สาเหตุที่นำไปสู่การก่อตั้งรัฐบาลผสมนั้นส่วนใหญ่เนื่องมาจากไม่มีพรรคการเมืองใดได้รับเสียงข้างมากในรัฐสภา รัฐบาลผสมยังอาจก่อตั้งขึ้นในกรณีที่เกิดปัญหาระดับชาติหรือวิกฤตการณ์ ยกตัวอย่างเช่น ระหว่างช่วงสงคราม เพื่อให้รัฐบาลมีระดับความชอบธรรมทางการเมืองที่สูง ขณะที่ยังได้มีบทบาทในการลดความขัดแย้งทางการเมืองภายใน ในช่วงเวลาดังกล่าว พรรคการเมืองอาจประกอบกันขึ้นเป็นรัฐบาลแห่งชาติ ซึ่งประกอบด้วยพรรคการเมืองทุกพรรค เมื่อรัฐบาลผสมเกิดแนวคิดที่ต่างกัน จะมีการอภิปรายไม่ไว้วางใจ หมวดหมู่:รัฐบาล หมวดหมู่:พรรคการเมือง.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและรัฐบาลผสม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลไทย

รัฐบาลไทย เป็นรัฐบาลของราชอาณาจักรไทยซึ่งเป็นรัฐบาลเดี่ยว รัฐบาลไทยมีบทบาทขึ้นอย่างชัดเจนในสมัยรัฐชาติอันสถานปนาขึ้นครั้งสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวภายหลังทรงผนวกดินแดนและอาณาจักรภายใต้ปกครองของอาณาจักรสยามขึ้นเป็นสยามประเทศ รัฐบาลไทยผ่านการเปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตย ปัจจุบันรัฐบาลไทยแบ่งแยกอำนาจออกเป็น 3 ฝ่าย คือ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ ในอดีตก่อนปี 2557 รัฐบาลพลเรือนของไทยมีรูปแบบตามระบบเวสต์มินสเตอร์ของสหราชอาณาจักร อย่างไรก็ดี ตั้งแต่วันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ประเทศไทยตกอยู่ภายใต้การปกครองของคณะทหาร เรียกว.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและรัฐบาลไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520

รัฐประหาร 20 ตุลาคม..

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

รังสิมา รอดรัศมี

นางสาวรังสิมา รอดรัศมี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ปัจจุบันสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นนักการเมืองที่ได้รับฉายา "ดาวเด่น" จากสื่อมวลชนประจำรัฐสภา ในปี..

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและรังสิมา รอดรัศมี · ดูเพิ่มเติม »

วิลาศ จันทร์พิทักษ์

ัชกร วิลาศ จันทร์พิทักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและวิลาศ จันทร์พิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิสาระดี เตชะธีราวัฒน์

วิสาระดี เตชะธีราวัฒน์ อดีตรองโฆษกพรรคเพื่อไทย และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและวิสาระดี เตชะธีราวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์

SAIS - วอชิงตัน ดี.ซี. วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอ.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและวิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติ

นิติบัญญัติเป็นสภาปรึกษาหารือชนิดหนึ่งซึ่งมีอำนาจผ่าน แก้ไขเพิ่มเติมและยกเลิกกฎหมาย กฎหมายที่เกิดจากสภานิติบัญญัติเรียก กฎหมายลายลักษณ์อักษร นอกเหนือไปจากการตรากฎหมายแล้ว สภานิติบัญญัติยังมีอำนาจสิทธิ์ขาดในการเพิ่มหรือลดภาษีและมีมติเห็นชอบงบประมาณและร่างกฎหมายเกี่ยวด้วยการเงินอื่น สภานิติบัญญัติมีหลายชื่อ ที่พบมากที่สุด คือ รัฐสภาและคองเกรส (congress) โดยสองคำนี้มีความหมายจำเพาะกว่า ในการปกครองระบบรัฐสภา ฝ่ายบริหารรับผิดชอบต่อสภานิติบัญญัติซึ่งอาจถอดถอนฝ่ายบริหารได้ด้วยการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ในระบบประธานาธิบดี ตามลัทธิการแยกใช้อำนาจ สภานิติบัญญัติถูกมองว่าเป็นอิสระและเป็นการปกครองแขนงหนึ่งซึ่งเสมอกับฝ่ายตุลาการและฝ่ายบริหาร องค์ประกอบหลักของสภานิติบัญญัติ คือ มีตั้งแต่หนึ่งสภา (chamber/house) เป็นต้นไป สภา คือ การประชุมซึ่งสามารถอภิปรายและลงมติในร่างกฎหมายได้ สภานิติบัญญัติซึ่งมีสภาเดียว เรียก สภาเดียว ส่วนสภานิติบัญญัติที่มีสองสภา เรียก ระบบสองสภา ซึ่งปกติอธิบายเป็นสภาสูงและสภาล่าง โดยมักมีหน้าที่อำนาจและวิธีการเลือกสมาชิกต่างกัน นอกจากนี้ ยังมีสภานิติบัญญัติที่มีมากกว่าสองสภา แต่ไม่ค่อยพบ ในระบบรัฐสภาส่วนมาก สภาล่างเป็นสภาที่มีอำนาจกว่า ขณะที่สภาสูงเป็นเพียงสภาให้คำปรึกษาหรือทบทวน อย่างไรก็ดี ในระบบประธานาธิบดี อำนาจของสองสภามักคล้ายหรือเท่ากัน ในสหพันธรัฐ สภาสูงมักเป็นตัวแทนของรัฐที่มารวมกัน (component state) ซึ่งรวมถึงสภานิติบัญญัติเหนือชาติของสหภาพยุโรปด้วย ด้วยจุดประสงค์นี้ สภาสูงอาจมีผู้แทนจากรัฐบาลของรัฐ ดังเช่นในกรณีสหภาพยุโรปและเยอรมนี หรือมาจากการเลือกตั้งตามสูตรซึ่งให้การมีผู้แทนเท่าเทียมกันแก่รัฐซึ่งมีประชากรน้อยกว่า เช่นในกรณีออสเตรเลียและสหรัฐอเมริกาปัจจุบัน.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและสภานิติบัญญัติ · ดูเพิ่มเติม »

สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์

ร้อยตำรวจเอกสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2473 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงคมนาคม อดีตรองหัวหน้าพรรคกิจสังคม ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประธานกรรมการบริษัท โอสถสภา จำกัด กลุ่มบริษัทในเครือโอสถสภา และนายกสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

สุนัย จุลพงศธร

ร.สุนัย จุลพงศธร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีหลายกระทรวง.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและสุนัย จุลพงศธร · ดูเพิ่มเติม »

อินทร สิงหเนตร

อินทร สิงหเนตร เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 3 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480 และอดีตสมาชิกวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง ในปี..

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและอินทร สิงหเนตร · ดูเพิ่มเติม »

ดนุพร ปุณณกันต์

นุพร ปุณณกันต์ (เกิด 3 กันยายน พ.ศ. 2514) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ และรองเลขาธิการพรรคเพื่อไทย กรรมการผู้จัดการบริษัททูทเวนตี้ทรี จำกัด เป็นอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีใน ครม.ทักษิณ 2 อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และเป็นอดีตนักแสดงที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและดนุพร ปุณณกันต์ · ดูเพิ่มเติม »

ซิลวีโอ แบร์ลุสโกนี

ซิลวีโอ แบร์ลุสโกนีจับมือกับ จอร์จ ดับเบิลยู. บุช ซิลวีโอ แบร์ลุสโกนี (Silvio Berlusconi, เกิด 29 กันยายน ค.ศ. 1936 ที่นครมิลาน) เป็นนักการเมืองและนักธุรกิจชาวอิตาลี ซึ่งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอิตาลีสามสมัย ตั้งแต..

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและซิลวีโอ แบร์ลุสโกนี · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตย

รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัย

นายประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัย (ชื่อเดิม: ประเสริฐ เด่นนภาลัย) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ พรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ จันทรรวงทอง

นายประเสริฐ จันทรรวงทอง เป็นรองโฆษกพรรคเพื่อไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา พรรคเพื่อไทย และอดีตสมาชิกสภาจังหวัดนครราชสีมา 2 สมั.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและประเสริฐ จันทรรวงทอง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2539

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2539 ในประเทศไท.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและประเทศไทยใน พ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีไทย

นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา โดยปกติแล้วนายกรัฐมนตรีในระบอบประชาธิปไตยจะมีที่มาจากสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งโดยหลักแล้วถือว่านายกรัฐมนตรีมีต้องมาจากการแต่งตั้งทางอ้อมโดยประชาชน แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามมติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สภาที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง) ซึ่งผลการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีปรากฏว่า พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก (Maria Adelheid Theresia Hilda Antonia Wilhelmina vu Lëtzebuerg, Marie Adélaïde Thérèse Hilda Antonie Wilhelmine, พระนามเต็ม: มารี อเดเฮด เทเรซ ฮิลดา วิลเฮลมิเน ฟอน นัสเซา-ไวล์บวร์ก; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2437 – 24 มกราคม พ.ศ. 2467) ทรงเป็นแกรนด์ดัสเชสลักเซมเบิร์กพระองค์แรกระหว่าง ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและแกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริ

ร้อยตำรวจโทเชาวรินธร์ ลัทธศักย์ศิริ อดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (พลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดราชบุรี.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและเชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริ · ดูเพิ่มเติม »

เดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ บนเวทีเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง อย่างเป็นทางการครั้งแรก ที่ลานคนเมือง ใกล้กับเสาชิงช้า และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร เดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง เป็นกิจกรรมการปราศรัยของพรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) ในวันสุดสัปดาห์ ช่วงกลางปี พ.ศ. 2555 จนถึงปี พ.ศ. 2556 ที่จัดขึ้นในระหว่างที่รัฐสภาปิดสมัยการประชุม โดยเนื้อหาที่ปราศรัยเป็นการเชิญชวนให้ประชาชนต่อต้านกฎหมายนิรโทษกรรมและการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ ปี พ.ศ. 2550 โดยทางฝ่ายพรรคเพื่อไทย (พท.) และรัฐบาล ที่ทางพรรคประชาธิปัตย์เชื่อว่าเป็นการออกกฎหมายเพื่อนิรโทษกรรมให้แก่ผู้ที่กระทำผิดในช่วงเหตุการณ์วิกฤตทางการเมืองที่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านั้น โดยกิจกรรมนี้ ผู้ริเริ่ม คือ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตเลขาธิการพรรคเป็นผู้จัดการและออกค่าใช้จ่ายเองทั้งหมด โดยที่มิได้ใช้งบประมาณของพรรคแต่ประการใด โดยผู้ปราศรัย ส่วนใหญ่จะเป็นสมาชิกพรรคที่สำคัญ อาทิ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ, นายชวน หลีกภัย, นายสุเทพ เทือกสุบรรณ, นายกรณ์ จาติกวณิช และเสริมด้วยบุคคลอื่น ๆ เช่น นักวิชาการ เช่น นายแก้วสรร อติโพธิ, นักศึกษา และผู้จัดรายการสายล่อฟ้า เป็นต้น โดยมีการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ผ่านสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ ได้แก่ บลูสกายแชนแนล, ทีนิวส์ และไทยทีวีดี โดยถ่ายทอดสดทุกวันเสาร์ เวลา 16.30 - 21.00 น. หรือจนกว่าจนจบเวทีการปราศรัยเวทีเดินผ่าความจริง โดยก่อนหน้าที่จะเป็นเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง นั้น กิจกรรมนี้ใช้ชื่อว่า "สานเสวนาเวทีประชาชน" มาก่อน โดยการจัดเวทีปราศรัยได้เริ่มต้นในพื้นที่ภาคใต้ ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม อยู่บำรุง

ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและเฉลิม อยู่บำรุง · ดูเพิ่มเติม »

18 กันยายน

วันที่ 18 กันยายน เป็นวันที่ 261 ของปี (วันที่ 262 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 104 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและ18 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

27 กันยายน

วันที่ 27 กันยายน เป็นวันที่ 270 ของปี (วันที่ 271 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 95 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การอภิปรายไม่ไว้วางใจและ27 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ญัตติไม่ไว้วางใจ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »