โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การทูต

ดัชนี การทูต

Ger van Elk, ''Symmetry of Diplomacy'', 1975, Groninger Museum. การทูต (Diplomacy) เป็นศิลปะและทักษะการเจรจา สนทนา สื่อสาร รวมถึงการติดต่อธุระต่าง ๆระหว่างบุคคลที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการให้เป็นตัวแทนการเจรจาขององค์กรหรือประเทศ การทูต เป็นการแสดงถึงการเชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างกัน ให้มีความสัมพันธ์ทางด้านต่าง ๆ ที่ประเทศนั้น ๆ มีต่ออีกประเทศหนึ่ง โดยจะมีข้อตกลงที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น การทูต เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง ไทย-มาเลเซีย โดยมีท่านทูตไปประจำทั้ง 2 ประเทศ เป็นต้น หากเกิดความขัดแย้งระหว่างประเทศ เราสามารถเรียกทูตกลับประเทศไทย หรือเรียกว่า การลดความสัมพันธ์ระหว่างกัน.

30 ความสัมพันธ์: บุคคลไม่พึงปรารถนาพ.ศ. 2505พ.ศ. 2550กองทัพสหราชอาณาจักรกันยายน พ.ศ. 2550การคว่ำบาตรมกราคม พ.ศ. 2546มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกียูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3รัฐกันชนรัฐเอกราชรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สองสนธิสัญญาสันติภาพอาลี คาลิฟ กาลาอิดห์จอร์จ ดับเบิลยู. บุชดูบรอฟนีกความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์คอนโดลีซซา ไรซ์คำยืมคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยปฏิบัติการบาร์บารอสซาประเทศไทยใน พ.ศ. 2546เจ้าหน้าที่การทูตเซเบิล1 มิถุนายน21 มิถุนายน26 กันยายน29 มกราคม

บุคคลไม่พึงปรารถนา

ในการทูต บุคคลไม่พึงปรารถนา (persona non grata (เอกพจน์) หรือ personae non gratae (พหูพจน์)) เป็นชาวต่างประเทศซึ่งต้องห้ามเข้าหรือพำนักในประเทศหนึ่ง ๆ ตามคำสั่งของรัฐบาลประเทศนั้น ถือเป็นรูปแบบที่ร้ายแรงที่สุดของการตำหนิโทษที่ประเทศใด ๆ จะสามารถนำมาใช้แก่เจ้าหน้าที่ทางทูตของต่างประเทศซึ่งได้รับความคุ้มกันทางทูตไม่ให้ถูกจับกุมคุมขังหรือดำเนินคดี ข้อ 9 แห่งอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูต (Vienna Convention on Diplomatic Relations) ระบุว่า รัฐผู้รับ (รัฐที่เจ้าหน้าที่ทางทูตได้รับการส่งมา) จะประกาศให้เจ้าหน้าที่ทางทูตเป็นบุคคลไม่พึงปรารถนา "ณ เวลาใด ๆ และโดยไม่จำต้องอธิบายการตัดสินใจ" ก็ได้ และถ้ารัฐผู้ส่ง (รัฐที่ส่งเจ้าหน้าที่ทางทูตมา) ไม่เรียกตัวเจ้าหน้าที่ผู้นั้นกลับไป รัฐผู้รับจะประกาศไม่ยอมรับว่า เจ้าหน้าที่คนนั้นเป็นสมาชิกคณะผู้แทนทางทูตก็ได้.

ใหม่!!: การทูตและบุคคลไม่พึงปรารถนา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: การทูตและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: การทูตและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพสหราชอาณาจักร

กองทัพบริเตน (British Armed Forces) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า กองทัพในสมเด็จฯ (Her Majesty's Armed Forces) และ บ้างเรียกว่า กองทัพในพระองค์ (Armed Forces of the Crown) เป็นกองทัพของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ กองทัพนี้ประกอบด้วยหน่วยที่แต่งเครื่องแบบอาชีพสามเหล่า ได้แก่ 1.

ใหม่!!: การทูตและกองทัพสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน พ.ศ. 2550

กันยายน..

ใหม่!!: การทูตและกันยายน พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การคว่ำบาตร

การคว่ำบาตร (boycott) หมายถึง การยุติการติดต่อกันในมิติใดมิติหนึ่ง เพื่อประโยชน์ในการลงโทษ ต่อรอง หรือเพื่อตักเตือน โดยที่มาของคำว่าคว่ำบาตรในภาษาไทยมาจากศัพท์ในพระไตรปิฎกเถรวาท แต่ส่วนใหญ่คำว่าคว่ำบาตรในประเทศไทยนั้นมักถูกใช้แทนความหมายของคำว่า boycott ในภาษาอังกฤษ ที่เป็นความหมายในด้านการค้าหรือการเมือง การคว่ำบาตร (boycott หรือ บอยคอต) ในทางการค้า มักจะใช้ในระดับการค้าระหว่างประเทศ โดยกลไกการคว่ำบาตรอาจจะมีทั้ง การไม่ยอมขายสินค้าหรือบริการให้ประเทศคู่ค้า หรือไม่ซื้อสินค้าหรือบริการจากประเทศคู่ค้า หรืออาจจะทั้งสองกรณีก็ได้ การคว่ำบาตรในความหมายทางการค้าจึงถือได้ว่าเป็นอาวุธทางเศรษฐกิจที่ร้ายกาจอย่างหนึ่ง เพื่อใช้ต่อรองให้คู่กรณีจำยอมในข้อตกลงด้านอื่น ๆ เช่น ด้านการทูต การเมือง วัฒนธรรม การทหาร หรือแม้แต่ด้านการค้า เนื่องเพราะทุกประเทศในโลกต้องค้าขายกัน เพื่อแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการที่ตนเองไม่สามารถผลิตเองได้ หรือผลิตได้ไม่พอกับความต้องการในประเท.

ใหม่!!: การทูตและการคว่ำบาตร · ดูเพิ่มเติม »

มกราคม พ.ศ. 2546

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: การทูตและมกราคม พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี

นม ชอมสกี เป็นผู้มีชื่อเสียงในฐานะปัญญาชน นักปฏิบัติการ (หรือนักกิจกรรม) ทางการเมือง และนักวิจารณ์ เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาและรัฐบาลอื่น ๆ เขาเรียกตัวเองว่า นักสังคมนิยมแบบอิสรนิยม ผู้สนับสนุนสหการนิยมแบบอนาธิปไตย (anarcho-syndicalism) และมองว่า เป็นผู้รอบรู้สำคัญคนหนึ่งในการเมืองฝ่ายซ้ายของสหรัฐ โนม ชอมสกี ในการประท้วงต่อต้านสงครามในเมืองแวนคูเวอร์ พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: การทูตและมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี · ดูเพิ่มเติม »

ยูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3

ูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3 (Europa Universalis III) เรียกโดยย่อว่า EUIII หรือ EU3 เป็นวีดีโอเกมแนววางแผนการรบแบบเรียลไทม์ที่เน้นยุทธศาสตร์ระดับประเทศ พัฒนาโดยพาราด็อกซ์ ดีวีลอปเมนต์ สตูดิโอ และจัดจำหน่ายโดยบริษัทพาราด็อกซ์ อินเตอร์แอ็คทีฟ ตัวเกมหลักสำหรับวินโดวส์วางจำหน่ายในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: การทูตและยูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกันชน

รัฐกันชน (Buffer state) คือประเทศที่ตั้งอยู่ระหว่างรัฐมหาอำนาจคู่แข่งหรือเป็นปรปักษ์ระหว่างกัน ซึ่งสาเหตุของการคงอยู่มีเพื่อเป็นการป้องกันความขัดแย้งระหว่างรัฐมหาอำนาจด้วยกัน รัฐกันชนที่มีเอกราชอย่างแท้จริง มักจะดำเนินนโยบายต่างประเทศสายกลาง ซึ่งเป็นการป้องกันตนเองจากการตกเป็นรัฐบริวาร ความร่วมมือกันระหว่างรัฐกันชนเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีการถ่วงดุลอำนาจ ซึ่งเข้าสู่ยุทธศาสตร์และการคิดในเชิงการทูตของยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 บ่อยครั้งที่การรุกรานรัฐกันชนโดยหนึ่งในมหาอำนาจที่รายล้อมมันอยู่มักจะก่อให้เกิดสงครามระหว่างประเทศ อย่างเช่น การรุกรานเบลเยียมของเยอรมนี ทำให้สหราชอาณาจักรตัดสินใจเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: การทูตและรัฐกันชน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเอกราช

รัฐเอกราชบนโลก ในภูมิศาสตร์การเมือง รัฐเอกราช (sovereign state) เป็นองค์กรทางการเมืองที่มีการปกครองแบบรวมศูนย์ (centralized government, รัฐบาลส่วนกลาง) ที่มีอำนาจสูงสุดที่ชอบธรรมและเป็นอิสระเหนือพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ มีประชากรถาวร, รัฐบาล, และวิสัยที่จะเข้าไปสร้างความสัมพันธ์กับรัฐเอกราชอื่น นอกจากนี้ยังเป็นที่เข้าใจกันว่าเป็นรัฐที่ไม่ขึ้นอยู่กับอำนาจหรือรัฐอื่น การดำรงอยู่หรือการหายตัวไปของรัฐเป็นปัญหาข้อเท็จจริง ขณะที่ตามทฤษฎีปกครองของการรับรองรัฐ รัฐเอกราชสามารถดำรงอยู่ได้โดยไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราชอื่น รัฐที่ไม่ได้การยอมรับมักพบว่าเป็นการยากที่จะใช้อำนาจทำสนธิสัญญาเต็มรูปแบบและมีส่วนร่วมในความสัมพันธ์ทางการทูตกับรัฐอธิปไตยอื่น ๆ คำว่า "ประเทศ" เป็นภาษาพูดที่บ่อยครั้งมักหมายถึงรัฐเอกราช แม้ว่าต้นกำเนิดจะหมายถึงเพียงแค่ดินแดน และต่อมาความหมายได้ยื่นขยายกลายเป็นระบบการปกครองที่มีอำนาจซึ่งควบคุมพื้นที่ทางภูมิศาสตร.

ใหม่!!: การทูตและรัฐเอกราช · ดูเพิ่มเติม »

รายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้

การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้เป็นระบบการจำแนกห้องสมุดประกอบด้วย 10 หมวดใหญ่ (class) แต่ละหมวดใหญ่แบ่งเป็นสิบหมวดย่อย (division) แต่ละหมวดย่อยมีสิบหมู่ย่อย (section) ตัวอย่างเช่น หมวดใหญ่ 600 ("เทคโนโลยี") มีหมวดย่อย 630 ("เกษตรกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง") ซึ่งมีหมู่ย่อย 636 ("การเลี้ยงสัตว์") ในทางปฏิบัติ มีทั้งหมด 99 จาก 100 หมวดย่อยและ 908 จาก 1000 หมู่ย่อย เนื่องจากบางส่วนเลิกใช้แล้วหรือยังไม่กำหน.

ใหม่!!: การทูตและรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์

SAIS - วอชิงตัน ดี.ซี. วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอ.

ใหม่!!: การทูตและวิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง

นิโต มุสโสลินีกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ สองผู้นำเผด็จการในทวีปยุโรปก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สาเหตุเบื้องต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง คือ ความตึงเครียดเกี่ยวกับชาตินิยม ประเด็นปัญหาที่ไม่ได้รับการแก้ไข และความไม่พอใจอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสมัยระหว่างสงครามในทวีปยุโรป รวมทั้งผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ลงเอยด้วยการปะทุของสงคราม ซึ่งมักเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการบุกครองโปแลนด์ โดยนาซีเยอรมนี ความก้าวร้าวทางทหารนี้เป็นผลมาจากการตัดสินใจของผู้นำของเยอรมนีและญี่ปุ่น สงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้นจากการปฏิบัติอันก้าวร้าวและบรรจบกับการประกาศสงคราม และ/หรือ การต่อต้านด้วยกำลัง.

ใหม่!!: การทูตและสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาสันติภาพ

นธิสัญญาสันติภาพ (peace treaty) เป็นข้อตกลงระหว่างปรปักษ์ทั้งสองฝ่ายเพื่อยุติความขัดแย้งในการใช้กำลัง ซึ่งมักจะเป็นประเทศหรือรัฐบาล.

ใหม่!!: การทูตและสนธิสัญญาสันติภาพ · ดูเพิ่มเติม »

อาลี คาลิฟ กาลาอิดห์

ตราจารย์ อาลี คาลิฟ กาลาอิดห์ (Cali Khaliif Galayr, Ali Khalif Galaid, علي خليف غلير) (เกิด พ.ศ. 2484) หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม อาลี คาลิฟ กาลาอิร เป็นนักการเมืองชาวโซมาลี เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโซมาเลียตั้งแต่ 8 ตุลาคม..

ใหม่!!: การทูตและอาลี คาลิฟ กาลาอิดห์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ ดับเบิลยู. บุช

รืออากาศโท จอร์จ วอล์กเกอร์ บุช (George Walker Bush) เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) เป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 43 บุชสังกัดพรรครีพับลิกัน และเกิดในตระกูลบุชซึ่งเป็นตระกูลนักการเมืองตระกูลใหญ่ของสหรัฐอเมริกา โดยพ่อของเขาคือ จอร์จ บุช ประธานาธิบดีคนที่ 41 และน้องชายเขา เจบ บุช เป็นอดีตผู้ว่าการมลรัฐฟลอริดา ก่อนเริ่มเล่นการเมือง จอร์จ ดับเบิลยู บุชเป็นนักธุรกิจบ่อน้ำมัน และเป็นเจ้าของทีมเบสบอล เทกซัส เรนเจอร์ (Texas Rangers) เขาเริ่มเล่นการเมืองระดับท้องถิ่นโดยเป็นผู้ว่าการรัฐเทกซัสคนที่ 46 ชนะการเสนอชื่อลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีของพรรครีพับลิกัน และชนะการเลือกตั้งต่อรองประธานาธิบดี อัล กอร์ใน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) และได้รับการเลือกตั้งสมัยที่สองเมื่อ พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) โดยเอาชนะวุฒิสมาชิก จอห์น เคร์รี ของ พรรคเดโมแครต.

ใหม่!!: การทูตและจอร์จ ดับเบิลยู. บุช · ดูเพิ่มเติม »

ดูบรอฟนีก

ูบรอฟนีก (Dubrovnik) เป็นเมืองในประเทศโครเอเชีย ตั้งอยู่ริมชายฝั่งตะวันออกของทะเลเอเดรียติก เป็นเมืองท่า สถานที่ท่องเที่ยวที่โดดเด่นที่สุดแห่งหนึ่งในแถบเมดิเตอร์เรเนียน และศูนย์กลางของเทศมณฑลดูบรอฟนีก-เนเร็ตวา มีประชากรทั้งหมด 42,615 คน (สำมะโนประชากร ค.ศ. 2011) ใน..

ใหม่!!: การทูตและดูบรอฟนีก · ดูเพิ่มเติม »

ความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์

วามขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์ เป็นการต่อสู้ที่กำลังดำเนินอยู่ระหว่างชาวอิสราเอลและชาวปาเลสไตน์ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ความขัดแย้งนี้เกิดเป็นวงกว้าง และบางครั้งยังใช้คำนี้อ้างอิงถึงความขัดแย้งนิกายในปาเลสไตน์ในอาณัติระหว่างยีชูฟ (yishuv) ขบวนการไซออนิสต์กับประชากรอาหรับภายใต้การปกครองของอังกฤษ ความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์ก่อเกิดเป็นส่วนสำคัญของความขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอลที่ใหญ่กว่า ถูกเรียกอย่างกว้างขวางว่าเป็น "ความขัดแย้งที่หายยากที่สุด" ของโลก แม้มีกระบวนการสันติภาพระยะยาวและการปรองดองทั่วไปของอิสราเอลกับอียิปต์และจอร์แดน แต่อิสราเอลและปาเลสไตน์ไม่สามารถบรรลุความตกลงสันติภาพขั้นสุดท้ายได้ ประเด็นสำคัญที่ยังเหลืออยู่ คือ การรับรองร่วมกัน เขตแดน ความมั่นคง สิทธิน้ำ การควบคุมเยรูซาเลม นิคมอิสราเอล เสรีภาพในการเคลื่อนไหวของปาเลสไตน์ และการแก้ไขการอ้างสิทธิการเดินทางกลับสำหรับผู้ลี้ภัยของปาเลสไตน์ ความรุนแรงของความขัดแย้งในภูมิภาคอันอุดมไปด้วยแหล่งความสนใจทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและศาสนาทั่วโลก กลายมาเป็นวัตถุประสงค์ของการประชุมระหว่างประเทศจำนวนมากว่าด้วยสิทธิทางประวัติศาสตร์ ประเด็นความมั่นคงและสิทธิมนุษยชน และเป็นปัจจัยขัดขวางการท่องเที่ยวและการเข้าถึงพื้นที่ซึ่งพิพาทกันอย่างดุเดือดโดยทั่วไป มีความพยายามหลายครั้งเพื่อเป็นนายหน้าทางแก้สองรัฐ (two-state solution) อันเกี่ยวข้องกับการสถาปนารัฐปาเลสไตน์เอกราชขึ้นคู่กับรัฐอิสราเอล (หลังการสถาปนาอิสราเอลในปี 2491) ในปี 2550 ตามการหยั่งเสียงจำนวนหนึ่ง ทั้งชาวอิสราเอลและปาเลสไตน์ส่วนใหญ่เห็นชอบทางแก้สองรัฐเป็นวิธีแก้ไขความขัดแย้งมากกว่าทางแก้อื่น ยิ่งไปกว่านั้น สาธารณชนยิวส่วนใหญ่ยังมองว่าข้อเรียกร้องรัฐเอกราชของชาวปาเลสไตน์ชอบธรรม และคิดว่าประเทศอิสราเอลสามารถตกลงให้จัดตั้งรัฐเช่นว่าได้ ความไม่ไว้วางใจร่วมกันและความไม่ลงรอยอย่างสำคัญหยั่งลึกในประเด็นพื้นฐาน เช่นเดียวกับกังขาคติต่อกันและกันเกี่ยวกับการผูกมัดตามพันธกรณีที่รักษาในความตกลงท้ายที่สุด ในสังคมอิสราเอลและปาเลสไตน์ ความขัดแย้งนี้ก่อให้เกิดมุมมองและความคิดเห็นหลากหลาย ซึ่งเน้นการแบ่งแยกลึกล้ำซึ่งไม่ได้มีเฉพาะระหว่างชาวอิสราเอลและชาวปาเลสไตน์เท่านั้น แต่ยังภายในแต่ละสังคมด้วย ลักษณะเด่นของความขัดแย้งนี้เป็นระดับความรุนแรงที่สังเกตได้แทบตลอดระยะของความขัดแย้ง มีการสู้รบโดยกองทัพตามแบบ กลุ่มกึ่งทหาร กลุ่มก่อการร้ายและปัจเจกบุคคล กำลังพลสูญเสียมิได้จำกัดแต่เฉพาะทหาร แต่ทั้งสองฝ่ายยังสูญเสียประชากรพลเรือนไปเป็นอันมาก มีตัวแสดงระหว่างประเทศที่โดดเด่นเกี่ยวข้องในความขัดแย้งนี้ด้วย สองภาคีที่เข้าร่วมการเจรจาโดยตรง คือ รัฐบาลอิสราเอลและองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ การเจรจาอย่างเป็นทางการมีผู้แทนระหว่างประเศเป็นสื่อกลาง เรียก กลุ่มสี่ว่าด้วยตะวันออกกลาง (Quartet on the Middle East) ซึ่งมีผู้แทนทางการทูตพิเศษเป็นผู้แทน ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา รัสเซีย สหภาพยุโรปและสหประชาชาติ สันนิบาตอาหรับเป็นอีกตัวแสดงหนึ่งที่สำคัญ ซึ่งเสนอแผนสันติภาพทางเลือด อียิปต์ สมาชิกผู้ก่อตั้งสันนิบาตอาหรับ ในอดีตเคยเป็นผู้มีส่วนหลัก นับแต่ปี 2549 ฝ่ายปาเลสไตน์แตกแยกด้วยความขัดแย้งระหว่างสองกลุ่มแยกหลัก คือ ฟาตาห์ พรรคเด่นเดิม และผู้ท้าชิงเลือกตั้งในภายหลัง ฮามาส หลังฮามาสชนะการเลือกตั้งในปี 2549 สหรัฐ สหภาพยุโรป และอิสราเอลปฏิเสธการรับรองรัฐบาลฮามาสและเงินทุนให้องค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ส่วนมากถูกระงับ หนึ่งปีให้หลัง หลังการยึดอำนาจในฉนวนกาซาของฮามาสในเดือนมิถุนายน 2550 ดินแดนซึ่งรับรองอย่างเป็นทางการเป็นรัฐปาเลสไตน์ (อดีตองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ องค์การปกครองชั่วคราวของปาเลสไตน์) ถูกแบ่งระหว่างฟาตาห์ในเวสต์แบงก์และฮามาสในฉนวนกาซา การแบ่งการปกครองระหว่างภาคีนี้ส่งผลให้การปกครองสองพรรคขององค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ล้มเหลวอย่างสิ้นเชิง การเจรจาสันติภาพรอบล่าสุดเริ่มขึ้นในเดือนกรกฎาคม 2556 และกำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบัน ในวันที่ 7 ธันวาคม..2560 ภายหลังประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ รับรอง กรุงเยรูซาเล็ม ให้เป็นเมืองหลวงของประเทศอิสราเอล การเจรจาสันติภาพก็มีแนวโน้มว่าจะจบลง สงครามรอบใหม่เริ่มขึ้นภายหลังการประกาศรับรองดังกล่าว ในวันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: การทูตและความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

คอนโดลีซซา ไรซ์

อนโดลีซซา ไรซ์ (เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1954) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาคนที่ 66 และเป็นรัฐมนตรีลำดับที่สองในคณะรัฐบาลของประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช นางเข้ามาดำรงตำแหน่งแทนคอลิน พอเวลล์ เมื่อวันที่ 26 มกราคม ค.ศ. 2005 คอนโดลีซซา ไรซ์ เคยดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแห่งชาติของประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู. บุช ตลอดสมัยแรกของการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี (ค.ศ. 2001-ค.ศ. 2005) ก่อนที่จะเข้าร่วมคณะบริหารประเทศของบุช เธอเคยเป็นอาจารย์สาขารัฐศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และเป็นผู้บริหารมหาวิทยาลัยระหว่างปี ค.ศ. 1993 จนถึงปี ค.ศ. 1999.

ใหม่!!: การทูตและคอนโดลีซซา ไรซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คำยืม

ำยืม หมายถึงคำที่ยืมมาจากภาษาของผู้ให้ และผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของภาษาของผู้รับ การยืมนี้ไม่เหมือนความหมายทั่วไปเนื่องจากไม่มีการคืนกลับสู่ภาษาของผู้ให้ แต่เปรียบได้กับ "การยืมความคิด" มาใช้ คำยืมอาจไม่ได้เป็นคำเดียวเสมอไป อาจเป็นกลุ่มคำก็ได้อย่างเช่น déjà vu ซึ่งภาษาอังกฤษยืมมาจากภาษาฝรั่งเศส จะใช้ควบคู่กันไปเสมือนคำเดียว คำยืมอาจมีการเขียน การอ่าน และความหมาย ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมก็ได้ คำในภาษาของผู้ให้โดยทั่วไปเข้าสู่ภาษาของผู้รับในลักษณะศัพท์เฉพาะทางเนื่องจากการเปิดรับวัฒนธรรมต่างชาติ จุดอ้างอิงโดยเฉพาะอาจเป็นวัฒนธรรมต่างชาตินั้นเองหรือขอบข่ายของกิจกรรมของวัฒนธรรมต่างชาติที่ต้องการครอบงำ วัฒนธรรมต่างชาติซึมซับเข้าสู่วัฒนธรรมท้องถิ่นผ่านทางการเผยแผ่ศาสนา ปรัชญา การค้าขาย ศิลปะ วิทยาการ และการอพยพจากคนต่างถิ่น รวมไปถึงความสัมพันธ์ทางการทูต ภาษาไทยมีคำยืมภาษาต่างประเทศหลายภาษาอาทิ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร กลุ่มภาษาจีน (ภาษาแต้จิ๋ว, ภาษาฮกเกี้ยน และ ภาษาจีนกลาง) ภาษามอญ ภาษามลายู ภาษาโปรตุเกส ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ฯลฯ แม้แต่ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงก็ยังปรากฏคำยืมภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร เข้ามาปะปน.

ใหม่!!: การทูตและคำยืม · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาประกาศตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 มีผลบังคับใช้ในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2490 ภายใต้มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ จนกระทั่งถูกโอนมาสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2510 เป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ของประเทศไทย ถือกำเนิดจากพระราชปรารภในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 การดำเนินการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์แห่งนี้เริ่มขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงเพียงแปดเดือนเท่านั้น ถือเป็นช่วงเวลาที่ประเทศไทย ประสบความยากลำบากทางการเมืองและเศรษฐกิจเป็นอย่างยิ่ง อีกทั้งจำเป็นต้องมีการบูรณะบ้านเมืองที่เสียหายจากการทิ้งระเบิด คณะแพทยศาสตร์แห่งนี้จึงมีส่วนสำคัญในการพัฒนาวงการสาธารณสุขของประเทศ ในช่วงเวลาที่ประเทศกำลังอยู่ในภาวะวิกฤต ควบคู่ไปกับการพัฒนามาตรฐานแพทยศาสตรศึกษา ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นศูนย์ความร่วมมือขององค์การอนามัยโลก 3 สาขา ได้แก่ ศูนย์ความร่วมมือด้านแพทยศาสตรศึกษา ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยการสืบพันธุ์ของมนุษย์ ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยและฝึกอบรมด้านไวรัสและโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทยสภากาชาดไท.

ใหม่!!: การทูตและคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ชื่อปฏิบัติการบาร์บารอสซาถูกตั้งชื่อตามพระนามของจักรพรรดิฟรีดริช บาร์บารอสซา แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้นำสงครามครูเสดครั้งที่สาม ในช่วงคริสต์ศตวรรรษที่ 12 วัตถุประสงค์ของปฏิบัติการนี้ คือ การพิชิตสหภาพโซเวียตทางภาคพื้นยุโรปทั้งหมด ซึ่งถือเอาแนวที่ลากเส้นระหว่าง อัคอังเกลส์ก (Arkangelsk) ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัสเซีย ลงไปจนถึงเมืองอัสตราคาน (Astrakhan) ที่อยู่ริมสามเหลี่ยมปากแม่น้ำวอลกา โดยแนวนี้ถูกเรียกว่าแนว AA ปฏิบัติการบาร์บารอสซาไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ฮิตเลอร์คาดหวังไว้ ในทางยุทธวิธีแล้ว กองทัพเยอรมันก่อให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อสหภาพโซเวียต โดยการยึดครองพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของประเทศเอาไว้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซา กองทัพเยอรมันไม่อาจเป็นฝ่ายบุกในแนวรบด้านตะวันออกอีกต่อไป และหลังจากนั้น ก็ประสบความพ่ายแพ้มาตลอดMilitary-Topographic Directorate, maps No.

ใหม่!!: การทูตและปฏิบัติการบาร์บารอสซา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2546

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2546 ในประเทศไท.

ใหม่!!: การทูตและประเทศไทยใน พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหน้าที่การทูต

้าหน้าที่การทูต หรือ นักการทูต (diplomat) เป็นบุคคลที่รัฐแต่งตั้งให้ดำเนินกิจการทางการทูตกับรัฐอื่นหรือองค์การระหว่างประเทศ หน้าที่หลักของนักการทูต คือ การเป็นผู้แทนเจรจาและปกป้องผลกระโยชน์ ตลอดจนปกป้องประเทศนั้น ๆ เช่นเดียวกับการสนับสนุนข้อมูลและความสัมพันธ์ฉันมิตร นักการทูตส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ หรือกฎหมาย การใช้ทูต หรือนักการทูต ถือเป็นรูปแบบที่เก่าแก่ที่สุดของสถาบันนโยบายต่างประเทศของรัฐ โดยเกิดขึ้นก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และหน่วยงานรัฐบาลในรูปแบบของกระทรวงในสมัยปัจจุบันเป็นเวลาหลายศตวรรษ ในกรณีของประเทศไทย มีการใช้ทูตสื่อสารไปมาระหว่างกษัตริย์ต่อกษัตริย์มาแล้วอย่างน้อยตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย หลายร้อยปีก่อนหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศจะได้มีการสถาปนาขึ้นตามพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่จะทรงจัดตั้งระบบบริหารราชการแผ่นดินแบบกระทรวง ในปี..

ใหม่!!: การทูตและเจ้าหน้าที่การทูต · ดูเพิ่มเติม »

เซเบิล

ซเบิล (sable) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae).

ใหม่!!: การทูตและเซเบิล · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การทูตและ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

21 มิถุนายน

วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การทูตและ21 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

26 กันยายน

วันที่ 26 กันยายน เป็นวันที่ 269 ของปี (วันที่ 270 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 96 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การทูตและ26 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

29 มกราคม

วันที่ 29 มกราคม เป็นวันที่ 29 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 336 วันในปีนั้น (337 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: การทูตและ29 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Diplomacyการฑูตผู้แทนทางการทูต

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »