โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กลุ่มภาษาจีน

ดัชนี กลุ่มภาษาจีน

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.

649 ความสัมพันธ์: AGROVOCชาลส์ โจวชาวอเมริกันเชื้อสายจีนชาวฮั่นชาวจีนชาวจีนในอินเดียชาวจีนในเคนยาชาวตุลาชาฮังบาเกียวชาเขียวชิน โสภณพนิชชินจิไตชินโตชื่อบุคคลจีนบุปผาในกุณฑีทองชุนลีบีอินสปอตส์ช่อง 3 แฟมิลีช่อง 3 เอสดีช้างแมมมอธพรรคสิงคโปร์ก้าวหน้าพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า (สิงคโปร์)พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)พระกุมารชีพพระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม)พระราชวังต้องห้ามพระราชประวัติก่อนเสด็จขึ้นครองราชย์ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีในอภินิหารบรรพบุรุษพระธยานิพุทธะพระธรรม (ศาสนาพุทธ)พระโพธิสัตว์พระโพธิธรรมพระไภษัชยคุรุพอร์พอยส์พัก คี-วุงพาราลิมปิกฤดูหนาว 2022พาสเทลพิชัยสงครามซุนจื่อพุทธจริตพจนานุกรมพุทธศาสนาจีน-สันสกฤต-อังกฤษ-ไทยพ่อจ๋าอย่าร้องไห้กฎชัทแธมเฮ้าส์กฎบัตรสหประชาชาติกลุ่มภาษามองโกลกลุ่มภาษามองโกลตะวันออกกลุ่มภาษาอิหร่านกลุ่มภาษาเวียตติกกลุ่มภาษาเตอร์กิกกล้วยนากกองทัพสิงคโปร์...กัว ฟู่เฉิงกังฟูแพนด้า (แฟรนไชส์)กันดั้มวิงการผจญภัยของจูนิเปอร์ ลีการถอดเสียงการถึงแก่อสัญกรรมของลี กวนยูการทับศัพท์ภาษาจีนการทัพตามแนวชายแดนจีน-พม่าการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกการประมวลภาษาธรรมชาติการเดินทางของคิโนะกำเนิด 12 ราศีกิเลนกุบไล ข่านกีวี (พืช)ภาษา (แก้ความกำกวม)ภาษาบอนันภาษาบีซูภาษาพม่าภาษากวางตุ้งมาตรฐานภาษากะเดาภาษากูกองภาษาญี่ปุ่นภาษาญี่ปุ่นลูกผสมอี๋หลานภาษามลายูภาษามลายูปัตตานีภาษามองโกเลียภาษามองเกอร์ภาษาลันนังภาษาลาชิภาษาลาฮูภาษาลีสู่ภาษาสุ่ยภาษาสเปนภาษาหมิ่นกลางภาษาหมิ่นผูเซียนภาษาหมิ่นตะวันออกภาษาหมิ่นใต้ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐานภาษาหมิ่นเหนือภาษาออร์ดอสภาษาอะชางภาษาอังกฤษภาษาอาหมภาษาอินโดนีเซียภาษาอุยกูร์ภาษาอู๋ภาษาฮินดีภาษาจีนกลางภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวันภาษาจีนกวางตุ้งภาษาจีนกั้นภาษาจีนหมิ่นภาษาจีนฮกเกี้ยนสำเนียงไต้หวันภาษาจีนผิงภาษาทาจิกภาษาทซัตภาษาดุงกานภาษาคาซาร์ภาษาตันกัตภาษาตากาล็อกภาษาตงเซียงภาษาซาลาร์ภาษาซิเบภาษาประธานไร้รูปภาษาปลังภาษาปะหล่องรูไมภาษาปะหล่องปาเลภาษานาไนภาษาน่าซีภาษาแมนจูภาษาแคะภาษาแต้จิ๋วภาษาในประเทศไทยภาษาโยนางูนิภาษาโปรตุเกสภาษาไบมาภาษาไทยภาษาไทหย่าภาษาไทใต้คงภาษาเบงกาลีภาษาเกาหลีภาษาเกเลาเขียวภาษาเลปชาภาษาเวียดนามภาษาเหมื่องภาษาเอสเปรันโตภาษาเอ้อซูภาษาเจียรงภาษาเซียงภาษาเซี่ยงไฮ้ภูมิศาสตร์ไต้หวันมหัพภาคมหาวิทยาลัยซีหนานมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์มหีศาสกะมองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)มะขามมันโยงะนะมาริโอ้ เมาเร่อมาจูละห์ ซีงาปูรามาเลเซียกีนีมาเลเซียเชื้อสายไทยมิสทัวริซึมอินเตอร์เนชันแนลมิสทัวริซึมควีนออฟเดอะเยียร์อินเตอร์เนชันแนลมิสแกรนด์มาเก๊ามิสแกรนด์สิงคโปร์มิสแกรนด์ฮ่องกงมิสแกรนด์จีนมิสแกรนด์ไต้หวันมิสไชนิสเวิลด์มิสเซาท์อีสต์เอเชียทัวริซึมแอมบาสเดอร์มู่หล่าวมณฑลฝูเจี้ยนมณฑลหูหนานมณฑลหูเป่ย์มณฑลไหหลำมณฑลเจ้อเจียงยอดนักสืบจิ๋วโคนันยอดเขาชิชาพังมะยอดเซียน ยอดมนุษย์ยัยตัวร้ายกับนายเจี๋ยมเจี้ยมยามา (สัตว์)ยาฮู! รู้รอบยุทธการทะเลสาบคาซานยุคอาณาจักรเหนือใต้ของเกาหลียุคเซ็งโงกุราชวงศ์ชิงราชวงศ์หมิงราชวงศ์หยวนราชวงศ์ฮั่นราชวงศ์ฮั่นยุคหลังราชวงศ์จิ้นยุคหลังราชวงศ์ถังราชวงศ์ถังยุคหลังราชวงศ์ซ่งราชวงศ์โจวยุคหลังราชวงศ์โจวตะวันออกราชวงศ์โจวตะวันตกราชวงศ์เซี่ยรายชื่อภาษารายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)รายชื่อหนังสือพิมพ์ในประเทศไทยรายชื่อธงในประเทศจีนรายชื่อตัวละครในกันดั้มดับเบิลโอรายชื่อตัวละครในซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์รายชื่อนิยายปรัมปรารายพระนามพระมหากษัตริย์ราชวงศ์โจวรายพระนามพระมหากษัตริย์ราชวงศ์เซี่ยรายพระนามจักรพรรดิจีนรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิกรายการเครื่องอิสริยาภรณ์สาธารณรัฐประชาชนจีนรายนามรองประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีนรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีนรางวัลม้าทองคำริกกี้ ฮุยลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่างลังกาวตารสูตรลาซาลิงลมลิเลียน ลีลี เชารันวรรณคดีเอเชียตะวันออกเฉียงใต้วอกวอลรัสวัชรปรัชญาปารมิตาสูตรวัจนภาษาวัฒนธรรมวัดพระธรรมกายวัดพระแม่สกลสงเคราะห์วัดเส้าหลินวันต่อต้านยาเสพติดโลกวากยสัมพันธ์วายเอชบอยส์วายเดอะเทียส์วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุลวิกิพีเดียภาษาจีนวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือวิโรจน์ ตั้งวาณิชย์วุยก๊กวีทีวี4วีแชท (โปรแกรมประยุกต์)วงศ์ปลาอินซีเน็ตศักดิชัย บำรุงพงศ์ศาลเจ้าไท้เพ่งอ๊วงกงศาสนาพุทธในประเทศจีนศาสนาพุทธในเอเชียกลางสกายซิตี (ฉางชา)สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสรรพสินค้าเซ็นทรัลสรวาสติวาทสวนหนานเหลียนสหรัฐสหประชาชาติจำลองสะเต๊ะสัญประกาศสัทธรรมปุณฑรีกสูตรสันนิบาตไต้หวันเพื่อการปลดปล่อยสามก๊กสายน้ำผึ้ง (พรรณไม้)สาธารณรัฐหลานฟางสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาสาธารณรัฐไต้หวันสำนักพิมพ์แจ่มใสสิบพยัคฆ์กวางตุ้งสือดิบผู้จ่องสุยสุขาวดี (นิกาย)สฺวี เค่อสี่ยอดสิ่งประดิษฐ์สี่สุดยอดวรรณกรรมจีนสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สถานีโทรทัศน์หูหนานสถานีโทรทัศน์แห่งเอเชียสงกรานต์สงครามรักสนธิสัญญาจันทราส้มมือหมัดพิฆาตมังกรโหดหมายหมู่บ้านตันหยงสตาร์หมู่เกาะแพราเซลหมู่เกาะเรียวหม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์หยาง โจ๊งเวหย่งชุน หมัดสั้นสะท้านบู๊ลิ้มหลักสูตรหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภาหลิว เจียเหลียงหลิน เสี่ยวเฟิงหลินฮุ่ยหลินปิงหลีหลี่ อันหลี่ ฉุนหลี่ เผิงหวัง ลี่หงหวัง จู่เสียนหวัง เจาจฺวินหวางตู้หลู่หวง เสี้ยนฝันหวงเฟยหง ภาค 1 ตอน หมัดบินทะลุเหล็กหวงเฟยหง ภาค 2 ตอน ถล่มมารยุทธจักรหวงเฟยหง ภาค 3 ตอน ถล่มสิงโตคำรามหวงเฟยหง ภาค 4 ตอน บรมคนพิทักษ์ชาติหวงเฟยหง ภาค 5 ตอน สยบจอมสลัดหอยกูอีดั๊กหอสมุดดิจิทัลแห่งโลกหางโจวหุยหฺวัง ไถจี๋หงส์หนานเยฺว่หนึ่งอำเภอหนึ่งทุนห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์อสูรปกครองศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 4อักษรอักษรฟราเซอร์อักษรพอลลาร์ดอักษรพักส์-ปาอักษรญี่ปุ่นอักษรอี๋อักษรฮันกึลอักษรฮันจาอักษรจีนอักษรจีนตัวย่ออักษรจีนตัวเต็มอักษรทิเบตอักษรแมนจูอักษรเสี่ยวเอ้อร์อัลฟาโรเมโอ 164อาการกลัวเลขสิบสามอาสาสนุกอาหารมาเลเซียอาณาจักรรวมชิลลาอาณาจักรรีวกีวอาณาจักรแพ็กเจใหม่อาณาจักรโคกูรยออาณานิคมสิงคโปร์อำเภอกะทู้อำเภอกันตังอำเภอเกาะสีชังอิงริชอูดงอู่ฮั่นอู๋ อี๋อู๋ซีอู๋เหล่ยอีวีเอแอร์อี้ จงเทียนองค์กรนักข่าวไร้พรมแดนองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติองค์หญิงกำมะลอองเมียวอนันต์ เหล่าเลิศวรกุลอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบอนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปรายอเวจีฮกเกี้ยนฮั่นฮู่ต้งฮ่องกงผมชื่อ แมคดัลจริยธรรมทางธุรกิจจอมคนผงาดโลกจอมโหด ห้าอสรพิษจอห์น เบาว์ริงจับกังจักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงจักรพรรดิยงเจิ้งจักรพรรดิหยวนเหวินจงจักรพรรดิหนูเอ่อร์ฮาชื่อจักรพรรดิคังซีจักรพรรดิซุ่นจื้อจักรพรรดินีมย็องซ็องจักรพรรดินีหลงยฺวี่ พระพันปีหลวงจักรพรรดินีคีจักรพรรดิเจียชิ่งจักรพรรดิเฉียนหลงจักรพรรดิเซี่ยจิงจงจักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)จังหวัดจันทบุรีจังหวัดนราธิวาสจันทน์แดงจาง อี้โหมวจาตุมหาราชิกาจิงจิตต์สุภา ฉินจื๋อโนมจู้อินจีน (แก้ความกำกวม)จีนโพ้นทะเลจีนโนสยามวารศัพท์จ๊กก๊กจ้วงธรรมกายธรรมจักรสูตรธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศธงชาติเกาหลีใต้ธนินท์ เจียรวนนท์ถัง กั๋วเฉียงถนนพม่าถนนพระรามที่ 5ทวารกานาถ โกฏณีสทะไลลามะที่ 14ทะเลสาบคานาสทาเกชิ คาเนชิโระทิเบตท่าอากาศยานนานาชาติอู่ฮั่นท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตงท้าวสักกะขมังเวทล่าสังหารขันทีขุนส่าขนมเข่งข้าวไก่หม้อดินข้าคือวีเซิลณปภัช วัฒนากมลวุฒิดรากอนฟอร์ซ: โซลองอุลตร้าแมนดราก้อน ลีดาวซานถี่ อุบัติการณ์สงครามล้างโลกดาวนักษัตรแบบจีนดาเบาดิวโอลิงโกดิสคัส!ดิสนีย์จูเนียร์เอเชียดิสนีย์แชนแนลเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ดิอะเมซิ่งเรซ 14ดินสอพองในปล้องไม้ความตกลงปารีสคอมมานด์ & คองเคอร์คอสมิกเกิลส์คันจิคาร์ทไรเดอร์คาเรน ม็อกคำยืมคำปฏิญาณโอลิมปิกคุมองคู่ใหญ่สั่งมาฟัดคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์คนค้นผีง่อก๊กตระกูลภาษาจีน-ทิเบตตระกูลภาษาไท-กะไดตราประจำเขตบริหารพิเศษฮ่องกงตราแผ่นดินของมาเก๊าตะพาบยักษ์แยงซีเกียงตัวเลขจีนติมอร์เชื้อสายจีนต้นชาซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์ซามูไรซาตาซิงเสียนเยอะเป้าซินเหวิน หลิ่วสรือ เฟินซือซื่อสือซือสื่อซูโจวซูเปอร์แดนเซอร์ออนไลน์ซีรีซีซีทีวี กอล์ฟ & เทนนิสประชากรศาสตร์กัมพูชาประพจน์ อัศววิรุฬหการประวัติพระพุทธเจ้าประวัติรุ่นของแอนดรอยด์ประวัติศาสตร์รัฐชัมมูและกัษมีระประวัติศาสตร์เวียดนามประวัติศาสนาพุทธประเทศจีนประเทศไทยประเทศไต้หวันประเทศเวียดนามเหนือปรากฏการณ์แม็คเกอร์กปลาอินทรีบั้งปลาอินทรีจุดปลาอินซีเน็ตปลาอินซีเน็ตหางแดงปลาแกงปลาไทเมนปักกิ่งปากีสถานเชื้อสายจีนปางหมอยาปางคำปู้อีนักบินอวกาศนักร้องเสมือน NIAONiaoนักซิ่งทะยานฟ้านายกรัฐมนตรีจีนนารา เทพนุภานาจานาธาน ลอว์นิชคุณ หรเวชกุลนิตยสารรายการโทรทัศน์นินจานขลิขิตน้ำอสุจิแบทแมน บีกินส์แมคโอเอสแม่น้ำอีร์ติชแม็คกี้ คิวแหลมเทียนหยาไหเจี่ยวแอกุกกา (จักรวรรดิเกาหลี)แองกวิลลาแองเตอร์นาซิอองนาลแทว็อนกุนฮึงซ็อนแทนคุณ จิตต์อิสระแคนเซอร์ เดธมาสค์แต้จิ๋ว (เมือง)แปดกองธงโบสถ์กาลหว่าร์โชห่วยโฟร์แชร์โกปี๊เตี่ยมโมโม (อาหาร)โมโนโซเดียมกลูตาเมตโรงละครแห่งชาติ (จีน)โรงเรียนบรบือโรงเรียนบางปะกอกวิทยาคมโรงเรียนชิโนรสวิทยาลัยโรงเรียนบุญจิตวิทยาโรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุงโรงเรียนพรตพิทยพยัตโรงเรียนพานพิเศษพิทยาโรงเรียนพุทไธสงโรงเรียนมหาไถ่ศึกษาเมืองพลโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวรโรงเรียนมารีย์อนุสรณ์โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์โรงเรียนราชินีบนโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัยโรงเรียนวัดทรงธรรมโรงเรียนวัดเขมาภิรตารามโรงเรียนศรีนครมูลนิธิโรงเรียนสกลราชวิทยานุกูลโรงเรียนสมุทรปราการโรงเรียนสามมุกคริสเตียนวิทยาโรงเรียนสารวิทยาโรงเรียนสุราษฎร์พิทยาโรงเรียนสนมวิทยาคารโรงเรียนอยุธยาวิทยาลัยโรงเรียนอยุธยานุสรณ์โรงเรียนอำนาจเจริญโรงเรียนอุดรพิชัยรักษ์พิทยาโรงเรียนผดุงกิจวิทยาโรงเรียนทวีธาภิเศกโรงเรียนขุขันธ์โรงเรียนดอนบอสโกวิทยาโรงเรียนคำเขื่อนแก้วชนูปถัมภ์โรงเรียนนารีนุกูลโรงเรียนนครขอนแก่นโรงเรียนโพธิสารพิทยากรโรงเรียนไชยวานวิทยาโรงเรียนไชยาวิทยาโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัยโรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์โรงเรียนเมืองพัทยา 11 (มัธยมสาธิตพัทยา)โรงเรียนเรณูนครวิทยานุกูลโรงเรียนเผยอิงโรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 2 (มูลนิธิไต้ล้ง-เช็ง พรประภา)โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าโรงเรียนเซนต์ปีเตอร์ ธนบุรีโลก (ดาวเคราะห์)โลมาโลร์มีโวคาลอยด์โอยัวะโอเลี้ยงโจว เหวินฟะโจฮวนโซกูด (อีพี)โปรเจกต์อุลตร้าแมนโป๊ยเซียน (พืช)โป๊ยเซียน (เทพเจ้าจีน)ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรมไก่ (แก้ความกำกวม)ไก่เบตงไม้ไต่คู้ไมเคิล หว่องไลน์ (โปรแกรมประยุกต์)ไวยากรณ์ภาษาเบงกาลีไอ อีจิมะไอพอดชัฟเฟิลไอมีไทยเชื้อสายอินเดียไทยเชื้อสายจีนไทรเซราทอปส์ไทลื้อไทไขหัวไดโงะฮนซงไควเลออีจ้างไซอิ๋วไซซีไป่ตู้ไป่ตู้ไป่เคอเบ็นไซเต็งเกา ซิงเจี้ยนเกาะคริสต์มาสเก่งเต็งหนึ่งเมิ้งล่าเมิ้งฮายเมืองแมนแดนสันติเมนูรักเชฟมือใหม่เมเปิลสตอรีเลสลี จางเลียงผาเสือเสียงกัก ริมฝีปาก ไม่ก้องเสียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้องเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้องเส้นหมี่เหย่เหรินเหวัชระเหวง โตจิราการเอสเอ็มเอฟเอเชียใต้เผาตำรา ฝังบัณฑิตเจริญ สิริวัฒนภักดีเจริญ เอี่ยมพึ่งพรเจ้าชายต็อก-โอชิริน นามนานซือเหรินเจ้าหลวงเสือก่าฟ้าเจ้าจอมมารดาอัมพา ในรัชกาลที่ 2เธอคือพรหมลิขิตเทมาเส็กเทศกาลพ้อต่อเทศกาลกินเจเทศกาลโคมไฟเทศมณฑลเทียนชานเทียนจินแอร์ไลน์เขตการปกครองของประเทศจีนเขตปกครองตนเองชนชาติทิเบต ไห่เป่ย์เดวิด เจียงเตียวเสี้ยนเต้าหู้ยี้เฉิน ย่าหลานเฉิน ฮุ่ยหลินเฉินหลงเฉินเจิน หน้ากากฮีโร่เฉียนฉินเซี่ยงไฮ้เซนเซเชลส์เชื้อสายจีนเปอรานากันเป็ดปักกิ่งBCh (ทวิอักษร)CJKFun88ISO 639-2ISO 639-3漢字8 ดาบทรมาน 6 ดาบสังหาร ขยายดัชนี (599 มากกว่า) »

AGROVOC

AGROVOC ได้ถูกพัฒนาขึ้นในปี 1980 โดยเป็นอรรถาภิธานศัพท์พหุภาษาแบบมีโครงสร้าง ในด้านการเกษตร วนศาสตร์ การประมง อาหาร โภชนาการ และสาขาที่เกี่ยวข้อง (เช่น สิ่งแวดล้อม) อรรถาภิธานนี้เป็นคำศัพท์มาตรฐานที่กำหนดคำดรรชนีให้ถูกต้องตรงกัน ทั้งนี้เพื่อช่วยให้การสืบค้นสารสนเทศมีประสิทธิภาพ และยังช่วยขยายผลการสืบค้นสารสนเทศให้มีความครอบคลุมและกว้างขวางยิ่งขึ้น ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา AGROVOC เป็นเครื่องมือที่ให้องค์กรต่างๆ ใส่องค์ความรู้ และพัฒนาออนโทโลยี เพื่อให้มีความสามารถในการสืบค้นได้ แต่ในปัจจุบัน AGROVOC ได้ถูกพัฒนาขึ้นเป็นแม่ข่ายทางมโนทัศน์ (Concept Server) ซึ่งเปรียบเสมือนอรรถาภิธานคำศัพท์ (Term-based hesaurus) AGROVOC ได้ถูกใช้งานโดยกลุ่มคนทั่วโลก เช่นนักวิจัย บรรณารักษ์ ผู้จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และบุคคลอื่นๆ เพื่อใช้ในการทำดรรชนี การค้นคืน และการจัดการข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันในด้านสารสนเทศทางการเกษตร สิ่งสำคัญก็คือการทำให้การอธิบายเชิงความหมายมีมาตรฐาน ทั้งนี้เพื่อทำให้ระบบต่างๆ สามารถทำงานประสานกันได้ และเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลให้กว้างขึ้น อรรถาภิธานศัพท์เกษตร AGROVOC ประกอบด้วยคำศัพท์ใน 6 ภาษาหลัก คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ภาษาอาหรับ ภาษาจีน ภาษารัสเซีย และได้ถูกแปลเป็นภาษาอื่น ๆ อีก ได้แก่ ภาษาเช็ก ภาษาเปอร์เซีย ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี ภาษาฮังการี ภาษาอิตาลี ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลี ภาษาลาว ภาษาโปแลนด์ ภาษาโปรตุเกส ภาษาสโลวัก และภาษาไทย สำหรับคำศัพท์ในภาษามลายู ภาษามอลโดวา ภาษาเตลูกู ภาษาตุรกี และภาษายูเครน อยู่ในระหว่างดำเนินการ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและAGROVOC · ดูเพิ่มเติม »

ชาลส์ โจว

ลส์ กอง โจว (Charles Kong Djou) หรือในชื่อภาษาจีน โจว หย่งคัง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สภาคองเกรส สหรัฐอเมริกา โดยเป็นสมาชิกพรรครีพับลิกัน โจวเกิดเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2513 ที่ลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย แต่เติบโตที่รัฐฮาวาย บิดาเป็นชาวจีนเซี่ยงไฮ้ ส่วนมารดาเป็นชาวไทย อาศัยอยู่กรุงเทพมหานคร เขาลงสมัครรับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ภายหลังจากการลาออกจากตำแหน่งของนีล อาเบอร์ครอมบีย์ และสามารถเอาชนะ เอ็ด เคส อดีตสมาชิกสภาผู้แทนผู้แทนราษฎร พรรคเดโมแครต และคอลลีน ฮานาบูซา ประธานวุฒิสมาชิก พรรคเดโมแครต รัฐฮาวาย ถือเป็นชัยชนะครั้งแรกในรอบ 50 ปีของพรรครีพับลิกันในเขต 1 รัฐฮาว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและชาลส์ โจว · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอเมริกันเชื้อสายจีน

วอเมริกันเชื้อสายจีน หมายถึงชาวอเมริกันที่มีเชื้อสายจีน ประกอบด้วยชาวจีนโพ้นทะเล กับบางส่วนที่เป็นชาวอเมริกันเชื้อสายเอเชียตะวันออก รวมทั้งชาวอเมริกันเชื้อสายเอเชียกลุ่มย่อย ซึ่งภายในชุมชนนี้ มักไม่ได้กำหนดว่าจะย้ายถิ่นฐานมาจากจีนแผ่นดินใหญ่, ฮ่องกง, มาเก๊า, ไต้หวัน กับลูกหลานของพวกเขาที่มิได้ย้ายถิ่นฐานในภายหลัง รวมทั้งชาวจีนโพ้นทะเลที่โยกย้ายมาจากสถานที่อันหลากหลาย ทั้งสิงค์โปร์, เวียดนาม, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย, พม่า และฟิลิปปินส์ ชาวจีนกลุ่มแรกที่อพยพได้เดินทางถึงสหรัฐอเมริกาในช่วงปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและชาวอเมริกันเชื้อสายจีน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวฮั่น

วฮั่น (漢族) เป็นประชากรส่วนใหญ่ในประเทศจีน ผลสำรวจจำนวนประชากรในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 พบว่า มีชาวฮั่นราว 1,200 ล้านคนอาศัยในประเทศจีน และนับเป็นกลุ่มชนชาติที่ใหญ่ที่สุดในโลกด้วย มีหลักฐานว่าชาวฮั่นถือกำเนิดมาตั้งแต่สมัยหวงตี้ (黃帝) อาศัยอยู่ในแถบดินแดนจงหยวน และกระจายอยู่ทั่วประเทศจีนมายาวนานกว่า 5,000 ปี นับตั้งแต่สมัยเซี่ย ซาง โจว ชุนชิว-จั้นกั๋ว จนมาเริ่มเป็นปึกแผ่นในสมัยฉินและฮั่น สมัยฮั่นนี่เองที่เริ่มมีคำเรียก 'ฮั่น' ซึ่งเป็นกลุ่มชนที่มีความเชื่อตามแบบลัทธิเต๋า ชาวฮั่นมีกิจกรรมด้านการเกษตรและหัตถกรรมที่เจริญก้าวหน้า อีกทั้งมีการประดิษฐ์เครื่องสำริด การถักทอ เครื่องเคลือบดินเผา สถาปัตยกรรม และศิลปะการวาดภาพที่เป็นหน้าตาของชนชาติมาตั้งแต่ยุคโบราณ นอกจากนี้ ยังรวมถึงผลงานวรรณกรรมรูปแบบต่างๆ ที่เป็นที่ยอมรับไปทั่วด้วย และที่ลืมไม่ได้ก็คือ การเป็นชนกลุ่มแรกของโลกที่ค้นพบและสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ 4 อย่าง คือ กระดาษ เทคนิคการพิมพ์ เข็มทิศ และดินปืน บุคคลสำคัญเชื้อสายฮั่นในแผ่นดินจีนไม่ว่าจะเป็นนักทฤษฎี นักปฏิวัติ นักการเมือง กวี ศิลปินต่าง ๆ ที่ถูกจารึกนามในหน้าประวัติศาสตร์จีนและของโลกที่เรารู้จักกันดี ได้แก่ ดร.ซุนยัตเซ็น เหมาเจ๋อตง โจวเอินไหล หลิวเส้าฉี จูเต๋อ เติ้งเสี่ยวผิง หลู่ซวิ่น ฯลฯ ล้วนเป็นชาวฮั่นที่สร้างคุณูปการต่อลูกหลานชนชาวฮั่นในวันนี้ และยังรวมถึง ขงจื๊อ ปรัชญาเมธีผู้เรืองนามของจีน เป็นเวลาเนิ่นนานหลายร้อยปี ที่แนวคิดของขงจื๊อซึ่งเป็นรากฐานคุณธรรมคำสอนของชาวฮั่น ได้แผ่อิทธิพลไปทั่วทวีปเอเชียตะวันออก (East-Asia) ชาวฮั่นมีวันสำคัญทางประเพณีได้แก่ เทศกาลตรุษจีน 春節 เทศกาลหยวนเซียว 元宵節 เทศกาลไหว้บะจ่าง 端午節 เทศกาลไหว้พระจันทร์ 中秋節 (จงชิวเจี๋ย) เป็นต้น ชาวฮั่นมีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็นของตนเองเรียกว่า ภาษาฮั่น 漢語 (ฮั่นอวี่) มีตัวอักษรเรียกว่า อักษรฮั่น 漢字 (ฮั่นจื่อ) ซึ่งยังแบ่งเป็นภาษาถิ่นอีกหลายภาษา อาทิ ภาษาถิ่นทางภาคเหนือ (北方話) ภาษากวางตุ้ง (粵語) ภาษาแคะ (客家話) ภาษาถิ่นแถบเซี่ยเหมิน (閩南語) ภาษาถิ่นฮกเกี๊ยน (閩北語) ภาษาถิ่นแถบเซี่ยงไฮ้-เจียงซู-เจ้อเจียง (吳語) ภาษาถิ่นแถบหูหนัน (湘語) และภาษาถิ่นแถบเจียงซี (贛語).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและชาวฮั่น · ดูเพิ่มเติม »

ชาวจีน

รูปวาดในกรุงปักกิ่งแสดงถึงชนเผ่าทั้ง 56 ของจีน ชาวจีน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและชาวจีน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวจีนในอินเดีย

นสูบผิ่นในไชนาทาวน์ในกัลกัตตา พ.ศ. 2488 ชาวจีนในอินเดีย (Chinese in India) หรือชาวอินเดียเชื้อสายจีน เป็นกลุ่มชนที่สืบเชื้อสายมาจากชาวจีนที่อพยพเข้ามาตั้งหลักแหล่งในอินเดียเมื่อราว..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและชาวจีนในอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ชาวจีนในเคนยา

วจีนในเคนยา เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่หลากหลายของประเทศเคนยา ซึ่งมีการติดต่อค้าขายและตั้งถิ่นฐานในชายฝั่งทะเลทางตะวันออกของเคนยาตั้งแต่ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 จนถึงในปัจจุบันก็ยังมีชาวจีนกลุ่มใหม่ได้อพยพมาจากสาธารณรัฐประชาชนจีนมาตั้งถิ่นฐานในเคนยา ในช่วงปี ค.ศ. 1990-2000 และได้มีการประมาณการว่ามีชาวจีนที่พำนักในเคนยาประมาณ 3,000-10,000 คน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและชาวจีนในเคนยา · ดูเพิ่มเติม »

ชาวตุลา

วตุลา หรือ ชาวถูเหริน เป็นคำจีนที่ใช้ในปัจจุบัน เรียกชนชาติไทที่ยังมีหลงเหลืออยู่ในเขตมณฑลเสฉวน แต่เท่าที่หมอดอดด์ได้ไปพบกับตัวเอง ชนกลุ่มนี้จะเรียกตนเองว่า "ไท" และไม่ชอบที่จะถูกเรียกอย่างอื่นนอกจากไท เพราะการที่ใครคนอื่นเรียกเขาว่าอย่างอื่น จะทำให้เกิดความรู้สึกว่าเป็นการเหยียดหยาม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและชาวตุลา · ดูเพิ่มเติม »

ชาฮัง

ังของภัตตาคารแห่งหนึ่งในนะฮะ จังหวัดโอะกินะวะ การผัดชาฮัง ข้าวผัดกิมจิโปะด้วยไข่ดาวยางมะตูม ชาฮัง เป็นข้าวผัดแบบญี่ปุ่น มีส่วนประกอบหลักคือข้าว ผัดเข้ากับส่วนผสมอื่น ๆ และทำให้สุกในกระทะ คาดว่าชาฮังเกิดขึ้นราวปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและชาฮัง · ดูเพิ่มเติม »

บาเกียว

กียว (Baguio) เป็นเมืองในจังหวัดเบงเกต ประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะลูซอน ห่างจากกรุงมะนิลาไปทางทิศเหนือราว 210 กิโลเมตร เมืองตั้งอยู่บนพื้นที่สูงจากระดับทะเลปานกลาง 1,372 เมตร จึงมีอากาศค่อนข้างเย็น เหมาะสำหรับเป็นที่พักตากอากาศในฤดูร้อน จากการสำรวจประชากรในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและบาเกียว · ดูเพิ่มเติม »

ชาเขียว

ร่ชาเขียว ชาเขียว, จีน: 绿茶 - พินอิน: lǜchá, เป็นชาที่เก็บเกี่ยวจากพืชในชนิด Camellia sinensis เช่นเดียวกับ ชาขาว ชาดำ และชาอู่หลง ชาที่ไม่ผ่านการหมัก ซึ่งมีประโยชน์ต่อสุขภาพและมีคุณสมบัติในการต้านทานโรคได้นานาชนิดจึงเป็นที่นิยมของคนส่วนใหญ่ น้ำชาจะเป็นสีเขียวหรือเหลืองอมเขียว กลิ่นหอมอ่อนกว่าอู่หลง ชาเขียวหลงจิ่งที่ราคาสูงที่สุด คือ ฉือเฟิ่งหลงจิ่งที่ชงจากใบจะให้กลิ่นหอมอ่อนๆ บ้างว่าคล้ายถั่วเขียว รสฝาดน้อย เซนฉะที่ชงจากใบมีกลิ่นอ่อนๆจนเข้มได้ขึ้นกับการคั่ว บางครั้งมีรสอุมามิจนถึงรสหวานที่รับรู้ได้เฉพาะบางคนเท่านั้น ในประเทศไทยจะมีการแต่งกลิ่นเพื่อให้เกิดความน่ารับประทานมากขึ้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและชาเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ชิน โสภณพนิช

นายชิน โสภณพนิช (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - 4 มกราคม พ.ศ. 2531) นักธุรกิจ, นักการเงิน-การธนาคารชาวไทยเชื้อสายจีนที่มีชื่อเสียง เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารกรุงเท.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและชิน โสภณพนิช · ดูเพิ่มเติม »

ชินจิไต

นจิไต (ชินจิไต: 新字体; คีวจิไต: 新字體; แปลว่า อักษรแบบใหม่) เป็นรูปแบบของตัวอักษรคันจิที่ใช้ในประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่การประกาศใช้ชุดอักษรโทโยคันจิ (当用漢字 Tōyō kanji) หรือ "คันจิที่ใช้ทั่วไป" ที่ใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2489 ตัวอักษรชินจิไตบางตัวเป็นตัวอักษรเดียวกับอักษรจีนตัวย่อ แต่อักษรชินจิไตจะมีหลักการย่อตัวอักษรที่แคบกว่าอักษรจีนตัวย่อ อย่างไรก็ตาม อักษรคันจิของญี่ปุ่นในปัจจุบันส่วนใหญ่มีความคล้ายคลึงกับอักษรจีนตัวเต็มมากกว่า แต่มีจำนวนน้อยกว่าตัวอักษรจีนที่ใช้กันในภาษาจีนในปัจจุบันหลายเท่า เนื่องจากมีคำในภาษาญี่ปุ่นจำนวนมากต้องเขียนด้วยอักษรฮิระงะนะเท่านั้น เช่น คำง่ายๆ และคำช่วย เป็นต้น และยังมีคำที่ต้องเขียนด้วยอักษรคะตะคะนะ เช่น คำเลียนเสียงธรรมชาติ คำทับศัพท์ และชื่อสัตว์บางชนิด เป็นต้น อักษรแบบชินจิไต สร้างมาจากการย่อจำนวนขีดของอักษรแบบคีวจิไต (旧字体/舊字體 Kyūjitai) หรืออักษรแบบเก่า ซึ่งเทียบได้กับอักษรจีนตัวเต็ม (ในภาษาญี่ปุ่นจะเรียกว่า “เซจิ” (正字 seiji) แปลว่าอักษรที่ถูกต้อง) หลักการย่อ คือ จะย่อส่วนขวาของอักษรคันจิที่เรียกว่า “ทสึคุริ” (旁 tsukuri) ซึ่งเป็นส่วนบอกเสียงองของคันจิตัวนั้น โดยนำตัวอักษรที่มีเสียงองเดียวกัน แต่มีจำนวนขีดน้อยกว่ามาใส่แทน อีกวิธีหนึ่ง คือ ย่ออักษรส่วนที่เขียนซับซ้อน ด้วยตัวที่เขียนง่ายกว่า (จำนวนขีดน้อยกว่า) การย่อตัวอักษร เริ่มมีมาตั้งแต่ช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1950 จนกระทั่งพ.ศ. 2524 ได้มีการประกาศชุดอักษรคันจิที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เรียกว่า โจโยคันจิ (常用漢字 Jōyō kanji) เป็นมาตรฐานของอักษรคันจิในปัจจุบัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและชินจิไต · ดูเพิ่มเติม »

ชินโต

ทะริอิ ที่ ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ สัญลักษณ์ที่สำคัญของชินโต ชินโต เป็นลัทธิตามความเชื่อเดิมของชาวญี่ปุ่น คำว่า ชินโต มาจากตัวอักษรจีน หรือคันจิ 2 ตัวรวมกัน คือ ชิน หมายถึงเทพเจ้า (ภาษาจีน: 神, พินอิน: shén, เสิน) และ โต หมายถึงวิถีทางหรือศาสตร์วิชา (ภาษาจีน: 道, พินอิน: dào, เต้า) หรือ เต๋า ในลัทธิเต๋านั่นเอง เมื่อรวมกันแล้ว จะหมายถึงศาสตร์แห่งเทพเจ้า หรือวิถีแห่งเทพเจ้า นั่นเอง ชินโตของญี่ปุ่นมีตำนานความเชื่อว่า เทพเจ้ามีมากมายนับไม่ถ้วน ทั้งในป่า บนภูเขา ทะเล แม่น้ำ ลำธาร ในสายลม แม้แต่ในบ้านเรือนและเรือกสวนไร่นาในธรรมชาติที่ที่มีความบริสุทธิ์ล้วนเป็นที่สถิตของเทพเจ้าได้ทั้งสิ้น จึงมีคำที่ว่า "เทพแปดล้านองค์" เป็นการรวมคำเพื่อแสดงว่ามีทวยเทพอยู่มากมาย ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถือให้เป็นลัทธิความเชื่อพื้นเมืองประจำประเทศญี่ปุ่น พิธีกรรมของลัทธิชินโตนี้มาจากวัฒนธรรมท้องถิ่นและธรรมเนียมปฏิบัติต่าง ๆ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ แต่ก็ไม่ได้ถือเป็นพิธีกรรมอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งศาสนาพุทธ และ ลัทธิขงจื๊อ กับ ลัทธิเต๋า รวมทั้งภายหลัง ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ได้เริ่มให้เข้ามาในดินแดนญี่ปุ่น ตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 พิธีกรรมของลัทธิชินโตได้ถูกบันทึกและบัญญัติเป็นครั้งแรกในคัมภีร์โคะจิคิ และจดหมายเหตุนิฮงโชะกิ ในศตวรรษที่ 8 เพื่อตอบโต้ศาสนาที่มีระดับความพัฒนามากกว่าจากแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ตาม งานเขียนในยุคแรกๆก็ยังมิได้บ่งบอกว่าเป็น ลัทธิชินโต แต่งานเขียนในสมัยต่อมาก็ได้บ่งชี้อย่างชัดเจน พร้อมขนบธรรมเนียบของสังคมเกษตรกรรมและเทศกาลประจำปีเข้าไปด้วย รวมไปถึงความเชื่อเรื่องเทพปกรณัมและการกำเนิดโลกต่าง ๆ ซึ่งเล่าถึงต้นกำเนิดของชนชาติญี่ปุ่น ส่วนใหญ่จะหมายถึงเชื้อสายยะมะโตะ และอิสึโมะ ในสมัยนั้น พุทธศาสนาได้แพร่จากจีนเข้าสู่ญี่ปุ่น และมีผสมผสานความเชื่อดั้งเดิม อย่างเช่น ความเชื่อเรื่องเทพเจ้าในลัทธิชินโตและความเชื่อเรื่องพระโพธิสัตว์ในศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถูกจัดให้เป็นลัทธิบูชาเทพเจ้าหลายองค์ หรือ พหุเทวนิยม และลัทธิบูชาภูตผีวิญญาณ ที่เน้นความบริสุทธิ์ของพิธีกรรมเป็นอย่างมาก รวมถึงยกย่องเกียรติและความมีตัวตนของเทพเจ้า ซึ่งมีทั้งเทพเจ้าที่มีมาจากการยกบุคคลให้เป็นเทพ หรือการบูชาธรรมชาติ และเทพเจ้ายังสามารถมีลูกได้ด้วย ลัทธิชินโตเป็นลัทธิที่ให้ความสำคัญกับพิธีกรรมทางศาสนาเป็นอันดับหนึ่ง เนื่องจากเป็นวิธีที่จะทำให้ศาสนิกชนเข้าถึงและเป็นหนึ่งเดียวกับเทพเจ้าได้มากที่สุด ลัทธิชินโตยุคใหม่ไม่มีสถาบันที่ที่ยกตัวเป็นผู้ควบคุมส่วนกลาง มีเพียงแต่กลุ่มคนที่พยายามรักษาวิถีปฏิบัติของลัทธิชินโตมาตั้งแต่สมัยบรรพกาลจนถึงปัจจุบัน ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ชินโตได้ถูกยกเลิกจากการเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งในปัจจุบันชินโตเริ่มลดหายไปจากวัฒนธรรมญี่ปุ่น โดยที่ยังเห็นได้ในปัจจุบันได้แก่ โอมิคุจิ (การดึงฉลากเสี่ยงโชคในศาลเจ้าชินโต) และการเฉลิมฉลอง งานปีใหม่ญี่ปุ่น ที่มีจัดขึ้นตามศาลเจ้าชินโต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและชินโต · ดูเพิ่มเติม »

ชื่อบุคคลจีน

ชื่อบุคคลจีน จะมีการวางตำแหน่งของชื่อและนามสกุลต่างจากรูปแบบชื่อบุคคลไทย และชื่อบุคคลทางตะวันตก โดยจะมีการวางนามสกุลไว้หน้าชื่อ และเขียนชื่อทั้งหมดติดกัน โดยตัวอย่างเช่น หลิว เต๋อหัว (刘德华) ชื่อคือ เต๋อหัว และนามสกุลคือ หลิว ชื่อบุคคลจีนมีการใช้ในหลายประเทศที่ใช้ภาษาจีนเป็นหลักได้แก่ ประเทศจีน ประเทศไต้หวัน ประเทศสิงคโปร์ นามสกุลของจีนเรียกว่า "แซ่" (姓) มักจะมีคำเดียว เช่น แซ่ตั้ง (陳/陈) แซ่หวัง (王) แซ่เตียวหรือแซ่จาง (張/张) ในอดีตอาจพบนามสกุลจีนสองคำขึ้นไป ซึ่งส่วนมากจะเป็นเชื้อสายราชวงศ์หรือขุนนาง เมื่อหญิงสาวแต่งงานก็จะเปลี่ยนไปใช้แซ่ของสามี สำหรับชื่อตัวอาจมีหนึ่งหรือสองคำ ส่วนเสียงอ่านก็ขึ้นอยู่กับสำเนียงที่ใช้ อย่างเช่นเล่าปี่ ก็มีแซ่เล่า (ภาษาจีนกลางอ่านว่า หลิวเป้ย) ชื่อของคนจีนนั้นจะมีสองชื่อคือ ชื่อที่เรียกกันในบ้านหรือในครอบครัว เรียกว่า "หมิง" มักมีพยางค์เดียว และ "ชื่อทางการ" (Chinese style name, courtesy name or adulte name) ซึ่งเป็นชื่อที่ครูตั้งให้เมื่อเข้าเรียนหนังสือในโรงเรียน เป็นชื่อที่ใช้เรียกเพื่อแสดงความสุภาพ เช่น เล่าปี่ เล่า (หลิว) เป็นแซ่หรือนามสกุล ปี่ (เป้ย) เป็นหมิง ส่วนชื่อทางการคือ เสวี้ยนเต๋อ หมวดหมู่:ชื่อ หมวดหมู่:วัฒนธรรมจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและชื่อบุคคลจีน · ดูเพิ่มเติม »

บุปผาในกุณฑีทอง

ปผาในกุณฑีทอง (จินผิงเหมย์; The Plum in the Golden Vase) เป็นวรรณกรรมจีนที่ประพันธ์ขึ้นในสมัยราชวงศ์หมิง อ้างตามฉบับพิมพ์สมัยราชวงศ์หมิงในรัชสมัยของจักรพรรดิเสินจง ศักราชว่านลี่ ปีติงซื่อ (ปีที่ 45 ของรัชกาล) ผู้แต่งนิยายเรื่องนี้ใช้นามปากกาว่า "บัณฑิตแห่งสุสานกล้วยไม้ผู้ยิ้มเยาะ" (Lán Líng Xiào Xiào Shēng; The Scoffing Scholar of Lanling) เดิมนับเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนร่วมกับนวนิยายอีกสามเรื่อง คือ สามก๊ก ซ้องกั๋ง และไซอิ๋ว เรียกรวมกันว่า "สี่วรรณกรรมอันยิ่งใหญ่" (四大奇書,四大奇书) แต่ต่อมาเรื่อง จินผิงเหมย์ ถูกต่อต้าน เพราะพรรณนาบทสังวาสจำนวนมากจนถูกเรียกว่าเป็นหนังสือโลกีย์ศานติ-นวรัตน์ ภักดีคำ, 2551: 163 จึงมีการจัดให้ ความฝันในหอแดง นิยายอีกเรื่องหนึ่ง ขึ้นมาเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนแทน อย่างไรก็ตาม แม้ บุปผาในกุณฑีทอง เกี่ยวข้องกับเรื่องโลกียะ และบางยุคก็ถือเป็นหนังสือต้องห้าม แต่ก็แต่งด้วยสำนวนภาษาที่งดงามละเมียดละไมศานติ-นวรัตน์ ภักดีคำ, 2551: 162 นิยายเรื่องนี้ได้ทำลายขนบในการเขียนนิยายอิงพงศาวดารและนิยายเกี่ยวกับผีสางเทวดาลง โดยใช้ลีลาการเขียนด้วยสำนวนง่าย ๆ กะทัดรัด และมีชีวิตชีวา บรรยายชีวิตตัวละครและตัวประกอบโดยใช้ชีวิตประจำวันของซีเหมิน ชิ่ง (Xīmén Qìng) และคนในครอบครัวเป็นศูนย์กลาง กล่าวถึงชีวิตของซีเหมิน ชิ่ง ที่รุ่งเรืองและตกอับ ทำอย่างไรให้ร่ำรวยขึ้นมา และทำอย่างไรให้ตัวตกอับ ถือเป็นการบรรยายถึงสภาพสังคมในช่วงราชวงศ์หมิง ซึ่งแสดงถึงทัศนคติและมุมมองของประชาชนทั่วไปในคริสต์ศตวรรษที่ 16 อีกด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและบุปผาในกุณฑีทอง · ดูเพิ่มเติม »

ชุนลี

นลี (Chun-Li) ทับศัพท์จากภาษาจีนว่า ชุน ลี่ ("หญิงงามแห่งวสันตฤดู") เป็นตัวละครจากเกมสตรีทไฟท์เตอร์ เธอเป็นหญิงสาวชาวจีนผู้ใช้ศิลปะการต่อสู้กังฟู เข้าร่วมการแข่งขันสตรีทไฟท์เตอร์เพื่อโค่นเวก้าและบัลร็อกซึ่งเป็นวายร้ายที่ฆ่าบิดาของเธอ มีท่าไม้ตายคือ คิโคเคน (พลังคลื่นลมปราณ), ลูกเตะพันเท้า และสปินนิงเบิร์ดคิก เมื่อชุนลีได้รับชัยชนะจากการต่อสู้ มักแสดงความดีใจพร้อมกับกล่าวคำว่า "ยัตตะ" ซึ่งเป็นภาษาญี่ปุ่น (แปลว่า "สำเร็จ") เธอยังถือเป็นหนึ่งในตัวละครเกมเพศหญิงที่มีคนรู้จ้กกันมากที่สุดสำหรับนักเล่นเกมต่อสู้หลายราย ซึ่งออกแบบโดยอากิระ "อะกิมัง" ยะซุดะ โดยปรากฏตัวครั้งแรกในภาค 2 ของเกมซีรีส์ดังกล่าว ผู้ให้เสียงพากย์ชุนลีในสตรีทไฟท์เตอร์ IV เวอร์ชันญี่ปุ่นคือฟุมิโกะ โอะริกะซะ และในเวอร์ชันอังกฤษมีผู้ให้เสียงพากย์คือลอรา ไบลี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและชุนลี · ดูเพิ่มเติม »

บีอินสปอตส์

ีอิน สปอตส์ (beIN Sports) เป็นเครือข่ายช่องรายการกีฬาทางโทรทัศน์ ซึ่งมีอยู่ในหลายประเทศทั่วโลก โดยเป็นธุรกิจหนึ่งของกลุ่มเครือข่ายสื่ออัลญะซีเราะฮ์แห่งรัฐกาตาร์ สำหรับบริการภายในประเทศไทย สามารถรับชมช่องบีอินสปอตส์ 1-6 ผ่านการบอกรับเป็นสมาชิกของทรูวิชันส์ ในเวอร์ชันภาษาไทย โดยต้องสมัครแพ็กเกจเสริมดูบอล ทรู ซูเปอร์ ซอคเกอร์เพื่อรับชมช่องดังกล่าว และผ่านทางแอพ beIN Sports Connect โดยการสมัครสมาชิกเพื่อรับชมช่องในแอพลิเคชั่นดังกล่าว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและบีอินสปอตส์ · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 3 แฟมิลี

อง 3 แฟมิลี (Channel 3 Family) เป็นช่องโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล กลุ่มบริการทางธุรกิจระดับชาติ ประเภทรายการเด็ก เยาวชน และครอบครัว ซึ่งบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด เป็นผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการจาก กสทช. เริ่มออกอากาศเป็นปฐมทัศน์ ตั้งแต่วันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2557 โดยกำหนดสัดส่วนผังรายการออกเป็น ประเภทเด็กและครอบครัว ร้อยละ 75 ประเภทข่าวสารและสาระ ร้อยละ 25 ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาจากต่างประเทศ อาทิ ภาพยนตร์และละครชุด ในภาษาจีน, ภาษาเกาหลี และภาษาอังกฤษเป็นสำคัญ ร่วมกับเนื้อหาของผู้ผลิตสัญชาติไทย เช่นบริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (มหาชน), บริษัท ทีวีธันเดอร์ จำกัด, บริษัท บรอดคาสต์ไทยเทเลวิชัน จำกัด, อาร์แอลจี, มาร์กอินมีเดีย เป็นต้น โดยมีเนื้อหามุ่งไปที่ กลุ่มเด็ก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและช่อง 3 แฟมิลี · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 3 เอสดี

อง 3 เอสดี (Channel 3 SD) เป็นช่องโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล กลุ่มบริการทางธุรกิจระดับชาติ ประเภทรายการทั่วไป ความละเอียดมาตรฐาน (Standard Definition - SD) ซึ่งบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด เป็นผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการจาก กสทช. เริ่มออกอากาศเป็นปฐมทัศน์ ตั้งแต่วันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2557 โดยกำหนดสัดส่วนผังรายการออกเป็น ประเภทข่าวสารและสาระ ร้อยละ 60 กับประเภทปกิณกะบันเทิง ร้อยละ 40 ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาจากต่างประเทศ อาทิ ภาพยนตร์และละครชุด ในภาษาจีน, ภาษาเกาหลี และภาษาอังกฤษเป็นสำคัญ ร่วมกับเนื้อหาของผู้ผลิตสัญชาติไทย เช่นบริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (มหาชน), บริษัท ทีวีธันเดอร์ จำกัด, บริษัท บรอดคาสต์ไทยเทเลวิชัน จำกัด, อาร์แอลจี, มาร์กอินมีเดีย เป็นต้น รวมถึงนำละครโทรทัศน์ ซึ่งเคยออกอากาศทางไทยทีวีสีช่อง 3 มาแพร่ภาพอีกครั้งด้วย ปี 2559 ช่อง 3 เอสดีเริ่มออกอากาศละครที่สร้างขึ้นเพื่อช่อง 3 เอสดีโดยเฉพาะเริ่มต้นด้วยละคร 5 เรื่องได้แก่ นารีริษยา,มายาฉิมพลี,ม่านดอกงิ้ว, ไฟเปลี่ยนสี และ ลูกผู้ชายเลือดเดือด ซึ่งละครเรื่องแรกที่ออกอากาศคือเรื่อง ลูกผู้ชายเลือดเดือด โดยออกอากาศทุกวันจันทร์-พฤหัส เวลา 19.35 น. และวันศุกร์ เวลา 19.15 น. ออกอากาศตอนแรกวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2559.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและช่อง 3 เอสดี · ดูเพิ่มเติม »

ช้างแมมมอธ

้างแมมมอธ หรือ แมมมอธ (Mammoth) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมตระกูลช้างที่อาศัยอยู่ในยุคน้ำแข็งเมื่อกว่า 20,000 ปีก่อน จัดอยู่ในวงศ์ Elephantidae เช่นเดียวกับช้างที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน โดยอยู่ในสกุล Mammuthus จำแนกออกได้ทั้งหมด 9 ชนิด (ดูในตาราง) โดยคำว่า "แมมมอธ" นั้นมาจากคำว่า "Mammal" หรือ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แมมมอธ กระจายพันธุ์อยู่ทั่วโลก โดยเฉพาะทวีปยุโรปและเอเชียเหนือ เช่น ไซบีเรีย ยกเว้นออสเตรเลียและอเมริกาใต้ เป็นช้างที่มีลำตัวและงาใหญ่กว่าช้างในยุคปัจจุบันมาก ปัจจุบันจะค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของแมมมอธได้ในยุคไพลสโตซีน แมมมอธ กำเนิดขึ้นมาเมื่อราว 2.6 ล้านปีก่อน ในยุคไพลโอซีนตอนต้น และสูญพันธุ์อย่างสิ้นเชิง เมื่อ 11,700 ปีที่ผ่านมา (แมมมอธตัวสุดท้ายที่สูญพันธุ์ คือ แมมมอธแคระ ที่อาศัยบนเกาะแรงเกล ในทะเลอาร์กติก เมื่อราว 3,700 ปีก่อน) แมมมอธมีขนาดโดยเฉลี่ย 4 เมตร (14 ฟุต) ตั้งแต่เท้าจนถึงหัวไหล่ มีสีขนที่หลากหลายตั้งแต่น้ำตาล หรือน้ำตาลออกเหลือง ความยาวตั้งแต่ 2.5 เซนติเมตร (1 นิ้ว) จนถึง 50 เซนติเมตร (20 นิ้ว) ภายใต้ผิวหนังหนาและมีชั้นไขมันเป็นฉนวนกันความหนาว 8 เซนติเมตร (3 นิ้ว) มีส่วนหัวที่กลม ใบหูเล็กกว่าช้างในยุคปัจจุบันมาก มีโหนกไขมันอยู่บริเวณส่วนหลัง มีงายาวโค้งได้ถึง 13 ฟุต (4 เมตร) มีฟันกรามเป็นสัน ทั้งนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงตัวเองเพื่อเหมาะแก่การอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีแต่ความหนาวในยุคน้ำแข็ง เพื่อรักษาความอบอุ่นในร่างกาย แมมมอธ มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อมนุษย์ในยุคหินเก่า ด้วยการล่าเอาเนื้อเป็นอาหาร หนังและไขมันเป็นเครื่องสร้างความอบอุ่น จนมีภาพเขียนสีบนผนังถ้ำหลายแห่งที่ปรากฏภาพ การล่าแมมมอธด้วยอาวุธที่ทำจากหินในยุคนั้น ภาพเปรียบเทียบขนาดของมนุษย์กับแมมมอธแต่ละชนิด แมมมอธ จำแนกออกได้เป็นทั้งหมด 9 ชนิด แต่ละชนิดมีลักษณะ รูปร่าง แตกต่างกันออกไป โดยชนิดที่เป็นที่รู้จักดีที่สุด คือ แมมมอธขนดก (Mammuthus primigenius) ที่มีขนปกคลุมอยู่ทั้งตัว เชื่อว่า แมมมอธสูญพันธุ์ไปเพราะถูกล่าโดยมนุษย์จนหมด แต่จากการศึกษาด้านพันธุกรรมศาสตร์และดีเอ็นเอพบว่า แมมมอธนั้นมีสายสัมพันธ์ใกล้เคียงกับ Elephas หรือช้างเอเชียที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์มาจนปัจจุบัน จึงมีความพยายามจากนักวิทยาศาสตร์ที่จะโคลนนิงตัวอ่อนของแมมมอธให้เกิดขึ้นมาให้ได้ โดยให้แม่ช้างเอเชียเป็นฝ่ายอุ้มท้อง จากการสกลัดนิวเคลียสจากซากดึกดำบรรพ์ของลูกแมมมอธที่ค่อนข้างสมบูรณ์ เพราะถูกแช่แข็งในน้ำแข็ง จากไขกระดูกบริเวณต้นขา และจากหลักฐานใหม่ที่ได้ทำการศึกษาพบว่า แมมอธสูญพันธุ์ไปเพราะสาเหตุการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศมากกว่า โดยประชากรในยุโรปเกือบสูญพันธุ์ไปก่อนหน้านั้นเมื่อ 20,000-30,000 ปีก่อน จากนั้นเมื่อ 14,000 ปีก่อน โลกเริ่มมีอุณหภูมิที่อุ่นขึ้น จึงพากันสูญพันธุ์ เนื่องจากสภาพร่างกายที่ใหญ่และมีขนยาวปกคลุมลำตัว ในปลายเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและช้างแมมมอธ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสิงคโปร์ก้าวหน้า

รรคสิงคโปร์ก้าวหน้า (Singapore Progressive Party, PP) หรือพรรคก้าวหน้า (Progressive Party; Parti Progresif; อักษรจีนตัวย่อ: 进步党; อักษรจีนตัวเต็ม: 進步黨; พินอิน: Jìnbù Dǎng) เป็นพรรคการเมืองในสิงคโปร์ก่อตั้งเมื่อ 25 สิงหาคม..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพรรคสิงคโปร์ก้าวหน้า · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า (สิงคโปร์)

รรคประชาธิปไตยก้าวหน้า (สิงคโปร์) (Democratic Progressive Party; DPP; ภาษาจีน: 民主进步党) เป็นพรรคการเมืองในสิงคโปร์ ก่อตั้งเมื่อ 16 มีนาคม..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า (สิงคโปร์) · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)

ระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร) (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2550) หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ ท่านเป็นที่รู้จักในฐานะพระสงฆ์ผู้ปฏิรูปแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทย ผู้เป็นสหธรรมิกร่วมอุดมการณ์คนสำคัญของพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปัญโญ) และผู้อุทิศชีวิตให้กับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาจนวาระสุดท้ายของชีวิต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระกุมารชีพ

มืองกุฉา เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ประเทศจีน พระกุมารชีพ (จีนตัวย่อ: 鸠摩罗什; จีนตัวเต็ม: 鳩摩羅什; พินยิน: Jiūmóluóshí) เป็นพระภิกษุชาวอินเดีย เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพระกุมารชีพ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม)

ระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม) รองเจ้าอาวาส และพระอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนาธุระ วัดปากน้ำ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังต้องห้าม

อู่เหมิน ไท่เหอเหมิน ตงหวาเหมิน แม่น้ำทอง 280px 190px พระราชวังต้องห้าม (จีน: 紫禁城; พินอิน: Zǐjìn Chéng จื่อจิ้นเฉิง; อังกฤษ: Forbidden City) หรือพระราชวังกู้กง จากชื่อภาษาจีน แปลตามตัวอักษรได้ว่า "เมืองต้องห้ามสีม่วง" พระราชวังต้องห้ามตั้งอยู่ใจกลางของกรุงปักกิ่ง เมืองหลวงของประเทศจีน เป็นพระราชวังหลวงมาตั้งแต่สมัยกลางราชวงศ์หมิงจนถึงราชวงศ์ชิง พระราชวังต้องห้ามยังรู้จักกันในนาม พิพิธภัณฑ์พระราชวัง (ภาษาจีน: 故宫博物院; พินอิน: Gùgōng Bówùyùan) ครอบคลุมพื้นที่ 720,000 ตารางเมตร อาคาร 800 หลัง มีห้องทั้งหมด 9,999 ห้อง และมีพระที่นั่ง 75 องค์ หอพระสมุด ห้องหับต่างๆอีกมาก รวมทั้งยังมีสวน ลานกว้าง ทางเดินเชื่อมกันโดยตลอด มีคูและกำแพงที่สูงถึง 11 เมตร ล้อมรอบ ใช้ระยะก่อสร้างประมาณ 14 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 1949 จนถึง พ.ศ. 1963 พระราชวังต้องห้ามตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจตุรัสเทียนอันเหมิน นักท่องเที่ยวสามารถเข้าสู่พระราชวังต้องห้ามได้ทางจตุรัสนี้ ผ่านประตูเทียนอันเหมิน บริเวณรอบจตุรัสเทียนอันเหมิน เรียกว่า อาณาเขตหลวง โดยมีสิ่งก่อสร้างสำคัญอยู่โดยรอบ เช่น มหาศาลาประชาคม ในอดีต พระราชวังแห่งนี้ เป็นเขตหวงห้ามไม่ไห้ประชาชนเข้า แม้ข้าราชการชั้นสูง ยังต้องขออนุญาต เป็นกรณีพิเศษ จึงเรียกพระราชวังนี้ว่า "พระราชวังต้องห้าม" จักรพรรดิจะทรงประทับอยู่ในพระราชวังแห่งนี้ กั้นพระองค์จากโลกภายนอก โดยมีสนมกำนัล ขันที และข้าหลวงรับใช้ซึ่งคนเหล่านี้ต้องอาศัยอยู่ในนครต้องห้ามตลอดชีวิต เพื่อความสำราญของจักรพรรดิ ในวังจะมีวิเสท 6,000 คน ประกอบพระกระยาหาร มีสนมกำนัล 9,000 นาง ซึ่งมีขันที 70,000 คน คอยดูแลให้ มีคำเล่าลือกันว่า พระนางซูสีไทเฮา เวลาเสวยก็จะมีพระกระยาหารถึง 148 ชุด และทรงส่งขันทีไปเสาะหาชายหนุ่มซึ่งเข้าวังแล้วจะไม่มีผู้ใดพบเห็นอีกเลย แม้ว่าประเทศจีนจะไม่มีสถาบันพระมหากษัตริย์แล้ว พระราชวังต้องห้ามก็ยังคงเป็นสัญลักษณ์ของประเทศจีน และภาพประตูเทียนอันเหมินก็ยังปรากฏอยู่ในตราประจำสาธารณรัฐประชาชนจีนอีกด้วย นอกจากนี้ พระราชวังต้องห้ามยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งไม่นานมานี้ ทางรัฐบาลจีนได้มีนโยบายจำกัดปริมาณนักท่องเที่ยวเพื่อจะอนุรักษ์สภาพของอาคารและสวนหย่อมไว้ ยูเนสโกได้ประกาศให้พระราชวังต้องห้ามร่วมกับพระราชวังเสิ่นหยางเป็นหนึ่งในมรดกโลกในนาม พระราชวังหลวงแห่งราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิงในปักกิ่งและเสิ่นหยาง เมื่อ พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพระราชวังต้องห้าม · ดูเพิ่มเติม »

พระราชประวัติก่อนเสด็จขึ้นครองราชย์ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีในอภินิหารบรรพบุรุษ

ระราชประวัติของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ผู้เป็นพระมหากษัตริย์เพียงพระองค์เดียวในสมัยกรุงธนบุรี ส่วนใหญ่มักจะยึดถือจาก อภินิหารบรรพบุรุษ อันเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางในการศึกษาพระราชประวัติก่อนเป็นพระมหากษัตริย์ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี อย่างไรก็ตาม นิธิ เอียวศรีวงศ์ นักประวัติศาสตร์ เห็นว่าหลักฐานดังกล่าวยากต่อการพิสูจน์ความถูกต้อง และยังพบข้อผิดพลาดอยู่มาก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพระราชประวัติก่อนเสด็จขึ้นครองราชย์ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีในอภินิหารบรรพบุรุษ · ดูเพิ่มเติม »

พระธยานิพุทธะ

ระธยานิพุทธะ ศิลปะทิเบต พระธยานิพุทธะหรือพระฌานิพุทธะ (บางแห่งเรียกพระชินพุทธะ) เป็นพระพุทธเจ้าในคติความเชื่อของมหายาน เชื่อว่าอวตารมาจากพระอาทิพุทธะ สำเร็จเป็นพระพุทธเจ้าด้วยอำนาจฌานของอาทิพุทธะ ไม่ได้ลงมาสร้างบารมีเหมือนพระมานุสสพุทธะ (พระพุทธเจ้าที่เป็นมนุษย์) ดำรงในสภาวะสัมโภคกาย มีแต่พระโพธิสัตว์ที่เห็นพระองค์ได้.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพระธยานิพุทธะ · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรม (ศาสนาพุทธ)

ระธรรมราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 454 หมายถึงธรรมะซึ่งพระพุทธเจ้าทรงค้นพบและนำออกเผยแผ่ หรือคำสอนของพระพุทธเจ้า เกี่ยวกับความจริงตามธรรมชาติของทุกข์และวิธีการดับทุกข์ ธรรมะของพระพุทธเจ้านั้นแต่เริ่มสืบทอดกันด้วยวิธีท่องจำแบบปากต่อปาก เรียกว่า "มุขปาฐะ" สมัยต่อมาจึงได้มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร คัมภีร์ที่บันทึกพระธรรมของพระพุทธเจ้านั้น เรียกว่า พระไตรปิฎก และยังมีคัมภีร์อื่นๆ ที่แต่งภายหลังเพื่อขยายความอีก ได้แก่ อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา ตามลำดับ ธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบนั้น เป็นสิ่งที่มีอยู่แต่เดิมแล้ว ไม่ได้เกิดขึ้นพร้อมพระพุทธองค์ แต่ทรงเป็นผู้ค้นพบแล้วนำมาประกาศ อาจพอกล่าวได้ว่าการเรียนรู้พระธรรม ก็คือการเรียนรู้ธรรมดาโลก และเรียนรู้สิ่งที่เป็นปกติที่มีบ่อเกิดที่มาว่ามาอย่างไร เป็นไปได้อย่างไร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพระธรรม (ศาสนาพุทธ) · ดูเพิ่มเติม »

พระโพธิสัตว์

ระปรัชญาปารมิตา ชวา ศิลปะศรีวิชัย พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ ศิลปะขอม วัดโทได พระโพธิสัตว์ (बोधिसत्त्व bodhisattva; बोधिसत्त bodhisatta) หมายถึง ผู้ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า คำว่า "โพธิสัตว์" แปลว่า ผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ ทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานเชื่อว่ามีพระโพธิสัตว์เป็นจำนวนมาก แต่รายละเอียดความเชื่อแตกต่างกันไป.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพระโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พระโพธิธรรม

'''"พระโพธิธรรม"''' โดยโยะชิโทะชิ (ค.ศ. 1877) พระโพธิธรรม (โพธิธรฺม, เทวนาครี बोधिधर्म; อักษรโรมัน (NLAC): bōdhidharma; 菩提達摩, พินอิน: Pútídámó, Dámó) แต่ในนิยายกำลังภายในในประเทศไทยมักเรียก ตักม้อ หรือ ตั๊กม้อ (สำเนียงแต้จิ๋ว ตรงกับจีนกลางว่า ต๋าหมอ) เป็นพระภิกษุในศาสนาพุทธฝ่ายมหายานนิกายเซน มีประวัติไม่ชัดเจนนัก แต่เชื่อกันว่ามีตัวตนอยู่จริง และเป็นผู้สถาปนาวัดเส้าหลิน ในจีน ทั้งยังได้เผยแพร่วิชามวยจีนในหมู่พระเณรของวัดเส้าหลิน จนมีชื่อเสียงมาจวบจนทุกวันนี้ ตามตำนานระบุว่า ท่านเกิดเมื่อราว..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพระโพธิธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระไภษัชยคุรุ

วัดโฮรีว พระไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาตถาคต เป็นพระพุทธเจ้าที่พบเฉพาะในนิกายมหายาน ไม่พบในฝ่ายเถรวาท พระนามของท่านหมายถึงพระตถาคตเจ้าผู้เป็นบรมครูแห่งยารักษาโรค ผู้มีรัศมีสีน้ำเงินดังไพฑูรย์ พระนามอื่นๆของท่านคือ พระไภษัชยคุรุตถาคต พระมหาแพทย์ราชาพุทธเจ้า พระมหาไภษัชยราชพุทธเจ้า เป็นที่นิยมนับถือในหมู่ชาวจีนและชาวทิเบต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพระไภษัชยคุรุ · ดูเพิ่มเติม »

พอร์พอยส์

อร์พอยส์ (Porpoise; การออกเสียง) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวาฬและโลมา (Cetacea) ขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Phocoenidae พอร์พอยส์ จัดเป็นวาฬมีฟันขนาดเล็ก ลักษณะทั่วไปคล้ายกับโลมาทะเล (Delphinidae) แต่มีความแตกต่างไปจากโลมาทั่วไป คือ มีรูปร่างที่เล็กกว่า และมีรูปทรงที่อ้วนกลมกว่า อีกทั้งสรีระร่างกายของพอร์พอยส์ไม่อาจจะเก็บความอบอุ่นไว้ได้นาน ทำให้สูญเสียพลังงานในร่างกายได้รวดเร็วกว่า จึงต้องกินอาหารบ่อยครั้งและมากกว่าโลมาทะเลเพื่อสร้างพลังงานและความอบอุ่นให้แก่ร่างกาย นอกจากนี้แล้ว ครีบหลังของพอร์พอยส์นั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมคล้ายกับครีบของปลาฉลาม แต่มีความสั้นทู่ ซึ่งในบางครั้งจะมีปุ่มขนาดเล็กเรียกว่า ทูเบอร์เคิล อยู่ตรงขอบครีบ ลักษณะของจมูกของพอร์พอยส์นั้นสั้นทู่และกลมกว่าโลมาทั่วไป ลักษณะของฟันก็มีลักษณะเล็ก ๆ เป็นตุ่มไม่แหลมคม ส่วนกระดูกคอนั้นติดต่อกับกระดูกสันหลัง ทำให้ไม่อาจจะขยับส่วนคอไปมาได้อย่างอิสระเหมือนโลมา และพฤติกรรมก็แตกต่างไปจากโลมาด้วย ได้แก่ ฝูงของพอร์พอยส์มีขนาดเล็กกว่า คือ มีจำนวนสมาชิกในฝูงเพียง 2–4 ตัวเท่านั้น ไม่ได้มีกันหลายสิบหรือร้อยตัวเหมือนโลมาทะเล และมีพฤติกรรมขี้อาย เกรงกลัวมนุษย์ ผิดกับโลมาทะเล และเป็นโลมาที่มีอายุขัยสั้นเพียงแค่ 20 ปีเท่านั้น พอร์พอยส์ นับเป็นสัตว์ในอันดับนี้ที่มีขนาดเล็กที่สุด โดยชนิดที่มีขนาดเล็กที่สุด คือ วิกีตา พบกระจายพันธุ์ทางตอนเหนือของอ่าวแคลิฟอร์เนีย มีขนาดโตเต็มที่ไม่ถึง 2 เมตรด้วยซ้ำ ขณะที่ชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ก็มีความยาวเพียง 2.3 เมตรเท่านั้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพอร์พอยส์ · ดูเพิ่มเติม »

พัก คี-วุง

ัก คี-วุง (박기웅 Park Ki-woong) (เกิด 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528) เป็นนักแสดงชาวเกาหลีใต้ เขามีชื่อเสียงจากซีรีย์เรื่อง The Slingshot และ Bridal Mask.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพัก คี-วุง · ดูเพิ่มเติม »

พาราลิมปิกฤดูหนาว 2022

ระวังสับสนกับ โอลิมปิกฤดูหนาว 2022 พาราลิมปิกฤดูหนาว 2022 (จีน: 第十三届冬季残疾人奥林匹克运动会) หรือที่รู้จักในนามทางการว่า กีฬาพาราลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 13 เป็นมหกรรมกีฬาฤดูหนาวระดับนานาชาติสำหรับนักกีฬาผู้มีความพิการ ซึ่งมีกำหนดการที่จะจัดขึ้นในกรุงปักกิ่ง, ประเทศจีน ในระหว่างวันที่ 4 ถึง 13 มีนาคม..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพาราลิมปิกฤดูหนาว 2022 · ดูเพิ่มเติม »

พาสเทล

ทล (Pastel; ぱすてる) เป็นการ์ตูนที่ตีพิมพ์ลงในโชเน็นแมกกาซีนสเปเชี่ยล แต่งโดยโตชิฮิโกะ โคบายาชิ และตีพิมพ์ออกมาแล้ว 3 ภาษา: ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอังกฤษและภาษาจีน เริ่มต้นตีพิมพ์บนโชเน็นแมกกาซีนรายสัปดาห์ แล้วย้ายไปลงในโชเน็นแมกกาซีนรายเดือนในปี 2003 ตั้งแต่ตอนที่ 50 เป็นต้นไป เรื่องราวการดำเนินเรื่องคล้ายคลึงกับผลงานก่อนหน้าของโคบายาชิคือเรื่อง ''รักสลับขั้ว'' รวมทั้งสิ้น 25 เล่ม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพาสเทล · ดูเพิ่มเติม »

พิชัยสงครามซุนจื่อ

ัยสงครามซุนจื่อ (The Art of War) เป็นตำรายุทธศาสตร์การทหารหรือตำราพิชัยสงครามของจีน ซึ่งเขียนขึ้นเมื่อราวหกร้อยปีก่อนคริสตกาลโดยซุนจื่อ นักยุทธศาสตร์คนสำคัญในยุครณรัฐของจีน เนื้อหาในตำราพิชัยสงครามฉบับนี้มี 13 บท แต่ละบทเน้นถึงแต่ละแง่มุมของการสงคราม ตำราพิชัยสงครามของซุนจื่อเป็นหนึ่งในตำรายุทธศาสตร์การทหารเล่มหนึ่งที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยนับได้ว่าเป็นตำราเล่มแรกและเล่มหนึ่งที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงในเชิงยุทธศาสตร์ และมีอิทธิพลอย่างมหาศาลต่อแนวคิดทางการทหาร กลยุทธทางธุรกิจ และแนวคิดเรื่องอื่นๆ ทั้งในโลกตะวันออกและโลกตะวันตก ซุนจื่อถือเป็นบุคคลแรกที่ตระหนักในความสำคัญของตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ ซึ่งจะได้รับผลกระทบทั้งจากเงื่อนไขเชิงรุกในด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และความคิดเชิงรับของฝ่ายคู่แข่งในสภาพแวดล้อมดังกล่าว เขาได้สอนว่า ยุทธศาสตร์ไม่ใช่เพียงการวางแผนกำหนดสิ่งที่จะลงมือทำเท่านั้น แต่ยังต้องการการตอบสนองอย่างรวดเร็วและเหมาะสมในการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในสถานการณ์ต่างๆ ด้วย ตำราพิชัยสงครามเล่มนี้ได้แปลเป็นภาษาตะวันตกครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพิชัยสงครามซุนจื่อ · ดูเพิ่มเติม »

พุทธจริต

ทธจริต หรือ "จริยาแห่งพระพุทธองค์" มหากาพย์ภาษาสันสกฤต รจนาโดยพระอัศวโฆษ คาดว่ารจนาขึ้นในราวช่วงต้นศตวรรษที่ 2 ปัจจุบันเหลืออยู่ 28 สรรค 14 สรรคแรกเหลือสมบูรณ์ดีในภาษาสันสกฤต ส่วนสรรคที่ 15 ถึง สรรค 28 อยู่ในสภาพไม่สมบูรณ์ ทั้งนี้ พระอัศวโฆษผู้ประพันธ์ได้ใช้ฉันทลักษณ์ 10 ชนิดในการประพันธ์ อาทิ ตริษฏุภฉันท์ อนุษฎุภฉันท์ วังสัสถฉันท์ เอาปัจฉันทสิกฉันท์ เป็นต้น ในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพุทธจริต · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรมพุทธศาสนาจีน-สันสกฤต-อังกฤษ-ไทย

นานุกรมพุทธศาสนาจีน-สันสกฤต-อังกฤษ-ไทย เป็นพจนานุกรมศัพท์ทางพระพุทธศาสนามหายานเล่มแรกของไทย ที่รวบรวมคำศัพท์ทางพระพุทธศาสนาจากพระไตรปิฎกจีน รวมถึงอรรถกถา และปกรณ์คัมภีร์ต่างๆ ภายในเล่มบรรจุคำศัพท์ทั้งภาษาจีน สันสกฤต บาลี มีคำแปลความหมายเป็นภาษาอังกฤษและภาษาไทย เนื้อหาครอบคลุมทั้งพระพุทธศาสนามหายาน เถรวาท และลัทธิปรัชญาทั้งในอินเดีย จีน ญี่ปุ่น ตลอดจนขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมทางศาสนาของเอเชียตะวันออก จัดพิมพ์เผยแพร่โดยคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย เมื่อ..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพจนานุกรมพุทธศาสนาจีน-สันสกฤต-อังกฤษ-ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พ่อจ๋าอย่าร้องไห้

อจ๋าอย่าร้องไห้ (Papa, Can You Hear Me Sing; จีน: 搭錯車; พินอิน: Dā cuòchē) ภาพยนตร์ชีวิตสัญชาติไต้หวัน ออกฉายในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและพ่อจ๋าอย่าร้องไห้ · ดูเพิ่มเติม »

กฎชัทแธมเฮ้าส์

ัทแธมเฮ้าส์ กฎชัทแธมเฮ้าส์ คือ ระบบการจัดโต้วาทีและการอภิปรายแบบคณะเกี่ยวกับประเด็นที่เป็นที่ถกเถียง ชื่อของกฎถูกตั้งตามสำนักงานใหญ่ของสถาบันกิจการต่างประเทศของสหราชอาณาจักร ซึ่งตั้งอยู่ที่ชัทแธมเฮ้าส์ เมืองลอนดอนตั้งแต่เดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและกฎชัทแธมเฮ้าส์ · ดูเพิ่มเติม »

กฎบัตรสหประชาชาติ

กฎบัตรสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)คือ ข้อตกลงที่บรรดาประเทศผู้ก่อตั้งและร่วมเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติได้ให้สัตยาบันเข้าผูกพัน โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และหลักการ ตลอดจนกระบวนการดำเนินงานและบริหารงานต่างๆ ขององค์การสหประชาชาติ ถือเป็นกฎหมายระหว่างประเทศและเป็นตราสารก่อตั้งที่สถาปนาองค์การให้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ ด้วยเหตุนี้ องค์การสหประชาชาติจึงก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ซึ่งเป็นวันที่ประเทศจีน ประเทศฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา และประเทศอื่นๆ ได้มีการให้สัตยาบันต่อกฎบัตรสหประชาชาติ โดยทุกประเทศที่เป็นสมาชิกสหประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามกฎบัตรสหประชาชาติอย่างเคร่งครัด ยกเว้นเพียงแต่นครรัฐวาติกันที่เป็นประเทศผู้สังเกตการณ์ซึ่งเป็นข้อยกเว้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและกฎบัตรสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษามองโกล

กลุ่มภาษามองโกล (Mongolic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่ใช้พูดในเอเชียกลาง มีสมาชิก 13 ภาษา นักภาษาศาสตร์บางกลุ่มรวมกลุ่มภาษามองโกลเข้ากับกลุ่มภาษาตังกูสิต กลุ่มภาษาเตอร์กิก เป็นตระกูลภาษาอัลไตอิก แต่ยังไม่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือภาษามองโกเลีย ซึ่งเป็นภาษาแม่ของชาวมองโกล มีผู้พูด 5.7 ล้านคนในมองโกเลีย รัสเซียและจีน ภาษานิกูดารี ซึ่งเป็นภาษากลุ่มมองโกลที่จัดจำแนกไม่ได้ ยังคงมีผู้พูดราว 100 คนในเฮรัต อัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและกลุ่มภาษามองโกล · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษามองโกลตะวันออก

กลุ่มภาษามองโกลตะวันออก (Eastern Mongolic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่ใช้พูดในเอเชียกลาง ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นที่รู้จักดีที่สุดคือภาษามองโกเลียซึ่งเป็นภาษาของชาวมองโกล มีผู้พูดราว 5.7 ล้านคนในมองโกเลีย รัสเซียและเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ประเทศจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและกลุ่มภาษามองโกลตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอิหร่าน

การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ของผุ้พูดกลุ่มภาษาอิหร่าน กลุ่มภาษาอิหร่านเป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านที่อยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาอเวสตะถือเป็นภาษาที่เก่าที่สุดของกลุ่มนี้ที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 150 - 200 ล้านคน ภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาเปอร์เซีย (ประมาณ 70 ล้านคน) ภาษาพาซตู (ประมาณ 40 ล้านคน) ภาษาเคิร์ด (35 ล้านคน) และภาษาบาโลชิ (ประมาณ 7 ล้านคน).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและกลุ่มภาษาอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเวียตติก

กลุ่มภาษาเวียตติก หรือ กลุ่มภาษาเหวียด-เหมื่อง เป็นสาขาของภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกซึ่งรวมภาษาเวียดนามและภาษาเหมื่องไว้ในกลุ่มนี้ ภาษาเวียดนามจัดเข้าอยู่ในตระกูลออสโตรเอเชียติกเมื่อ..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและกลุ่มภาษาเวียตติก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเตอร์กิก

กลุ่มภาษาเตอร์กิกเป็นกลุ่มของภาษาที่แพร่กระจายจากยุโรปตะวันออก ผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปถึงไซบีเรียและจีนตะวันตก และจัดเป็นส่วนหนึ่งของสมมติฐานตระกูลภาษาอัลไตอิก กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 180 ล้านคน ถ้ารวมผู้ที่พูดเป็นภาษาที่สองด้วยมีราว 200 ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นผู้พูดภาษาตุรกี ซึ่งคิดเป็น 40%ของผู้พูดกลุ่มภาษานี้ทั้งหม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและกลุ่มภาษาเตอร์กิก · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยนาก

กล้วยนาก (Red bananas) เป็นสายพันธุ์ของกล้วยที่เปลือกสีแดงคล้ำ ลูกเล็กกว่ากล้วยหอมเขียว เนื้อเมื่อสุกเป็นสีเหลืองครีมหรือสีเหลืองอมชมพู นิ่มและหวานกว่ากล้วยพันธุ์อื่นในกลุ่มคาเวนดิช แหล่งปลูกอยู่ในแอฟริกาตะวันออก เอเชีย อเมริกาใต้ และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นที่นิยมในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและกล้วยนาก · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพสิงคโปร์

กองทัพสิงคโปร์ (Angkatan Tentera Malaysia-SAF,Angkatan Bersenjata Singapura-ABS, จีน: 新加坡武装部队) เป็นกองทัพในสังกัดกระทรวงกลาโหม โดยกองทัพสิงคโปร์นั้น ประกอบไปด้วยสามเหล่าทัพ คือ กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ ซึ่งมีหน้าที่ปกป้องผลประโยชน์ของอำนาจอธิปไตย และบูรณภาพดินแดนของสิงคโปร์จากภัยคุกคามภายนอก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและกองทัพสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

กัว ฟู่เฉิง

กัว ฟู่เฉิง (จีน: 郭富城, พินอิน: Guō Fùchéng) หรือชื่อภาษาอังกฤษว่า แอรอน กัว (Aaron Kwok) เกิดวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1965 ที่เมืองตงก่วน มณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีน โดยเป็นลูกชายคนสุดท้องของครอบครัว มีพี่ชาย 2 คนและพี่สาว 1 คน กัว ฟู่เฉิง เป็นนักร้อง นักแสดงของฮ่องกงที่มีชื่อเสียงโด่งดังขึ้นมาในช่วงทศวรรษที่ 90 จนได้รับการขนานนามว่าเป็น สี่จตุรเทพแห่งฮ่องกง ร่วมกับ หลิว เต๋อหัว, หลี่หมิง และจาง เซี๊ยะโหย่ว กัว ฟู่เฉิง เข้าสู่วงการบันเทิงในปี ค.ศ. 1984 จากการเป็นนักเต้นหรือแดนเซอร์ในสังกัดทีวีบี และหันไปร้องเพลงและแสดงละครที่ไต้หวันจนมีชื่อเสียง จึงกลับมาฮ่องกงอีกครั้ง สังกัดวอร์เนอร์ มิวสิก และมีผลงานโฆษณาอยู่บ่อย ๆ โดยเฉพาะกับเป๊ปซี่ (ซึ่งเคยร่วมแสดงกับ ศรีริต้า เจนเซ่น) ผลงานด้านภาพยนตร์มีบทบาทที่เป็นที่จดจำ คือ การรับบทเป็น ปู้จิ้งอวิ๋น หัวหน้าหอเมฆา ผู้ไม่เคยหลั่งน้ำตา ในภาพยนตร์กำลังภายในที่ประสบความสำเร็จอย่างยิ่ง เรื่อง The Storm Riders ในปี ค.ศ. 1998 และ The Storm Warriors ในปี ค.ศ. 2009 คู่กับ เจิ้ง อี้เจี้ยน ซึ่งทั้งคู่ก็ได้ร้องเพลงประกอบเรื่องด้วย ด้านผลงานเพลงส่วนใหญ่เป็นสไตล์แดนซ์ป็อป และยังเคยทำแนวเพลงมาหลากหลาย ไม่ว่าจะร็อกแอนด์โรล, บัลลาด, อาร์แอนด์บี, โซล, อีเลกโทรนิก และเพลงจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและกัว ฟู่เฉิง · ดูเพิ่มเติม »

กังฟูแพนด้า (แฟรนไชส์)

กังฟูแพนด้า เป็นภาพยนตร์ที่ถูกสร้างขึ้นโดยดรีมเวิร์กสแอนิเมชัน ภาพยนตร์หลัก 3 ภาค ได้แก่ กังฟูแพนด้า (2551) กังฟูแพนด้า 2 (2554) และ กังฟูแพนด้า 3 (2559) ภาพยนตร์สั้น 3 ภาค ได้แก่ ความลับของห้าผู้พิทักษ์ (2551) กังฟูแพนด้า ภาคพิเศษวันหยุด (2553) และ กังฟูแพนด้า: ความลับของปรมาจารย์กงเหมิน (2554) และซีรีส์โทรทัศน์ ได้แก่ กังฟูแพนด้า ตำนานสะท้านโลกันตร์ (2554-).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและกังฟูแพนด้า (แฟรนไชส์) · ดูเพิ่มเติม »

กันดั้มวิง

มบิลสูทกันดั้มวิง (Mobile Suit Gundam Wing) เป็นแอนิเมชันทางโทรทัศน์ความยาว 49 ตอน ออกอากาศ พ.ศ. 2538 ในประเทศไทยเคยแพร่ภาพทางสถานีโทรทัศน์ ช่อง 9 อ.ส.ม.ท. และ ยูบีซีคิดส์ ช่อง 26 (ปัจจุบันคือ ยูบีซีสปาร์ค ช่อง 28) ของสถานีเคเบิลโทรทัศน์ ยูบีซี โดยในอดีตบริษัท ไทก้า เป็นผู้ถือลิขสิทธิ์และจำหน่ายเฉพาะในรูปแบบของ วีซีดี โดยในปัจจุบันลิขสิทธิ์ได้อยู่กับทาง เด็กซ์ และจำหน่ายในรูปแบบของ วีซีดี และ ดีวีดี อีกรอบโดยยังคงใช้เสียงพากย์ของทาง ไทก้า เหมือนเดิม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและกันดั้มวิง · ดูเพิ่มเติม »

การผจญภัยของจูนิเปอร์ ลี

การผจญภัยของจูนิเปอร์ ลี (The Life and Times of Juniper Lee - ชีวิตและช่วงเวลาของจูนิเปอร์ ลี) เป็นการ์ตูนอเมริกัน สร้างโดย Judd Winick ออกฉายทางช่อง Cartoon Network ในประเทศไทยฉายผ่านทางยูบีซี ช่อง 29 ปัจจุบันเป็น ทรูวิชั่นส์ ช่อง 52 เวลา 19:30 น. ทุกวันเสาร์-อาทิตย์ ปัจจุบันได้ฉายจบเรื่องแล้ว Judd Winick เคยบอกไว้ว่าเขาแรงบันในการสร้างเรื่องนี้มาจากการผสมผสานแนวคิดของ The Simpsons กับ Buffy the Vampire Slayer.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและการผจญภัยของจูนิเปอร์ ลี · ดูเพิ่มเติม »

การถอดเสียง

การถอดเสียง หรือ การทับศัพท์แบบถ่ายเสียง (Transcription) เป็นระบบในการเขียนเสียงพูดของมนุษย์จากภาษาหนึ่ง เป็นเป็นระบบตัวอักษรในอีกภาษาหนึ่งตามกฎที่วางไว้ เพื่อให้คงเสียงของภาษาต้นฉบับ การถอดเสียงนี้จะแตกต่างกับการทับศัพท์แบบถอดอักษร ซึ่งเปลี่ยนระบบตัวอักษรจากภาษาหนึ่งไปเป็นอีกภาษาหนึ่ง เพื่อให้คงรูปของตัวอักษรมากที่สุดที่เป็นไปได้ เช่นการถอดอักษรซีริลลิกเป็นอักษรละตินสำหรับภาษารัสเซีย (เช่นชื่อ "เลนิน" ในอักษรซีริลลิก Ленин และอักษรละติน Lenin) แม้กระนั้น การถอดเสียงและการถอดอักษรบางครั้งจะถูกใช้ผสมกันซึ่งพบได้ทั่วไปสำหรับการเขียนชื่อที่มาจากภาษาอื่น มาตรฐานที่ใช้ในการทับศัพท์ได้แก่ สัทอักษรสากล และ แซมปา ตารางด้านล่าง แสดงตัวอย่างของการทับศัพท์ โดยมี การทับศัพท์แบบถอดอักษร และสัทอักษรสากลกำกั.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและการถอดเสียง · ดูเพิ่มเติม »

การถึงแก่อสัญกรรมของลี กวนยู

ในวันที่ 23 มีนาคม..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและการถึงแก่อสัญกรรมของลี กวนยู · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาจีน

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาจีนกลางนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา) ซึ่งอาจแตกต่างจากที่นักวิชาการและสื่อบางส่วนใช้อยู่บ้างเล็กน้อย โปรดดูรายละเอียดท้ายบทความ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและการทับศัพท์ภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

การทัพตามแนวชายแดนจีน-พม่า

การทัพตามแนวชายแดนจีน-พม่า (Campaign along the China-Burma Border; ภาษาจีน: 中缅边境作战) เป็นลำดับของการสู้รบระหว่างจีนคณะชาติและจีนคอมมิวนิสต์ระหว่างสงครามกลางเมืองจีนในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่เกิดขึ้นตามแนวชายแดนจีน-พม่า ซึ่งฝ่ายจีนคอมมิวนิสต์เป็นฝ่ายชนะ การทัพนี้ฝ่ายจีนคอมมิวนิสต์เรียกว่าการทัพเพื่อความปลอดภัยตามแนวชายแดนจีน-พม่า (Campaign to Provide Security for the China-Burma Border Surveying; ภาษาจีน: 中缅边境勘界警卫作战).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและการทัพตามแนวชายแดนจีน-พม่า · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก

การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit ย่อว่า EAS) เป็นการประชุมสุดยอดของผู้นำประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จำนวน 16 ประเทศ โดยมีกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นศูนย์กลาง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

การประมวลภาษาธรรมชาติ

การประมวลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing ย่อว่า NLP) เป็นสาขาย่อยของปัญญาประดิษฐ์และภาษาศาสตร์ที่ศึกษาปัญหาในการประมวลผลและใช้งานภาษาธรรมชาติ รวมทั้งการทำความเข้าใจภาษาธรรมชาติ ทั้งนี้เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจภาษามนุษย์ได้.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและการประมวลภาษาธรรมชาติ · ดูเพิ่มเติม »

การเดินทางของคิโนะ

การเดินทางของคิโนะ มีจุดเริ่มต้นจากนิยายประเภท Light Novel ซึ่งเขียนโดย เคอิจิ ซิกุซาว่า ภาพประกอบและออกแบบตัวละครโดย โคฮาคุ คุโรโบชิ ปัจจุบันนิยายเรื่องนี้ถูกแปลเป็นภาษาจีน ภาษาเกาหลี ภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน และภาษาไทย ในประเทศไทย การเดินทางของคิโนะ เคยออกฉายทางช่อง Animax ซึ่งออกอากาศผ่าน UBC มีการประกาศลิขสิทธิ์ฉบับนิยายโดยบลิส พับลิชชิ่งโดยอยู่ในหมวด J-Light เล่มที่ 1 ตีพิมพ์ครั้งแรก ตุลาคม..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและการเดินทางของคิโนะ · ดูเพิ่มเติม »

กำเนิด 12 ราศี

กำเนิด 12 ราศี (จีน: 生肖传奇, อังกฤษ: Zodiac: The Race Begins) เป็นภาพยนตร์ที่กำกับโดย Edward Fu ออกฉายในประเทศสิงคโปร์เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2549 ส่วนในประเทศไทยนั้นออกฉายวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและกำเนิด 12 ราศี · ดูเพิ่มเติม »

กิเลน

กิเลนในราชวงศ์ชิง ตั้งอยู่ ณ พระราชวังต้องห้าม กรุงปักกิ่ง - ลักษณะเขาของกิเลนใกล้เคียงกับกิเลนของทางญี่ปุ่น กิเลน (ฉีหลิน; แต้จิ๋ว: คี้ลิ้ง) และอาจสะกดเป็น Qilin, Kylin หรือ Kirin เป็นคำที่มาจากภาษาจีน ซึ่งเป็นชื่อของสัตว์ชนิดหนึ่งในเทพนิยายของจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและกิเลน · ดูเพิ่มเติม »

กุบไล ข่าน

มเด็จพระจักรพรรดิกุบไล ข่าน หรือ จักรพรรดิซื่อจูหวางตี้ หรือ จักรพรรดิซีโจ๊วฮ่องเต้ (23 กันยายน พ.ศ. 1758-1837 (ค.ศ. 1215-1294)) เป็นข่านหรือจักรพรรดิของมองโกล และยังเป็นจักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์หยวนแห่งประเทศจีน กุบไลข่านเป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิเจงกีส ข่าน พระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิมองโกลเมื่อ พ.ศ. 1803 (ค.ศ. 1260) และสถาปนาราชวงศ์หยวนเมื่อ พ.ศ. 1822 (ค.ศ. 1279) จักรวรรดิมองโกลที่เจงกีสข่านสร้างไว้ขึ้นถึงจุดสูงสุดในสมัยของกุบไล ข่าน เมื่อกุบไล ข่านสามารถเอาชนะราชวงศ์ซ่งของจีน และยึดครองกรุงปักกิ่ง ปกครองประเทศจีน กุบไลข่านยังตีได้ดินแดนต้าหลี่ (Dali - ในมณฑลยูนนานในปัจจุบัน) และเกาหลี นอกจากนี้ยังได้พยายามยึดครองดินแดนนิฮง (ญี่ปุ่น ในปัจจุบัน) และดินแดนหนานหยาง (ดินแดนแหลมสุวรรณภูมิ) ประกอบด้วย พม่า, เวียดนาม และอินโดนีเซีย แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ในยุคสมัยของกุบไล ข่าน มีนักเดินทางชาวตะวันตกมากมายเดินทางมาถึงดินแดนจีนของกุบไล ข่าน นักเดินทางที่มีชื่อเสียงคือ มาร์โคโปโล.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและกุบไล ข่าน · ดูเพิ่มเติม »

กีวี (พืช)

กีวี กีวี ภาษาจีนเรียกหมีโหวเถา เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน บริเวณลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียง นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและกีวี (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ภาษา (แก้ความกำกวม)

ษาเป็นชุดสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายเพื่อการสื่อสาร เช่น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษา (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบอนัน

ษาบอนัน (Bonan language; ออกเสียง, Baonang; ภาษาจีน 保安语 Bǎoān) เป็นภาษาในกลุ่มภาษามองโกลของชาวบอนันในประเทศจีน เมื่อ..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาบอนัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบีซู

ษาบีซู (Bisu) หรือภาษามบีซู ภาษามีซู ภาษามีบีซู ภาษาเลาเมียน เป็นภาษาที่มีผู้พูดในประเทศจีนและประเทศไทย มีผู้พูดทั้งหมดราว 3,000 คน โดยในจีนมี 2,000 คน (พ.ศ. 2542) โดยเป็นผู้ที่พูดได้ภาษาเดียว 500 คน พบบริเวณสิบสองปันนา (Xishuangbanna)ในยูนนานตะวันตกเฉียงใต้ หมู่บ้านเมงเจอ (Mengzhe) ในเขตเมงไฮ (Menghai County) ในหมู่บ้านของเขตจีงซีน (Jingxin) ฟูยัน (Fuyan) และนานยา (Nanya) ในเขตเมงเลีย (Menglian) และบางส่วนของเขตซีเมิง (Ximeng County) ในประเทศไทยมีรายงานว่าพบผู้พูดภาษานี้ราว 1,000 คน (พ.ศ. 2530) โดยกระจายอยู่ทางเหนือของจังหวัดลำปาง ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเชียงใหม่ ส่วนมากเป็นชาวเขานับถือศาสนาพื้นเมือง อัตราการรู้หนังสือภาษาแม่ต่ำกว่า 1% อัตราการรู้หนังสือภาษาที่สองต่ำกว่า 5% อาจมีผู้พูดภาษานี้อยู่ในพม่าและลาวด้วย จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า สาขา พม่า-โลโล สาขาย่อยโลโล ภาษานี้มีความใกล้เคียงกับภาษามปี ภาษาปเยนและภาษาผู้น้อย ความแตกต่างของแต่ละสำเนียงขึ้นกับอิทธิพลของภาษากลุ่มกะไดและคำยืมจากภาษาละหู่ รากศัพท์มีความคล้ายคลึงกับภาษาฮานี 36% ภาษาละหู่ 32% และภาษาลิซู 31% ผู้พูดภาษานี้ในจีนกำลังเปลี่ยนไปใช้ภาษาละหู่หรือภาษากะได ส่วนใหญ่ใช้ในหมู่ผู้ใหญ่ และเด็กใช้ภาษานี้กับผู้ใหญ่ ผู้พูดภาษานี้ในจีน 80% พูดภาษาละหู่ ภาษากะได หรือภาษาจีนได้ด้วย และมี 10% ที่พูดภาษาเหล่านี้ได้ทั้งหมดรวมทั้งภาษาฮานี การเรียงประโยคเป็นแบบประธาน-กริยา-กรรม โครงสร้างพยางค์เป็นแบบง่ายๆ มีเสียงวรรณยุกต์สามเสียง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาบีซู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพม่า

ษาพม่า หรือ ภาษาเมียนมา (MLCTS: myanma bhasa) เป็นภาษาราชการของประเทศพม่า จัดอยู่ในในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อันเป็นสาขาย่อยของตระกูลภาษา โดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่า และเป็นภาษาที่สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศบังกลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป็นภาษาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียงและเขียนโดยใช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง และจัดเป็นสมาชิกในตระกูลอักษรพราหมี รหัส ISO 639 สำหรับภาษาพม่าคือ 'my' และรหัส SIL คือ BMS.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน

ษากวางตุ้งมาตรฐาน หรือ สำเนียงกวางเจา คือสำเนียงของภาษากวางตุ้งที่เป็นที่ยอมรับให้เป็นสำเนียงมาตรฐาน ใช้เป็นภาษาราชการที่พูดกันในฮ่องกงและมาเก๊า ทั้งในรัฐบาลและการเรียนการสอนในโรงเรียน ภาษานี้เป็นภาษาประจำถิ่นของเมืองกวางเจา มณฑลกวางตุ้ง และบริเวณโดยรอบทางตอนใต้ของประเทศจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษากวางตุ้งมาตรฐาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากะเดา

ษากะเดา (Kaduo) หรือภาษากะจัว มีผู้พูดทั้งหมด 10,292 คน อยู่ในลาว 5,000 คน (พ.ศ. 2524) ทางภาคเหนือติดกับชายแดนจีน พบในจีน 5,292 คน (พ.ศ. 2543) ในยูนนานทางใต้ จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยโลโล เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา คำนามเป็นพยางค์คู่ คำอิ่นๆเป็นพยางค์เดี่ยว มีเสียงวรรณยุกต์ 8 เสียง คำยืมส่วนใหญ่มาจากภาษาจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษากะเดา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากูกอง

ษากูกอง (Kucong) หรือ ภาษาโกซุง ภาษาละห์ลู มีผู้พูดทั้งหมด 46,870 คน พบในเวียดนามทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ 6,870 คน (พ.ศ. 2550) พบในจีน 40,000 คน (พ.ศ. 2550) ในมณฑลยูนนาน ใกล้เคียงกับภาษาล่าหู่ ผู้พูดภาษานี้ในจีนกำลังลดจำนวนลง ส่วนใหญ่จะพูดภาษาจีนหรือภาษาล่าหู่ได้ด้วย จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า สาขาพม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษากูกอง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาญี่ปุ่น

ษาญี่ปุ่น (日本語) เป็นภาษาทางการของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา ได้กำหนดให้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่ง นอกจากนี้ภาษาญี่ปุ่นยังถูกใช้ในหมู่ชาวญี่ปุ่นที่ย้ายไปอยู่นอกประเทศ นักวิจัยญี่ปุ่น และนักธุรกิจต่างๆ คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้ว และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー (koffie แปลว่า กาแฟ).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาญี่ปุ่นลูกผสมอี๋หลาน

ษาญี่ปุ่นลูกผสมอี๋หลาน, คังเค หรือ ฮั่นซีอวี่ (จีนและญี่ปุ่น: 寒渓語) เป็นภาษาลูกผสมที่มีพื้นฐานจากภาษาญี่ปุ่น เคยใช้พูดบนเกาะไต้หวัน เกิดขึ้นช่วงปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาญี่ปุ่นลูกผสมอี๋หลาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายู

ษามลายู (Bahasa Melayu) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย มีผู้พูดประมาณ 200–250 ล้านคน (ณ ปี พ.ศ. 2552) โดยเป็นภาษาแม่ของผู้คนตลอดสองฟากช่องแคบมะละกา ซึ่งได้แก่ ชายฝั่งคาบสมุทรมลายูของมาเลเซียและชายฝั่งตะวันออกของเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย และได้รับการยอมรับเป็นภาษาแม่ในชายฝั่งตะวันตกของซาราวะก์และกาลีมันตันตะวันตกในเกาะบอร์เนียว นอกจากนี้ยังใช้เป็นภาษาการค้าในภาคใต้ของฟิลิปปินส์ ซึ่งได้แก่ ตอนใต้ของคาบสมุทรซัมบวงกา, กลุ่มเกาะซูลู และเมืองบาตาราซาและบาลาบัก (ซึ่งมีชาวมุสลิมอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะปาลาวัน ในฐานะที่เป็นภาษาประจำชาติ (Bahasa Kebangsaan หรือ Bahasa Nasional) ของรัฐเอกราชหลายรัฐ ภาษามลายูมาตรฐานมีชื่อทางการแตกต่างกันไป ในบรูไนและสิงคโปร์เรียกว่า "ภาษามลายู" (Bahasa Melayu) ในมาเลเซียเรียกว่า "ภาษามาเลเซีย" (Bahasa Malaysia) และในอินโดนีเซียเรียกว่า "ภาษาอินโดนีเซีย" (Bahasa Indonesia) อย่างไรก็ตาม ในหลายพื้นที่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะสุมาตราที่ซึ่งภาษามลายูเป็นภาษาพื้นเมือง ชาวอินโดนีเซียจะเรียกภาษานี้ว่า "ภาษามลายู" และมองว่าเป็นภาษาหนึ่งในบรรดาภาษาประจำภูมิภาคของตน ภาษามลายูมาตรฐาน (หรือที่เรียกว่าภาษามลายูราชสำนัก) เคยเป็นวิธภาษามาตรฐานในวรรณกรรมของรัฐสุลต่านมะละกาและยะโฮร์สมัยก่อนอาณานิคม ดังนั้น บางครั้งจึงเรียกว่าภาษานี้ว่าภาษามลายูมะละกา, ภาษามลายูยะโฮร์ หรือภาษามลายูเรียว (หรือชื่ออื่น ๆ ที่ใช้ชื่อเหล่านี้ประกอบกัน) เพื่อแยกให้แตกต่างกับภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาในกลุ่มภาษามลายู จากข้อมูลของเอ็ทนอล็อก (Ethnologue) วิธภาษามลายูต่าง ๆ ซึ่งในปัจจุบันมีรายชื่อเป็นภาษาแยกต่างหาก (รวมถึงวิธภาษาโอรังอัซลีในมาเลเซียตะวันตก) มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับภาษามลายูมาตรฐานมากจนอาจพิสูจน์ได้ว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีภาษามลายูการค้าและภาษาครีโอล (creole) จากภาษามลายูอีกจำนวนมากซึ่งมีพื้นฐานจากภาษากลางที่พัฒนามาจากภาษามลายูตามแบบแผนดั้งเดิม เช่นเดียวกับภาษามลายูมากัสซาร์ซึ่งปรากฏว่าเป็นภาษาผสม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษามลายู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายูปัตตานี

ษามลายูปัตตานี หรือ ภาษามลายูปาตานี (มลายูปัตตานี: บาซอ 'นายู 'ตานิง; Bahasa Melayu Patani, อักษรยาวี: بهاس ملاي ڤطاني) หรือนิยมเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า ภาษายาวี (อักษรยาวี: بهاس جاوي) เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียนที่พูดโดยชาวไทยเชื้อสายมลายูในจังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา รวมทั้งในอำเภอนาทวี อำเภอจะนะ อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย ทางทิศตะวันออกของจังหวัดสงขลา (ไม่รวมจังหวัดสตูล) ในประเทศไทยมีประชากรที่พูดภาษานี้มากกว่า 1 ล้านคน ภาษานี้ใกล้เคียงมากกับภาษามลายูถิ่นในรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็นภาษาถิ่นที่แตกต่างจากส่วนที่เหลือของประเทศมาเลเซีย บางครั้งก็มีการเรียกรวมเป็นภาษาเดียวกันว่า "ภาษามลายูกลันตัน-ปัตตานี".

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษามลายูปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามองโกเลีย

ษามองโกเลีย เป็นภาษาทางการของประเทศมองโกเลีย และเป็นภาษาหลักของชาวมองโกเลียส่วนใหญ่ ซึ่งคนพูดส่วนใหญ่จะพูดแบบคอลคา (Khalkha) นอกจากนี้ ภาษามองโกเลียก็พูดในพื้นที่รอบนอกในบางมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหพันธรัฐรัสเซีย ภาษามองโกเลีย เป็นภาษารูปคำติดต่อคล้ายภาษาตุรกีหรือภาษาฟินน์ มีการเติมปัจจัยที่รากศัพท์ ภาษามองโกเลียมีเพียงสรรพนามบุรุษที่หนึ่งและสอง แต่ไม่มีบุรุษที่สาม แต่ใช้สรรพนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ (en) นั่น (ter) นี่ทั้งหลาย (ed nar) และนั่นทั้งหลาย (ted nar) แทน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษามองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามองเกอร์

ษามองเกอร์ (Monguor language; ภาษาจีน: 土族语; พินยิน: Tǔzúyǔ) เป็นกลุ่มภาษามองโกล มีหลายสำเนียง พูดโดยชาวมองเกอร์ มีระบบการเขียนที่พัฒนามาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 25 แต่ปัจจุบันใช้น้อย ภาษานี้แบ่งได้เป็นสองภาษาคือภาษามองคุล (Mongghul) ในเขตปกครองตนเองฮูซูและตู (Huzhu Tu Autonomous County) ซึ่งได้รับอิทธิพลจากภาษาทิเบต และภาษามังเคอร์ (Mangghuer) ในเขตปกครองตนเองมิเญ ฮุยและตู (Minhe Hui and Tu Autonomous County) ซึ่งได้รับอิทธิพลจากภาษาจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษามองเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลันนัง

ษาลันนัง(咱人話, หรือ 咱儂話), หรือ 'Lan-nang-oé', เป็นสำเนียงของภาษาจีนฮกเกี้ยนในฟิลิปปินส์ ชื่อ lan-nang-oé หมายถึง ' ภาษา (oé)ของประชาชน (lâng) ของเรา (lán) ' เป็นสำเนียงแม่ของสำเนียงเซียแมนหรืออมอย ใช้พูดในชุมชนชาวจีนในฟิลิปปินส์ ได้รับอิทธิพลจากภาษาตากาล็อก ภาษาสเปน และภาษาจีนกวางตุ้ง มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 592,200 คนหรือ 98.5% ของชาวจีนในฟิลิปปินส์ทั้งหม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาลันนัง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาชิ

ษาลาชิ (Lachi) มีผู้พูดทั้งหมด 7,920 - 9,016 คน (พ.ศ. 2543) อยู่ในเวียดนามตามแนวชายแดนจีน 7,860 คน (พ.ศ. 2533) รวมภาษาลาชิดำ 2,500 คน และภาษาลาชิผมยาว 4,500 คน มีผู้พูดในจีนราว 60 คน (พ.ศ. 2543) และยังมีภาษาลาชิขาวในเวียดนามอีกประมาณ 1,6000 คนและกำลังลดจำนวนลง จัดอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได ภาษากลุ่มกะได สาขาเก-ชิ ส่วนใหญ่จะพูดภาษาจ้วง ภาษาแม้ว และภาษาจีนได้ด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาลาชิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาฮู

ษาลาฮู (Lahu) หรือภาษาลาหู่ หรือภาษามูเซออยู่ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยโลโล มีผู้พูดทั้งหมด 577,178 คน พบในจีน 411,476 คน (พ.ศ. 2533) ในเขตปกครองตัวเองลานชาง ลาฮู ทางตะวันตกเฉียงใต้ของยูนนาน เป็นภาษาที่มีผู้พูดมากในจีน ชนบางกลุ่มใช้ภาษาลาฮูเป็นภาษาที่สอง ส่วนใหญ่เข้าใจภาษาจีน บางส่วนใช้ภาษาไทลื้อ ภาษาอาข่า ภาษาบลัง ภาษาว้า หรือภาษายิเป็นภาษาที่สอง พบในลาว 8,702 คน (พ.ศ. 2538) ในบ่อแก้ว พบในพม่า 125,000 คน (พ.ศ. 2536) ในรัฐฉาน พบในไทย 32,000 คน (พ.ศ. 2544) ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำปาง ตาก มีหลายสำเนียงคือ ภาษามูเซอดำ มูเซอแดง มูเซอดำเบเล มูเซอเหลืองบาเกียว มูเซอเหลืองบ้านลาน ชาวมูเซอไม่นิยมเรียนภาษาอื่น ในคณะที่คนพูดภาษาอื่นหลายเผ่าเรียนภาษามูเซอ ทำให้ภาษามูเซอเป็นภาษากลางในเขตภูเขาของจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย พบในเวียดนาม 6,874 คน (พ.ศ. 2542) ตามแนวชายแดนลาวทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาลาฮู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลีสู่

ษาลีซอ หรือ ลีสู่ (Lisu)หรือภาษาโยบิน ภาษาเยายิน มีผู้พูดทั้งหมด 723,000 คน พบในจีน 580,000 คน (พ.ศ. 2542) ในจำนวนนี้พูดได้ภาษาเดียว 467,869 คน ในยูนนานตะวันตก พบในอินเดีย 1,000 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐอรุณาจัลประเทศ พบในพม่า 126,000 (พ.ศ. 2530) ในรัฐว้า ชายแดนติดกับรัฐอัสสัมของอินเดียหรือในรัฐฉาน พบในไทย 16,000 คน (พ.ศ. 2536) ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ตาก สุโขทัย กำแพงเพชร บางส่วนอพยพมาจากพม่า จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยโลโล มีหลายสำเนียงแต่ความแตกต่างระหว่างสำเนียงมีไม่มาก ในจีนเป็นภาษาที่ใช้ในทางศาสนาคริสต์ การปกครองและในโรงเรียน ส่วนใหญ่พูดภาษาจีนได้ด้วย ในจำนวนนี้มี 150,000 คนสามารถพูดภาษาไป๋ ภาษาทิเบต ภาษาน่าซี ภาษาไทลื้อ หรือภาษาจิงผ่อได้ด้วย เขียนด้วยอักษรโรมัน หรืออักษรฟราเซอร์ เป็นภาษาพูดของชาวลีซอ มีสามสำเนียงคือ หัว ไป่ และลู ใกล้เคียงกับภาษาลาฮูและภาษาอาข่า และมีความสัมพันธ์กับภาษาพม่า ภาษาจิงผ่อ และภาษ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาลีสู่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสุ่ย

ษาสุ่ย(Sui) หรือภาษาสวี หรือภาษาอ้ายสุ่ย (ภาษาจีน: 水語) พูดโดยชาวสุ่ยในมณฑลกุ้ยโจว ประเทศจีน มีผู้พูดทั้งหมด 406,902 คน พบในจีน 200,000 คน (พ.ศ. 2542) ในมณฑลกวางสี และทางตะวันออกเฉียงเหนือของมณฑลยูนนาน โดยมีถึง 100,000 คนที่พูดได้เพียงภาษาเดียว พบในเวียดนาม 120 คน (พ.ศ. 2545) ทางภาคเหนือ จัดอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มภาษาคำ-ไต สาขาเบ-ไต สาขาย่อยไต-แสก ภาษานี้มีระบบพยัญชนะซับซ้อน สำเนียงซานดองมีเสียงพยัญชนะถึง 70 เสียง มีอักษรเป็นของตนเองเรียก ชุยชู มีการใช้มากในเขตปกครองตนเอง ใช้ภาษาจีนกลางเป็นภาษาที่สอง การเขียนใช้ภาษาจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาสุ่ย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาหมิ่นกลาง

ภาษาหมิ่นกลาง หรือภาษาหมิ่นจง (Min Zhong;จีนตัวย่อ: 闽中; จีนตัวเต็ม: 閩中;พินยิน: Mǐnzhōng) เป็นสำเนียงของภาษาจีนหมิ่น ใช้พูดในบริเวณหย่งอัน ซานมิงและซาในภาคกลางของมณฑลฝูเจี้ยน ผู้ที่พูดเป็นภาษาแม่คาดว่ามีประมาณ 3,500,000 คน หมวดหมู่:ภาษาในประเทศจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาหมิ่นกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาหมิ่นผูเซียน

ษาหมิ่นผูเซียน (Puxian Min; อักษรจีนตัวย่อ: 莆仙话; อักษรจีนตัวเต็ม: 莆仙話; พินอิน: Púxiān huà) เป็นสาขาหนึ่งของภาษาจีนหมิ่น คำว่าผูเซียนเป็นการรวมกันของชื่อเมืองสองเมืองคือเมืองผูเทียน (莆田市) และเมืองเซียนโยว (仙游县) ส่วนใหญ่ใช้พูดในมณฑลฝูเจี้ยน และมีประชาชนมากกว่า 2000 คนพูดภาษานี้ในชาเฉิง เมืองฟูติง (福鼎) ทางเหนือของฝูเจี้ยน มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยระหว่างภาษาในเมืองผูเทียนและเซียนโยว มีชาวจีนโพ้นทะเลที่พูดภาษาจีนหมิ่นสำเนียงนี้ในมาเลเซียและสิงคโปร์ ซึ่งเรียกว่าซิงฮว่า (อักษรจีนตัวย่อ: 兴化; อักษรจีนตัวเต็ม: 興化; พินอิน: Xīnghuà).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาหมิ่นผูเซียน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาหมิ่นตะวันออก

ภาษาหมิ่นตะวันออก หรือ ภาษาหมิ่นตง เป็นภาษาที่ใช้พูดในทางตะวันออกของมณฑลฝูเจี้ยน โดยเฉพาะในฝูโจว สำเนียงฝูโจวเป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาหมิ่นตะวันออก หมิ่นตะวันออก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาหมิ่นตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาหมิ่นใต้

ษาหมิ่นใต้, ภาษาหมิ่นหนาน เป็นสำเนียงของภาษาจีน ใช้พูดทางใต้ ของมณฑลฝูเจี้ยน และบริเวณใกล้เคียง และโดยลูกหลานของผู้อพยพจากบริเวณนี้เข้าไปยังบริเวณอื่นๆทั่วโลก โดยทั่วไปภาษาหมิ่นใต้เป็นชื่อเรียกโดยชาวจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำเนียงหนึ่งในภาษานี้เรียกภาษาไต้หวัน อยู่ในกลุ่มภาษาหมิ่น ของภาษาจีน โดยปกติไม่สามารถเข้าใจกันได้กับภาษาหมิ่นตะวันออก ภาษาจีนกวางตุ้ง และภาษาจีนกลาง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาหมิ่นใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน

ษาหมิ่นใต้มาตรฐาน หรือ ภาษาฮกเกี้ยน (ภาษาหมิ่นใต้:福建話, ภาษาจีน:泉漳話) เป็นภาษาหมิ่นใต้ที่มีจำนวนผู้ใช้มากที่สุด มักจะใช้เรียกแทนภาษาหมิ่นใต้ ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐานมีแหล่งต้นกำเนิดมาจากจังหวัดจงาจิว, เจียงจิวและจังหวัดเอ้หมึงในมณทฑฝูเจี้ยน นอกไปจากนี้ยังมีจำนวนผู้ใช้จำนวนมากในประเทศไต้หวัน, สิงคโปร์ และประเทศฟิลิปปินส์บางส่วน ภาษาหมิ่นใต้ถิ่นนี้ ประเทศไต้หวันเรียกว่า ไต้อี๊ (อักษรจีน:臺語) ในเอเชียตะวันออกเฉียงไต้เรียกว่า ฮกเกี้ยนเอ (ป๋ายเอ๋ยี๋:Hok-kiàn-ōe) ส่วนจีนกลางเรียกว่า เฉวียนจางฮว่า (泉漳話) เพื่อป้องกันการสับสนกับภาษาฟุกจิว (อักษรจีน:福州話).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาหมิ่นเหนือ

ษาหมิ่นเหนือ หรือ ภาษาหมิ่นเป่ย์ (Min-Bei; จีนตัวย่อ: 闽北; จีนตัวเต็ม閩北;พินยิน: Mǐnběi) เป็นสำเนียงของภาษาจีนหมิ่นที่พูดในหนานปิงทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลฝูเจี้ยน ภาษาจีนในมณฑลฝูเจี้ยนแบ่งเป็นสองสำเนียงคือภาษาหมิ่นเหนือกับภาษาหมิ่นใต้หรือภาษาจีนฮกเกี้ยน แต่ในปัจจุบัน ภาษาจีนหมิ่นถูกแบ่งละเอียดกว่านี้มาก ในการแบ่งอยางแคบ สำเนียงย่อยของภาษาหมิ่นเหนือได้แก่ Shibei, Chong'an, Xingtian, Wufu, Zhenghe, Zhengqian, Jianyang และ Jian'ou สำเนียงที่อยู่ทางตะวันออกของหนานปิงแยกเป็นอีกสำเนียงหนึ่งของภาษาจีนหมิ่น เรียกภาษาหมิ่นเซาเจียง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาหมิ่นเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาออร์ดอส

ษาออร์ดอส (Ordos หรือ Urdus; ภาษามองโกเลีย: ᠣᠷᠳᠣᠰ; ภาษาจีน: 鄂尔多斯 È'ěrduōsī) เป็นสำเนียงของภาษามองโกเลียที่ใช้พูดในเมืองออร์ดอส ในมองโกเลียใน บางครั้งจัดให้เป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษามองโกล หรือจัดให้เป็นสำเนียงของภาษามองโกเลียมาตรฐานทางใต้ ระบบหน่วยเสียงสระของภาษาออร์ดอสในคำขึ้นต้นพยางค์คล้ายกับภาษามองโกเลียจักคาร์ โดยต่างกันที่ใช้ และ แทนที่ และ ในสำเนียงทางใต้ *ɔ จะรวมไปเป็น /ʊ/ เช่น ɔrtɔs กลายเป็น ʊrtʊs ส่วนสำเนียงของภาษามองโกเลียอื่นๆจะรักษาความแตกต่างไว้ได้ ส่วนพยางค์ที่ตามมารวมทั้งคำที่ลงท้ายด้วยพยางค์เปิด มีความคล้ายคลึงกับภาษามองโกเลียกลาง รากศัพท์ของภาษาออร์ดอสเป็นเช่นเดียว กับภาษามองโกเลียอื่นๆ โดยมีคำยืมจากภาษาจีนและภาษาทิเบต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาออร์ดอส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอะชาง

ษาอะชาง (Achang language) หรือภาษาโงชาง ภาษาไมง์ถา มีผู้พูดทั้งหมด 62,700 คน พบในจีน 27,700 คน (พ.ศ. 2533) ในเขตปกครองตนเองไต-จิ่งโป่ทางตะวันตกของยูนนาน ตามแนวชายแดนจีน-พม่า มีผู้พูดในพม่า 35,000 คน (พ.ศ. 2550) ในรัฐกะฉิ่น ทางตะวันออกของแม่น้ำอิรวดี ใกล้แนวชายแดน และบางส่วนในภาคเหนือของรัฐฉาน จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยพม่า ผู้พูดบางสำเนียงในจีนเปลี่ยนไปใช้ภาษาจีน ผู้พูดภาษานี้ส่วนมากเป็นผู้ใหญ่ พูดภาษาจีนและภาษาไทเหนือได้ด้วย เขียนด้วยอักษรละติน เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา มีเสียงวรรณยุกต์สี่เสียง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาอะชาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหม

ษาอาหม (Ahom language) เป็นหนึ่งในกลุ่มภาษาย่อยไทพายัพ ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มกัม-ไท, เบ-ไท, ไท-แสก อยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได ภาษาอาหมนั้นมีอักษร และถ้อยคำของตนใช้สื่อสารทั้งพูดและเขียนมาอย่างต่อเนื่อง แต่ชาวอาหมในปัจจุบันนั้นหันไปใช้ภาษาอัสสัมซึ่งอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียนแล้ว อย่างไรก็ตาม ถ้อยคำที่บันทึกจารึกไว้ในคัมภีร์ในบทสวดในพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ก็แสดงให้เห็นว่านักบวชชาวไทอาหมยังใช้ภาษาไทได้อย่างสมบูรณ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาอาหม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอินโดนีเซีย

ษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia; Indonesian language) เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตในหลายด้าน เริ่มต้นด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่พูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วนน้อยที่พูดเป็นภาษาแม่ในบางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2488 และเป็นภาษาที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากเกิดคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น ๆ อยู่ตลอด ชื่อท้องถิ่นของภาษาอินโดนีเซียคือ บาฮาซาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) และชื่อนี้ก็นำมาใช้ในภาษาอังกฤษในบางโอก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอุยกูร์

ษาอุยกูร์ เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก พูดโดยชาวอุยกูร์ในเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ประเทศจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาอุยกูร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอู๋

การกระจายตัวของผู้พูดภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาอู๋ (吳方言 พินอิน wú fāng yán; 吳語 พินอิน wú yǔ) เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาจีน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในมณฑลเจียงซี นครเซี่ยงไฮ้ ทางใต้ของเจียงซู และบางส่วนในอันฮุย เจียงสีและ ฝูเจี้ยน มีผู้พูด 87 ล้านคน (เมื่อปี พ.ศ. 2534) โครงสร้างประโยคส่วนใหญ่เป็นแบบ ประธาน-กรรม-กริยา โดยมีโครงสร้างประโยคเช่นนี้มากกว่าภาษาจีนกลาง และภาษาจีนกวางตุ้ง ภาษาอู๋มีหลายสำเนียง โดยสำเนียงที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือสำเนียงเซี่ยงไฮ้หรือภาษาเซี่ยงไฮ้.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาอู๋ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮินดี

ษาฮินดีเป็นภาษาที่พูด ส่วนใหญ่ในประเทศอินเดียเหนือและกลาง เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน อยู่ในกลุ่มย่อย อินโด-อิหร่าน มีวิวัฒนาการมาจากภาษาปรากฤต ในสาขาอินโด-อารยันกลาง ของยุคกลาง และมีวิวัฒนาการทางอ้อมจากภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดีได้นำคำศัพท์ชั้นสูงส่วนใหญ่มาจากภาษาสันสกฤต นอกจากนี้ เนื่องจากอิทธิพลของชาวมุสลิมในอินเดียเหนือ ภาษาฮินดียังมีคำที่ยืมมาจากภาษาเปอร์เซีย ภาษาอาหรับ และ ภาษาตุรกี เป็นจำนวนมาก และในที่สุดได้ก่อให้เกิดภาษาอูรดูขึ้น สำหรับภาษา"ฮินดีมาตรฐาน" หรือ "ฮินดีแท้" นั้น มีใช้เฉพะการสื่อสารที่เป็นทางการ ขณะที่ภาษาซึ่งใช้ในชีวิตประจำวันในพื้นที่ส่วนใหญ่นั้น ถือว่าเป็นหนึ่งในภาษาถิ่นย่อย ของภาษาฮินดูสตานี ในแง่ความสัมพันธ์ทางภาษาศาสตร์นั้น ภาษาฮินดีและภาษาอูรดู ถือว่าเป็นภาษาเดียวกัน แตกต่างตรงที่ ภาษาฮินดีนั้นเขียนด้วยอักษรเทวนาครี (Devanāgarī) ขณะที่ภาษาอูรดูนั้น เขียนด้วยอักษรเปอร์เซียและอาหรั.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาฮินดี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนกลาง

ษาจีนกลาง (จีนตัวเต็ม: 官話, จีนตัวย่อ: 官话, พินอิน: Guānhuà, ภาษาอังกฤษ: Mandarin) เป็นภาษาหลักของภาษาจีนและเป็น 1 ใน 6 ของภาษาราชการของสหประชาชาติ ในปัจจุบันมีผู้ใช้มากกว่า 800 ล้านคนทั่วโลก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาจีนกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน

ษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน หรือ ภาษาจีนไถวาน เป็นภาษาจีนที่กลายร่างมาจากภาษาจีนมาตรฐานแต่มีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยเป็นภาษาทางการในเกาะไต้หวัน ภาษานี้เป็นที่รู้จักในคนท้องถิ่นว่า 國語 (กว๋อยวี่) ซึ่งภาษาจีนมาตรฐานก็ได้รับการเปลี่ยนแปลงมาจากภาษาจีนกลางสำเนียงปักกิ่งอีกที กว๋อยวี่ แทบจะมีระบบการพูดและการเขียนเหมือนกับภาษาจีนมาตรฐานแทบทั้งสิ้น ซึ่งภาษาจีนมาตรฐานเรียกว่า 普通话 (ผู่ทงฮว่า) แต่อย่างไรก็ตามภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวันก็ได้รับคำศัพท์, ไวทยากรณ์ และการออกเสียง ที่ผิดเพี้ยนไปจากภาษาจีนมาตรฐานเล็กน้อย ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากภาษาไต้หวัน (臺灣閩南語) และภาษาฮักกา (客家話) ซึ่งเป็นภาษาแม่ของพลเมืองเกาะนี้จำนวน 70% และ 14% ตามลำดั.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนกวางตุ้ง

ษาจีนกวางตุ้ง (ชาวจีนเรียกว่า 粵 เยฺว่ Yuè หรือ ยฺหวืด Jyut6) เป็นหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บริเวณมณฑลแถบตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่ มณฑลกวางตุ้ง เขตบริหารพิเศษฮ่องกง มาเก๊า และยังใช้มากในหมู่ของชาวจีนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับเหล่าชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลกที่อพยพไปจากมณฑลกวางตุ้งอีกด้วย โดยที่สำเนียงกวางเจาจัดเป็นสำเนียงกลางของภาษาจีนกวางตุ้ง มีผู้พูดทั่วโลกราวๆ 71 ล้านคน ซึ่งภาษากวางตุ้งจัดได้ว่าเป็นภาษาถิ่นอันดับหนึ่งของจีนที่คนพูดมากที่สุด และเป็นภาษาที่ใช้ทางการเป็นอันดับสอง รองลงมาจากภาษาจีนกลางที่เป็นภาษาราชการหลักของประเท.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาจีนกวางตุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนกั้น

กั้น (赣语) คือหนึ่งในภาษาของตระกูลกลุ่มภาษาจีน มีผู้พูด 31 ล้านคนในมณฑลหูหนาน เสฉวน มณฑลหูหนาน และมณฑลเจียงซี แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือภาษาเซียงโบราณ และภาษาเซียงสมัยใหม่ที่มีอิทธิพลในภาษาจีนกลางมาก การกระจายตัวของผู้พูดภาษาจีนสำเนียงต่าง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาจีนกั้น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนหมิ่น

แผนที่แสดงสำเนียงหลักของภาษาจีนหมิ่น ภาษาหมิ่น เป็นหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน พูดทางตะวันออกเฉียงใต้ ของมณฑลฝูเจี้ยน และผู้ที่อพยพไปมณฑลกวางตุ้ง หูหนาน และไต้หวัน แบ่งย่อยได้เป็น ภาษาหมิ่นเหนือ (Min Bei) ภาษาหมิ่นใต้หรือภาษาจีนฮกเกี้ยน(Min nan) และสำเนียงอื่นๆ เป็นภาษาหลักของชาวจีน ในฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาจีนหมิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนฮกเกี้ยนสำเนียงไต้หวัน

ษาจีนฮกเกี้ยนสำเนียงไต้หวัน (Taiwanese Hokkien) หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า ภาษาไต้หวัน (Taiwanese;; ไต้หวัน: Tâi-oân-oē; หรือ; ไต้หวัน: Tâi-gí) เป็นภาษาจีนสำเนียงฮกเกี้ยนซึ่งใช้โดยราว ๆ ร้อยละเจ็ดสิบของประชากรในสาธารณรัฐจีน (ประเทศไต้หวัน) จัดเป็นสำเนียงย่อยของภาษาจีนฮกเกี้ยนที่เรียก ฮกโล (Hoklo) และเป็นภาษาประจำชาติไต้หวัน อย่างไรก็ดี ภาษาราชการของสาธารณรัฐจีน คือ ภาษาจีนสำเนียงกลางซึ่งใช้รูปแบบการเขียนแตกต่างจากสำเนียงกลางของสาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) เพราะชาวไต้หวันยังใช้ตัวอักษรจีนดั้งเดิมซึ่งเรียก อักษรจีนตัวเต็ม (Traditional Chinese) ส่วนจีนแผ่นดินใหญ่ปรับปรุงระบบตัวอักษรให้เขียนง่ายขึ้นเรียก อักษรจีนตัวย่อ (Simplified Chinese).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาจีนฮกเกี้ยนสำเนียงไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนผิง

ษาจีนผิงหรือภาษาผิงกั่ว หรือภาษากวางสี หนานหนิง เป็นสำเนียงของภาษาจีนที่ใช้พูดในเขตปกครองตนเองกวางสี-จ้วง และบางส่วนในมณฑลหูหนาน เคยจัดให้อยู่กลุ่มเดียวกับภาษาจีนกวางตุ้ง ในยุคที่มีการแบ่งภาษาจีนเป็น 7 สำเนียง ภาษาผิงกั่วที่มีผู้พูด 2 ล้านคน ไม่ได้ถูกแบ่ง เพิ่งปรากฏเมื่อมีการแบ่งภาษาจีนออกเป็น 10 สำเนียง ภาษาผิงกั่วถูกจัดให้อยู่ในภาษาจีนกวางตุ้ง แต่ชาวพื้นเมืองในหนานหนิงถือว่าเป็นคนละสำเนียงกัน โดยถือว่าในบริเวณนั้นมีสี่ภาษาคือ ภาษาจีนกวางตุ้ง ภาษาผิงกั่ว ภาษาจีนกลางและภาษาจ้วง แต่นักวิชาการบางกลุ่มยังจัดให้เป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาจีนกวางตุ้ง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาจีนผิง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทาจิก

ษาทาจิก (Tajik Persian หรือ Tajik language หรือ Tajiki;Tadjik หรือ Tadzhik;,อักษรอาหรับเปอร์เซีย تاجیکی‎, tojikī โทจิกิ),тоҷикӣ) เป็นรูปแบบสมัยใหม่แบบหนึ่งของภาษาเปอร์เซีย ที่พูดในเอเชียกลาง เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ใน กลุ่มภาษาอิเรเนียน คนที่พูดภาษาทาจิกส่วนใหญ่อาศัยในประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน และตะวันตกของปากีสถาน แต่ผู้พูดภาษาทาจิกประมาณ 30,000 คน ใกล้ชายแดนประเทศทาจิกิสถานในประเทศจีน) เป็นภาษาราชการของประเทศทาจิกิสถาน ภาษาทาจิก ที่เป็นภาษาราชการของทาจิกิสถาน ต่างจากภาษาเปอร์เซียที่ใช้พูดในอิหร่านและอัฟกานิสถาน ซึ่งเป็นผลมาจากการแบ่งแยกดินแดนทางการเมือง การแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์และการจัดมาตรฐานทางภาษา รวมทั้งอิทธิพลของภาษารัสเซียและภาษากลุ่มเตอร์กิกที่อยู่รอบๆ มาตรฐานของภาษานี้ยึดตามสำเนียงตะวันตกเฉียงเหนือของทาจิกิสถานซึ่งเป็นเมืองเก่าของซามาร์คันฑ์ และได้รับอิทธิพลจากภาษาอุซเบกด้วย ภาษาทาจิกมีหน่วยคำในคำศัพท์ การออกเสียงและไวยากรณ์ซึ่งไม่มีในภาษาเปอร์เซียที่พูดในที่อื่น ซึ่งน่าจะเป็นมาจากการที่ถูกแบ่งแยกโดยภูมิศาสตร์เขตเทือกเขาของเอเชียกลาง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาทาจิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทซัต

ษาทซัต หรือภาษาอุตซัต ภาษาฮุยฮุย ภาษาฮุย หรือภาษาจามไหหนาน เป็นภาษาที่ใช้พูดบนเกาะไหหลำ ประเทศจีน โดยชาวอุตซุล อยู่ในตระกูลออสโตรนีเซียน สาขามาลาโย-โพลีเนเซีย ใกล้เคียงกับภาษาจาม ที่ใช้พูดในเวียดนามปัจจุบัน ภาษานี้เป็นภาษาเดียวในสาขามาลาโย-โพลีเนเซียที่มีเสียงวรรณยุกต์ ซึ่งน่าจะเป็นผลจากการติดต่อกับผู้พูดภาษาจีนและภาษาไหลหรือหลีในเกาะไหหลำ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาทซัต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาดุงกาน

ษาดุงกาน (ดุงกาน: Хуэйзў йүян Xuejzw jyian, Дунганский Язык Dunganskij jazyk) เป็นภาษาตระกูลจีน-ทิเบต ใช้พูดโดยชาวดุงกานหรือชาวหุยในเอเชียกลาง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาดุงกาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาซาร์

ษาคาซาร์ เป็นภาษาที่พูดโดยเผ่าคาร์ซาร์ในเอเชียกลางในยุคกลาง อยู่ในภาษากลุ่มเตอร์กิก ใกล้เคียงกับภาษาฮั่น มีข้อโต้แย้งกันมากว่าภาษาคาซาร์ควรอยู่ในสาขาใดของภาษากลุ่มเตอร์กิกถ้าจะจัดให้อยู่ในกลุ่มนี้ บางคนเสนอว่าน่าจะจัดให้อยู่ในภาษากลุ่มอิหร่านหรือภาษากลุ่มคอเคเซียน อาจได้รับอิทธิพลจากภาษาเตอร์กิกโบราณและภาษาอุยกูร์ นักวิชาการอาหรับในยุคกลางจำแนกให้ภาษาคาซาร์คล้ายกับภาษาของชาวเติร์กเช่น ภาษาโอคุซ นอกจากนั้นภาษาคาซาร์และภาษากลุ่มโอคุซมีความใกล้เคียงกับภาษาอื่น เพราะภาษาบัลการ์อาจได้รับอิทธิพลจากภาษาเตอร์กิกโบราณและภาษาอุยกูร์ นักวิชาการปัจจุบันได้ตั้งสมมติฐานโอคุซโดยสันนิษฐานว่าภาษาคาซาร์มีจุดกำเนิดจากยุคของกอกเติร์ก ซึ่งเป็นไปได้ว่าภาษาเตอร์กิกโบราณแบบของกอกเติร์กมีการใช้เป็นภาษาทางการในช่วงต้นของประวัติภาษาคาซาร์แต่ไม่มีหลักฐานเหลืออยู่ จารึกอักษรออร์คอน ที่ใช้เขียนภาษาคาซาร์ ตัวอย่างของภาษาคาซาร์ที่เหลืออยู่ในปัจจุบันมีน้อยมาก ส่วนใหญ่เป็นชื่อที่ยังเหลืออยู่ในเอกสารทางประวัติศาสตร์ที่เหลืออยู่ในภาษาฮีบรู ภาษาคาซาร์ที่เหลืออยู่เป็นข้อความที่เขียนด้วยอักษรรูนส์แบบเตอร์กิก แต่ก็ยังพบภาษาคาซาร์ที่เขียนด้วยอักษรซีริลลิก อักษรกรีก อักษรฮีบรู อักษรละติน อักษรอาหรับหรืออักษรจอร์เจียในชุมชนที่ต่างกัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาคาซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตันกัต

漢合時掌中珠 ภาษาตันกัต หรือภาษาซิเซีย เป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าโบราณใช้พูดในจักรวรรดิตันกัต มีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบต ภาษาพม่า และอาจมีความใกล้เคียงกับภาษาจีนด้วย เป็นภาษาราชการในจักรวรรดิตันกัต (ภาษาจีนเรียก ซิเซีย 西夏) ซึ่งเป็นอิสระในสมัยราชวงศ์ซ้องเมื่อราว..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาตันกัต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตากาล็อก

ษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีตี ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาษากลางภายในประเทศ มีผู้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากกว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาตากาล็อก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตงเซียง

ษาซานตา (Santa language) หรือภาษาตงเซียง (Dongxiang;ภาษาจีน: 东乡语) เป็นภาษากลุ่มมองโกลที่ใช้พูดโดยชาวตงเซียงในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีน ภาษาตงเซียงไม่มีการเปลี่ยนเสียงสระและไม่มีความต่างของความยาวเสียงสร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาตงเซียง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซาลาร์

ษาซาลาร์เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก พูดโดยชาวซาลาร์ที่อยู่ในมณฑลชิงไห่ และกานซูในประเทศจีน มีอยู่ในเมืองกุลจา (Ghulja) ในเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ด้วย ชาวซาลาร์มีประมาณ 90,000 คน โดยพูดภาษาซาลาร์ 70,000 คน ที่เหลือพูดภาษาจีน ชาวซาลาร์อพยพเข้ามาอยู่ในบริเวณที่อยู่ปัจจุบันเมื่อราว..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาซาลาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซิเบ

ษาซิเบ หรือ ภาษาซิโบ เป็นภาษากลุ่มตังกูสิต พูดโดยชาวซิเบในมณฑลซินเจียง เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาแมนจูมาก ที่ต่างไปคือภาษาซิเบมีสระ 8 เสียง ส่วนภาษาแมนจูมีสระ 6 เสียง ภาษาซิเบมีการรวมเสียงสระมากกว่า และมีคำยืมจากภาษาจีนน้อยกว่าภาษาแมนจู มีอักษรเป็นของตนเองคืออักษรซิเบซึ่งใกล้เคียงกับอักษรแมนจู ภาษาซิเบใช้สอนเป็นภาษาที่สองในวิทยาลัยครูยิลี ในเขตปกครองตนเอง อีลิ คาซัค ในมณฑลซินเจียง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาซิเบ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาประธานไร้รูป

ภาษาประธานไร้รูป (ภาษาอังกฤษ: null/empty subject language) เป็นภาษาที่ยอมรับไวยากรณ์ของการมีอนุประโยคอิสระที่ไม่ปรากฏประธานในอนุประโยค อนุประโยคที่ไม่มีประธานโดยชัดแจ้ง กล่าวได้ว่าอนุประโยคนั้นมี ประธานไร้รูป ยกตัวอย่างเช่นในภาษาอิตาลี ประธาน "เธอ" ของประโยคที่สองสามารถทราบได้โดยนัยในภาษาอิตาลี ในทางตรงข้าม ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษจำเป็นต้องมีประธานในประโยค ภาษาประธานไร้รูปบางภาษาเป็นภาษาต่างตระกูลกัน เช่น ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส ภาษาฮินดี ภาษาอาหรับ ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น แม้จะต่างตระกูลกันแต่ก็ล้วนเป็นภาษาประธานไร้รูป หมวดหมู่:ภาษา.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาประธานไร้รูป · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาปลัง

ษาปลังหรือภาษาบลัง ภาษาปูลัง เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มมอญ-เขมร สาขาปะหล่อง มีผู้พูดทั้งสิ้น 37,200 คน พบในจีน 24,000 คน (พ.ศ. 2533) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของยูนนาน ในสิบสองปันนา บางส่วนอยู่ร่วมกับชาวว้า ผู้พูดภาษานี้มักใช้ภาษาไท ภาษาว้าหรือภาษาจีนได้ด้วย พบในพม่า 12,000 คน (พ.ศ. 2537) ทางตะวันออกของรัฐฉาน พบในไทย 1,200 คน ในอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย และในกรุงเทพฯ อัตราการรู้หนังสือต่ำ อพยพมาจากสิบสองปันนาโดยเข้าไปอยู่ในพม่าระยะหนึ่งแล้วจึงเข้ามาไทยเมื่อ..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาปลัง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาปะหล่องรูไม

ษาปะหล่องรูไม (Rumai Palaung) หรือภาษาปะหล่องเงิน มีผู้พูดทั้งหมด 139,000 คน พบในพม่า 137,000 คน ทางตอนเหนือของรัฐฉาน พบในจีน 2,000 คน (พ.ศ. 2538) ทางตะวันตกของยูนนาน ในเขตปกครองตนเองเต๋อหง และตามแนวชายแดนพม่า จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรเหนือ สาขาย่อยปะหล่อง เป็นภาษาที่ยังมีผู้ใช้อย่างแพร่หลาย ผู้พูดภาษานี้บางส่วนสามารถพูดภาษาไทใหญ่ ภาษาปะหล่องรูไล ภาษาปะหล่องรูชิง ภาษาเนปาล ภาษาพม่า ภาษากะฉิ่น ภาษาจิงผ่อและภาษาจีนได้ มีพจนานุกรม เขียนด้วยอักษรพม่า เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาปะหล่องรูไม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาปะหล่องปาเล

ษาปะหล่องปาเล (Pale Palaung) หรือภาษาปะหล่องเงิน ภาษาดลัง มีผู้พูดทั้งหมด 267,539 คน พบในพม่า 257,539 คน (2543) อยู่ทางใต้ของรัฐฉาน พบในจีน 5,000 คน (พ.ศ. 2538) ในยูนนานตะวันตก ส่วนใหญ่พูดภาษาไทลื้อ ภาษาจิ่งโป หรือภาษาจีนได้ด้วย ในไทยพบ 5,000 คน (พ.ศ. 2532) ใกล้เคียงกับภาษาปะหล่องชเว และภาษาปะหล่องรูไม จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรเหนือ สาขาย่อยปะหล่อง เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาปะหล่องปาเล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษานาไน

ษานาไน (Nanai) เป็นภาษาที่ใช้พูดโดยชาวนาไนในไซบีเรีย และมีบางส่วนอยู่ในประเทศจีน มีผู้พูดทั้งหมดราว 5,772 คน จากชาวนาไนทั้งหมด 11,000 คน ผู้พูดภาษานี้โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่จะพูดภาษาจีนหรือภาษารัสเซียได้ด้วย และใช้เป็นภาษาสำหรับการติดต่อสื่อสาร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษานาไน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาน่าซี

ษาน่าซีเป็นภาษากลุ่มจีน-ทิเบต มีผู้พูดราว 300,000 คน ในลี่เจียง มณฑลยูนนาน ใน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาน่าซี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแมนจู

ษาแมนจู (จีนกลาง: 满语; พินอิน: mǎn yǔ หมาน อวี่) เป็นภาษากลุ่มตังกูสิตใกล้สูญพันธุ์ซึ่งมีผู้พูดทางภาคเหนือของประเทศจีน เป็นภาษาแม่ของชาวแมนจู แต่ปัจจุบัน ชาวแมนจูส่วนมากพูดภาษาจีนกลาง และมีผู้พูดเป็นภาษาแม่และพูดได้บ้างน้อยกว่า 70 คน จากผู้มีเชื้อสายแมนจูรวมเกือบ 10 ล้านคน แม้ภาษาซิเบที่มีผู้พูด 40,000 คน แทบเหมือนกับภาษาแมนจูในทุกด้าน แต่ผู้พูดภาษาซิเบ ซึ่งอาศัยอยู่ในมณฑลซินเจียงทางตะวันตกไกล มีเชื้อสายแตกต่างจากชาวแมนจู ภาษาแมนจูเป็นภาษารูปคำติดต่อ เขียนจากบนลงล่าง คาดว่าพัฒนามาจากภาษาจูร์เชน มีคำยืมจากภาษามองโกเลียและภาษาจีนจำนวนมาก มีอักษรเป็นของตนเองเรียกว่าอักษรแมนจู ซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกับอักษรมองโกเลีย โครงสร้างประโยคเป็นแบบประธาน-กรรม-กร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาแมนจู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแคะ

300px ภาษาแคะ ภาษาฮักกา หรือ เค่อเจียฮว่า คือหนึ่งในภาษาของตระกูลกลุ่มภาษาจีน มีผู้พูด 34 ล้านคน เป็นภาษาของชาวฮั่น ที่มีบรรพบุรุษอยู่ในมณฑลเหอหนานและส่านซี ทางเหนือของจีนเมื่อกว่า 2,700 ปีที่แล้วต่อมาชาวแคะอพยพไปทางใต้เข้าสู่มณฑลกวางตุ้งและฝูเจี้ยนและไปเป็นชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาแคะ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแต้จิ๋ว

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาแต้จิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาในประเทศไทย

ษาในประเทศไทย มีผู้พูดหลายภาษาด้วยกัน โดยมีภาษาหลักคือภาษาไทยมาตรฐาน นอกจากนั้นยังมีภาษาถิ่นย่อย และภาษาอื่น ๆ อีกหลายตระกูลภาษา โดยรวม มีผู้ใช้ภาษาราว 74 ภาษาในประเทศไทย สำหรับภาษาตระกูลไทนั้น ยังมีภาษาถิ่นย่อยหลัก ได้แก่ ภาษาไทยภาคกลาง ภาษาไทยถิ่นใต้ ภาษาไทยโคราช ไทยอีสาน และภาษาไทยภาคเหนือ หรือภาษาไทยล้านนา (คำเมือง) ขณะเดียวกันก็มีภาษาจีนอีกหลายถิ่นย่อย เช่น จีนแต้จิ๋ว จีนกลาง จีนแคะ ภาษาจีนกวางตุ้ง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโยนางูนิ

ษาโยะนะงุนิ มีผู้พูดราว 1,800 คน ในเกาะโยะนะงุนิ ในญี่ปุ่นและทางตะวันออกของไต้หวัน เป็นภาษาตระกูลเรียวเกียว ใกล้เคียงกับภาษายาเอยามะภาษานี้เคยเขียนด้วยโลโกแกรมแบบไก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาโยนางูนิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโปรตุเกส

ษาโปรตุเกส (português ปุรตุเกฌ) เป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ที่พูดในประเทศต่าง ๆ เช่น ประเทศโปรตุเกส ประเทศบราซิล ประเทศแองโกลา ประเทศโมซัมบิก และประเทศติมอร์-เลสเต ภาษาโปรตุเกสมีคนพูดเป็นภาษาแม่มากกว่า 200 ล้านคน ทำให้เป็นหนึ่งในไม่กี่ภาษาที่พูดทั่วโลก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากเป็นอันดับ 5 หรือ 6 ของโลกปัจจุบัน ภาษาโปรตุเกสถูกขนานนามว่า A língua de Camões อาลิงกวาดึกามอยช์ ("ภาษาของกามอยช์" ตามชื่อลูอิช ดึ กามอยช์ ผู้ประพันธ์ The Lusiad: ลูเซียด) และ A última flor do Lácio อาอุลตีมาโฟลร์ดูลาซีอู ("ดอกไม้ดอกสุดท้ายของละติอุม") คนที่พูดภาษาโปรตุเกสเรียกว่า ลูซิตานิก: Lusitanic หรือ ลูโซโฟน: Lusophones.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไบมา

ษาไบมา (Baima) เป็นภาษาที่มีผู้พูด 11,000 ในกลุ่มของชาวทิเบตในมณฑลเสฉวน ประเทศจีน นิยมใช้ในกลุ่มของผู้ใหญ่ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา มีเสียงวรรณยุกต์และมีคำยืมจากภาษาทิเบตและภาษาจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาไบมา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทหย่า

ภาษาไทหย่า (Tai Ya language) เป็นภาษาของชาวไทหย่าที่อาศัยอยู่ทางมณฑลยูนนานของประเทศจีน ภาษานี้มีความคล้ายคลึงกับภาษาไทยบางคำ เช่น มา ดี ฟัน ฟาง ขา มือ หู ตา แต่แปร่งไปบ้าง เช่น เสื้อ เป็น เซ้อ หัว เป็น โห่ อยู่ดีไม่อยู่ดี เป็น อู้ดีบ่อู้ดี มีบางคำปนกับภาษาจีน เช่น อู๋หลาย หรือ มีหลาย ซึ่งคำว่า อู๋ เป็นภาษาจีน แปลว่ามี หลาย เป็นคำไทย แปลว่า มาก บางคำคล้ายกับภาษาไทใหญ่ เช่น คำว่า ไป ไทหย่าเรียก กา ไทใหญ่เรียก กว่า บางคำก็แปลก ๆ ไป หรือได้รับอิทธิพจากชาวเขาด้วย อย่างเช่น กางเกง เรียกว่า เตี๋ยว ไปเที่ยว เรียกว่า กาหว่น มากี่คน เรียกว่า มาจิก้อ หมวดหมู่:ภาษาในประเทศจีน หมวดหมู่:กลุ่มภาษาไท.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาไทหย่า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทใต้คง

ษาไทใต้คง (ไทใต้คง: ᥖᥭᥰᥖᥬᥳᥑᥨᥒᥰ; Dehong Dai language, Tai Dehong language) หรือ ภาษาไทเหนือ (Tai Nüa language; ภาษาจีน: 傣哪语 ไต๋หนาอยู่, 德宏傣语 เต๋อหงไต๋อยู่) เป็นภาษาที่ใช้พูดในเขตปกครองตนเองชนชาติไทและจิงผ่อ เต๋อหง มีเสียงพยัญชนะ 17 เสียง เป็นพยัญชนะต้นได้ 16 เป็นตัวสะกดได้ 8 เสียง เสียง /น/ เป็นตัวสะกดได้อย่างเดียว สระมี 10 เสียง โดยทั่วไปไม่มีความแตกต่างระหว่างสระเสียงยาวและสระเสียงสั้น ยกเว้นสระ /อะ/ และสระ /อา/ มีวรรณยุกต์ 6 เสียง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาไทใต้คง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเบงกาลี

ษาเบงกาลี (বাংলা, บังคลา) เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรของประเทศบังคลาเทศ และรัฐเบงกอลตะวันตกในประเทศอินเดีย ที่ติดกับบังคลาเทศ นอกจากนี้ยังมีชุมชนของคนที่พูดภาษาเบงกอลที่ใหญ่พอควรในรัฐอัสสัม (อีกรัฐในอินเดีย ติดกับทั้งรัฐเบงกอลตะวันตกและประเทศบังคลาเทศ) และในประชากรที่อพยพไปทางตะวันตกและตะวันออกกลาง รูปแบบมาตรฐานของภาษานี้เรียกว่า cholit bhaashaa: จลิตภาษา เป็นภาษาย่อยที่พูดกันมากที่สุด มีแบบมาจาก "Calcutta Bengali" (ภาษาเบงกอลที่พูดในเมืองกัลกัตตา) ในประเทศบังกลาเทศ เขียนด้วยอักษรเบงกาลี ในภาษาอังกฤษ Bengali ใช้เรียกทั้งภาษาและคนที่พูดภาษานี้ ในภาษาเบงกาลีเองเรียกภาษาว่า Bangla: บังคลา (বাঙলা), ซึ่งเป็นคำที่เริ่มใช้มากขึ้นในภาษาอังกฤษ ส่วนในภาษาบังคลา ชาวเบงกอลเรียกว่า Bangali: บางกาลี (বাংলা) ถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมเนียมของชาวเบงกาลีเรียกว่า Bengal: เบงกอล ในภาษาอังกฤษ และ Bongo: บองโก Banga: บางกา หรือ Bangla: บังคลา ในภาษาเบงกาลี "Bangadesh: บางกาเทศ" และ "Bangladesh: บังคลาเทศ" เป็นคำที่ใช้เรียกภูมิภาคของชาวเบงกอลก่อนที่จะมีการแยกเป็นสองส่วน คือ เบงกอลตะวันตก (West Bengal หรือ Poshchim Bongo: ปอจิม บองโก หรือ ประจิมบังกา) ซึ่งได้กลายเป็นรัฐของอินเดีย และส่วนตะวันออก (เบงกอลตะวันออก: East Bengal หรือ Purbo Bongo: ปูร์โบ บองโก หรือ บูรพาบังกา) กลายเป็นประเทศบังคลาเทศ เนื่องจากมีผู้ใช้ภาษาเบงกาลีมากกว่า250ล้านคนทั่วโลก ชีค ฮาซินา วาเจด นายกรัฐมนตรีบังกลาเทศ เสนอเมื่อ เดือนกันยายน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาเบงกาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเกาหลี

ษาเกาหลี (한국어 หรือ 조선말, ดูในส่วนชื่อ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดใน ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนชนเผ่าเกาหลีที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนพูดโดยทั่วไป(ในจังหวัดปกครองตนเองชนชาติเกาหลีเหยียนเปียน มณฑลจี๋หลิน ซึ่งมีพรมแดนติดกับเกาหลีเหนือ) ทั่วโลกมีคนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล ญี่ปุ่น และเมื่อเร็ว ๆ นี้ก็มีผู้พูดใน ฟิลิปปินส์ ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่คนส่วนมากมักจะถือเป็นภาษาเอกเทศ นักภาษาศาสตร์บางคนได้จัดกลุ่มให้อยู่ใน ตระกูลภาษาอัลไตอิกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคำติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา (SOV) อักษรเกาหลี เรียกว่าอักษรฮันกึล ใช้แทนเสียงของแต่ละพยางค์ นอกจากนี้ใช้ยังตัวอักขระแบบจีนเรียกว่าอักษรฮันจา ในการเขียนด้วย ในขณะที่คำศัพท์ที่ใช้กันส่วนใหญ่เป็นคำภาษาเกาหลีแท้ โดยที่มีคำศัพท์มากกว่า 50% มาจากภาษาจีนทั้งทางตรงและทางอ้อม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเกเลาเขียว

ษาเกเลาเขียว (Green Gelao ISO 639-3) มีผู้พูดในเวียดนาม 300 คน (พ.ศ. 2545) ในตำบลเยนมิญ โพลาและดองฟัน ส่วนใหญ่เริ่มเปลี่ยนไปพูดภาษาม้ง หรือภาษาจีน ไม่สามารถเข้าใจกันได้กับภาษาเกเลาแดง จัดอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได ภาษากลุ่มกะได สาขา เก-.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาเกเลาเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเลปชา

ษาเลปชา(อักษรเลปชา: ไฟล์:ᰛᰩᰵ་ᰛᰧᰶᰵ.SVG; Róng ríng)เป็นภาษาที่พูดโดยชาวเลปชา ในรัฐสิกขิม อินเดีย รวมทั้งบางส่วนของเนปาลและภูฏาน เขียนด้วยอักษรเลปชา ต้นกำเนิดของอักษรนี้ยังคลุมเครือ เริ่มแรกเขียนในแนวตั้งแบบเดียวกับอักษรจีน จัดเป็นภาษาท้องถิ่นในบริเวณที่ใช้พูด มีผู้พูดราว 50,000 คน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาเลปชา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเวียดนาม

ษาเวียดนาม (tiếng Việt เตี๊ยงเหฺวียด, tiếng Việt Nam, Việt ngữ) เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์และเป็นภาษาทางการของประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึงร้อยละ 87 รวมถึงผู้อพยพจากเวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนาม-อเมริกันเป็นจำนวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาษาจีนและเดิมใช้อักษรจีนเขียน แต่นักภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษาเวียดนามให้เป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติกซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผู้พูดมากที่สุด (10 เท่าของภาษาที่มีจำนวนคนพูดเป็นอันดับรองลงมา คือ ภาษาเขมร) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้น แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื๋อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนาม เรียกว่า "จื๋อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรโรมันที่พัฒนาขึ้นโดยมิชชันนารีชาวฝรั่งเศส โดยเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเหมื่อง

ษาเหมื่อง (Mường) เป็นภาษาของชาวเหมื่องในเวียดนาม มีผู้พูดในเวียดนาม 1,140,000 คน (พ.ศ. 2542)ส่วนใหญ่อยู่ในเขตภูเขาทางภาคกลางค่อนไปทางเหนือ ใกล้เคียงกับภาษาเวียดนาม อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร สาขาเหวียด-เหมื่อง สาขาย่อยเหมื่อง เขียนด้วยอักษรละติน มีวรรณยุกต์ 5 เสียง คำศัพท์ได้รับอิทธิพลจากภาษาจีนมาก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาเหมื่อง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเอสเปรันโต

ษาเอสเปรันโต (Esperanto) เป็นภาษาประดิษฐ์ในกลุ่มภาษาช่วยในการสื่อสารระดับสากลที่ใช้กันมากที่สุดในโลก คิดค้นโดย แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ (L.L. Zamenhof) จักษุแพทย์ชาวโปแลนด์ (ในช่วงที่รัสเซียปกครองโปแลนด์ โดยมีพ่อแม่เป็นชาวยิว) เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2430 โดยต้องการให้ภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาที่เรียนง่าย และเป็นภาษาที่สองสำหรับการสื่อสารระดับนานาประเทศ ชื่อ เอสเปรันโต มาจากนามปากกา ดร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาเอสเปรันโต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเอ้อซู

ษาเอ้อซู เป็นภาษากลุ่มเควียวกิกของตระกูลจีน-ทิเบต มีผู้พูด 9,000 คนในจีน มีสามสำเนียงคือสำเนียงตะวันออก กลางและตะวันตก คนรุ่นใหม่มักพูดภาษาจีนและภาษายิได้ด้วย มีอักษรภาพเป็นของตนเองซึ่งได้รับอิทธิพลจากอักษรจีน ประดิษฐ์เมื่อ..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาเอ้อซู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเจียรง

ภาษาเจียรง (Rgyalrong) เป็นภาษากลุ่มเกวียงอิก มีความใกล้เคียงกับภาษาตันกัต ภาษาเกวียงเหนือและภาษาเกวียงใต้ แต่ถือว่าห่างไกลจากภาษาพม่า ภาษาทิเบตและภาษาจีน มีผู้พูดในมณฑลเสฉวน และในเขตปกครองตนเองทิเบต จีเยรง br:Djiarongeg zh:嘉绒语.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาเจียรง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเซียง

ษาเซียง (湘語/湘语) คือหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน มีผู้พูด 36 ล้านคนในมณฑลหูหนาน เสฉวน กวางสี และกวางตุ้ง แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือภาษาเซียงโบราณ และภาษาเซียงสมัยใหม่ที่มีอิทธิพลในภาษาจีนกลางมาก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาเซียง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเซี่ยงไฮ้

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภาษาเซี่ยงไฮ้ · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์ไต้หวัน

กาะไต้หวัน เกาะไต้หวัน (ไถวาน; ภาษาไต้หวัน: Tâi-oân) เป็นเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกใกล้จีนแผ่นดินใหญ่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันปกครองโดยสาธารณรัฐจีน แยกเป็นเอกเทศจากสาธารณรัฐประชาชนจีน แต่ในทางการเมืองระหว่างประเทศ ถือว่าสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวันไม่ได้มีสถานะเป็นประเทศเอกราช แม้เรามักจะเรียกกันติดปากว่าประเทศไต้หวันก็ตาม แต่เดิมเกาะไต้หวันมีชื่อว่า เกาะฟอร์โมซา (Formosa) หรือ Ilha Formosa ในภาษาโปรตุเกส แปลว่า "เกาะสวยงาม" เนื่องจากประเทศโปรตุเกสเคยเดินทางมายังเกาะนี้และได้ตั้งชื่อเอาไว้ แต่ก็ไม่ได้ยึดเอามาเป็นอาณานิคม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและภูมิศาสตร์ไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

มหัพภาค

มหัพภาค หรือ เครื่องหมายจุด (full stop หรือ period หรือ dot) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง มีลักษณะเป็นจุดโดยเขียนไว้ที่ระดับเดียวกับเส้นบรรทั.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมหัพภาค · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยซีหนาน

มหาวิทยาลัยซีหนาน (Southwest University:SWU) ตั้งอยู่ที่เขตเป่ยเป้ย มหานครฉงชิ่ง ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1906 ปัจจุบันมีนักศึกษากว่า 80,000 คน คณาจารย์ 2,650 คน เปิดสอนหลักสูตรสาขาวิชาต่างๆ หลายหลาก ครอบคลุม 336 หลักสูตร เฉพาะสาขาวิชาภาษาจีนนั้นมีการสอนถึงระดับปริญญาเอก จัดเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำอันดับต้นๆ ของประเทศ มีศักยภาพทางการวิชาการและวิจัยในระดับสูง และมีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ นอกจากมีสิ่งอำนวยความสะดวกครบครันและตั้งอยู่ไม่ห่างจากใจกลางเมืองแล้ว มหาวิทยาลัยซีหนานยังมีสภาพแวดล้อมร่มรื่นงดงาม รายล้อมด้วยมีสิ่งปลูกสร้างที่มีเอกลักษณ์เฉพาะและพรรณไม้นานาชนิด จนได้รับการขนานนามว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่สวยที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในฉงชิ่ง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมหาวิทยาลัยซีหนาน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาลตั้งอยู่ที่จังหวัดเชียงราย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง · ดูเพิ่มเติม »

มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์

มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ หรือ เฟท/สเตย์ ไนท์ เป็นเอโรเกะ สร้างโดยไทป์-มูน วางจำหน่ายครั้งแรกในปี 2547 ต่อมา สตูดิโอดีน ได้นำไปทำเป็นภาพยนตร์การ์ตูนฉายทางโทรทัศน์ โดยมีเจเนออนเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์ ออกอากาศครั้งแรกวันที่ 6 มกราคม 2549 ถึงวันที่ 16 มิถุนายน 2549 นอกจากนี้ในปี 2550 ไทป์-มูน ได้นำมหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์มาสร้างใหม่สำหรับเครื่อง เพลย์สเตชัน 2 ภายใต้ชื่อ "เฟท/สเตย์ ไนท์ " โดยตัดเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมสำหรับผู้เยาว์ออกทั้งหมด เฟท/สเตย์ ไนท์ ยังถูกดัดแปลงเป็นมังงะ ซึ่งในขณะนี้กำลังตีพิมพ์ลงในนิตยสารโชเน็นเอซ ฉบับรายเดือน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหีศาสกะ

นิกายมหิสาสกวาท หรือ นิกายมหีศาสกะ เป็นนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายอาจริยวาท ที่หลักฐานฝ่ายบาลีกล่าวว่าแยกมาจากเถรวาท ส่วนหลักฐานฝ่ายสันสกฤตกล่าวว่าแยกมาจากนิกายสรวาสติวาท อาจารย์ผู้เป็นต้นกำเนิดของนิกายนี้เป็นพราหมณ์ เมื่อมาบวชได้นำหลักธรรมในพระเวทมาผสมกับพระพุทธพจน์ แพร่หลายทางภาคตะวันตกและภาคใต้ของอินเดีย โดยเฉพาะแคว้นอวันตี วนวาสี มหาสมณฑล เกรละ และมีอิทธิพลในลังกาด้วย พระพุทธชีวะได้แปลวินัยของนิกายนี้เป็นภาษาจีน หลักธรรมของนิกายนี้มีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากนิกายอื่นๆ หลายประการ เช่น ไม่มีอันตรภพ ผู้สำเร็จอรหันต์แล้วไม่เสื่อมแต่พระโสดาบันเสื่อมได้ การบูชาสถูปเจดีย์ได้บุญน้อย การถวายทานให้คณะสงฆ์ที่มีพระพุทธเจ้าเป็นประธานมีผลมากกว่าถวายทานต่อพระพุทธเจ้าองค์เดียว เป็นต้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมหีศาสกะ · ดูเพิ่มเติม »

มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)

วมองโกล หรือ ชาวมองโกเลีย เป็นกลุ่มชนหนึ่งที่อาศัยอยู่ในประเทศมองโกเลีย และ เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ของประเทศจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

มะขาม

วามหมายอื่น ดูที่ อำเภอมะขาม มะขาม เป็นไม้ มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกาแถบประเทศซูดาน ต่อมามีการนำเข้ามาในประเทศแถบเขตร้อนของเอเชียและประเทศแถบลาตินอเมริกา และในปัจจุบันมีมากในเม็กซิโก ชื่อมะขามในภาคต่าง ๆ เรียก มะขามไทย ภาคกลาง ขาม ภาคใต้ ตะลูบ โคราช ม่วงโคล้ง (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) อำเปียล เขมร จังหวัดสุรินทร์ ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า tamarind ซึ่งมาจากภาษาอาหรับ:تمر هندي (tamr hindī) แปลว่า Indian date มะขามเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานและดอกไม้ประจำจังหวัดเพชรบูรณ์ มะขามในไทยมีสองชนิดคือมะขามเปรี้ยวและมะขามหวาน โดยมะขามหวานมีหลายพันธุ์เช่น พันธุ์น้ำผึ้ง อินทผลัม หมื่นจง สีทอง ในบางครั้งจะเรียกมะขามตามลักษณะของฝัก เช่น มะขามขี้แมว คือมะขามฝักกลม มะขามกระดาน คือมะขามฝักแบน มะขามข้อเดียวคือมะขามที่ฝักมีข้อเดียวออกกลมป้อม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมะขาม · ดูเพิ่มเติม »

มันโยงะนะ

มันโยงะนะ เป็นระบบการเขียนในสมัยโบราณของภาษาญี่ปุ่นโดยอักษรจีนหรือคันจิ ช่วงเวลาที่เริ่มใช้ระบบการเขียนนี้ไม่ทราบแน่ชัด แต่ประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ 7 ชื่อ "มันโยงะนะ" นี้ ได้จากชื่อหนังสือ “มันโยชู” อันเป็นวรรณกรรมรวมบทกวีในยุคนาระที่เขียนด้วยระบบมันโยงะน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมันโยงะนะ · ดูเพิ่มเติม »

มาริโอ้ เมาเร่อ

มาริโอ้ เมาเร่อ (Mario Maurer) ชื่อเล่น โอ้ เกิดเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2531 เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 16 ปี โดยได้รับการติดต่อจากโมเดลลิ่งในสยามสแควร์ โดยเริ่มจากงานถ่ายแบบ ถ่ายโฆษณา เช่น โฆษณาเอ็กซิท โรลออน ขนมแจ็ค เดอะพิซซ่าคอมปานี และยังได้ถ่ายแบบอยู่เรื่อยมา อย่าง เธอกับฉัน และหนังสือวัยรุ่นอีกหลายเล่มและถ่ายมิวสิกวิดีโอ อีกหลายตัวเช่น กุญแจที่หายไป ของ ปาล์มมี่, ปากดีขี้เหงาเอาแต่ใจ ของ มิล่า เป็นต้น จนในปี 2550 มีผลงานสร้างชื่อจากภาพยนตร์ไทยเรื่อง รักแห่งสยาม ซึ่งจากบทบาท "โต้ง" ใน รักแห่งสยาม นี้ มาริโอ้ได้รับรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม จากนิตยสารสตาร์พิกส์ รับรางวัลจากเทศกาลหนังซีเนมะนิลา ที่จัดขึ้นที่ประเทศฟิลิปปินส์ สาขานักแสดงชายยอดเยี่ยม ประเภทภาพยนตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงจาก รางวัลเอเชียนฟิล์ม สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม อีกทั้งยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิงครั้งที่ 16 ประจำปี 2550 ในสาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม และรางวัลสตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส ครั้งที่ 6 ในสาขาผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยม มาริโอ้ได้ร่วมงานกิจกรรมการกุศลอยู่หลายครั้ง รวมถึงยังเป็นพรีเซนเตอร์ ในวันงดสูบบุหรี่โลก ประจำปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมาริโอ้ เมาเร่อ · ดูเพิ่มเติม »

มาจูละห์ ซีงาปูรา

ลงชาติสิงคโปร์ มีชื่อเฉพาะว่า มาจูละห์ ซีงาปูรา (Majulah Singapura) เป็นคำภาษามลายู แปลว่า สิงคโปร์จงรุดหน้า หรือจงเจริญ ชื่อของเพลงนี้มีที่มาจากคำขวัญประจำชาติ ซึ่งเป็นข้อความเดียวกันกับที่ปรากฏอยู่ในตราประจำรัฐ มีเนื้อหาของเพลงที่สะท้อนถึงจิตวิญญาณของชาวสิงคโปร์ในการคาดหวังอย่างอดทนถึงความก้าวหน้าของชาติ และเรียกร้องให้ทุกคนร่วมมือกันทำความหวังดังกล่าวให้เป็นความจริง เพลงนี้ขับร้องในภาษามลายู ซึ่งเป็นภาษาทางการ 1 ใน 4 ภาษาของประเทศสิงคโปร์ ชาวสิงคโปร์ที่ไม่ใช่คนเชื้อชาติมลายูนั้นสามารถร้องและเข้าใจเนื้อหาของเพลงชาติได้เช่นกัน แต่ต้องอาศัยคำแปลภาษาอังกฤษมาช่วยในการทำความเข้าในใจเพลงนี้.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมาจูละห์ ซีงาปูรา · ดูเพิ่มเติม »

มาเลเซียกีนี

มาเลเซียกีนี (Malaysiakini) เป็นเว็บไซต์ข่าวการเมืองของมาเลเซีย ตีพิมพ์ในภาษาอังกฤษ, มลายู และจีน นับตั้งแต่เปิดตัวใน ค.ศ. 1999 มาเลเซียกีนีก็ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนึ่งในสำนักข่าวอิสระชั้นนำในมาเลเซีย มาเลเซียกีนีอ้างว่ามีผู้เข้าชม 160,000 คนต่อวัน และ 1.3 ล้านหน้าต่อเดือน ซึ่งเป็นจำนวนที่สูงสำหรับมาตรฐานมาเลเซีย ไม่เหมือนกับแหล่งข่าวส่วนใหญ่ในมาเลเซีย มาเลเซียกีนียังเป็นอิสระจากข้อบังคับของรัฐบาล จึงได้รับการยอมรับทั่วไปว่าเป็นแหล่งข่าวอิสระที่น่าเชื่อถือแห่งเดียวของประเทศ มาเลเซียกีนีได้รับทั้งเสียงชื่นชมและชื่อเสียงไม่ดี จากการเสนอประเด็นและมุมมองที่เป็นดูเหมือนเรื่องต้องห้ามของสื่อกระจายเสียงกระแสหลักและสิ่งพิมพ์อย่างสม่ำเสมอ ข้อเท็จจริงที่มาเลเซียกีนียังคงได้รับอนุญาตให้ดำเนินงานอยู่ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะความอดทนของรัฐบาลมาเลเซียในประเด็นการเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ต รัฐบาลมาเลเซียได้ให้สัญญาไว้ว่าจะไม่มีการควบคุมและปิดกั้นเนื้อหาอินเทอร์เน็ต ในความพยายามที่จะสร้างมัลติมีเดียซูเปอร์คอร์ริดอร์ (Multimedia Super Corridor).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมาเลเซียกีนี · ดูเพิ่มเติม »

มาเลเซียเชื้อสายไทย

วมาเลเซียเชื้อสายไทย หรือ ชาวสยาม (นิยมเรียกในมาเลเซีย) เป็นชาวไทยถิ่นใต้ที่อาศัยอยู่พื้นที่แถบนี้มาช้านาน โดยการเข้ามาเรื่อย ๆ พอนานเข้าก็กลายเป็นชนกลุ่มหนึ่งในรัฐไทรบุรี ปะลิส กลันตัน ทางตอนเหนือของรัฐเประก์ และมีจำนวนหนึ่งอาศัยในปีนัง โดยบางส่วนได้ผสมกลมกลืนกับชนพื้นเมืองแถบนี้ด้วย ภายหลังการยกดินแดนส่วนนี้แก่อังกฤษ ชาวไทยกลุ่มนี้จึงเป็นสิ่งตกค้างในประเทศมาเลเซียจนถึงปัจจุบัน แต่ชาวไทยในประเทศมาเลเซียนี้ก็ยังรักษาประเพณีวัฒนธรรมของไทยในอดีตไว้ได้อย่างดี รวมถึงภาษา และศาสนาที่เป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกับชาวมลายูทั่วไป.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมาเลเซียเชื้อสายไทย · ดูเพิ่มเติม »

มิสทัวริซึมอินเตอร์เนชันแนล

มิสทัวริซึมอินเตอร์เนชันแนล (Miss Tourism International) เป็นการจัดประกวดความงามเวที 1 ของโลกดำเนินการโดย D’ Touch International s Sdn Bhd Foundation เป็นเวทีเดียวกับ มิสทัวริซึมอินเตอร์เนชันแนลที่จัดขึ้นที่ประเทศศรีลังกา ซึ่งจัดขั้นเป็นเวลา 3 ปีคือ 2536, 2539 และปี 2545 ซึ่งต่อมาไม่ได้มีการจัดประกวดเวทีนี้อีก ปัจจุบันผู้ที่ดำรงตำแหน่งมิสทัวริซึมอินเตอร์เนชันแนลคือ นางสาว เจนนี วีเซนซีโอ จากประเทศฟิลิปปิน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมิสทัวริซึมอินเตอร์เนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

มิสทัวริซึมควีนออฟเดอะเยียร์อินเตอร์เนชันแนล

มิสทัวริซึมควีนออฟเดอะเยียร์อินเตอร์เนชันแนล (Miss Tourism Queen of the Year International) เป็นการจัดประกวดความงามเวที 1 ของโลกดำเนินการโดย D’ Touch International s Sdn Bhd Foundation มิสทัวริซึมควีนออฟเดอะเยียร์อินเตอร์เนชันแนลจัดประกวดครั้งแรกที่ประเทศมาเลเซีย ปัจจุบันผู้ที่ดำรงตำแหน่งมิสทัวริซึมควีนออฟเดอะเยียร์อินเตอร์เนชันแนลคือ นางสาว แคทยา ยากิโมวา จากประเทศรัสเซี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมิสทัวริซึมควีนออฟเดอะเยียร์อินเตอร์เนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์มาเก๊า

''ฮิว แมน ชาน'' – มิสแกรนด์มาเก๊า 2016 ขณะกำลังประกวดรอบชุดราตรีในการประกอบรอบพรีลิมมินารีบนเวทีมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา มิสแกรนด์มาเก๊า (Miss Grand Macau) เป็นตำแหน่งในการประกวดนางงามระดับประเทศของมาเก๊า ผู้ที่ได้รับตำแหน่งจะได้เป็นตัวแทนชาวมาเก๊าในการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ซึ่งจะถูกจัดประกวดขึ้นทุกปีในช่วงปลายปี โดยผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์มาเก๊าทุกคนที่ผ่านมาล้วนได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง โดยในบางทีอาจมีการจัดการคัดเลือกเฉพาะกิจขึ้น ทั้งนี้ สิทธิ์การส่งตัวแทนจากมาเก๊าเข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมิสแกรนด์มาเก๊า · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์สิงคโปร์

''เจซี อิน แทน'' – มิสแกรนด์สิงคโปร์ 2014 ''อลิซาเบธ โฮตัน'' – มิสแกรนด์สิงคโปร์ 2013 ขณะเข้าร่วมการประกวดมิสเวิลด์สิงคโปร์ 2013 มิสแกรนด์สิงคโปร์ (Miss Grand Singapore; 及新加坡万国小姐) เป็นตำแหน่งในการประกวดนางงามระดับประเทศของสิงคโปร์ ผู้ที่ได้รับตำแหน่งจะได้เป็นตัวแทนชาวสิงคโปร์ในการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ซึ่งจะถูกจัดประกวดขึ้นทุกปีในช่วงปลายปี โดยผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์สิงคโปร์อาจมาจากการแต่งตั้งหรือจากการประกวดบนเวทีระดับชาติอย่างใดอย่างงหนึ่ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการจัดการของผู้ได้รับสิทธิ์ในปีนั้นๆ ปัจจุบัน สิทธิ์ในการส่งตัวแทนจากสิงคโปร์เข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลนั้นอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของบริษัท อีอาร์เอ็ม สิงคโปร์มาเก็ตติ้ง จำกัด (ERM Singapore Marketing Pte Ltd) ซึ่งดูแลและบริหารงานโดย อเล็กซ์ หลิว (Alex Liu) ผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์สิงคโปร์คนแรก คือ อลิซาเบธ โฮตัน (Elizabeth Houghton) – รองชนะเลิศอันดับที่ 1 มิสเวิลด์สิงคโปร์ ซึ่งได้รับตำแหน่งมิสแกรนด์สิงคโปร์ 2013 จากการแต่งตั้งขององค์กรมิสเวิลด์สิงคโปร์ และเธอได้เข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014 ที่ประเทศไทย ซึ่งถือเป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งแรก แต่ต้องถอนตัวออกจากการประกวดและถูกส่งตัวกลับประเทศ ด้วยเหตุผลที่ขัดแย้งกันระหว่างข้อมูลที่เธอและกองประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลให้แก่สื่อมวลชน ส่วนผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์สิงคโปร์ปัจจุบัน คือ คริสตัล ลิม (Crystal Lim) ซึ่งได้รับตำแหน่งจากการประกวด มิสสิงคโปร์ 2017 แต่เธอไม่ได้เข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017 โดยไม่ทราบเหตุผลที่แน่ชั.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมิสแกรนด์สิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์ฮ่องกง

''เจเนต ชอย'' – มิสแกรนด์ฮ่องกง 2015 มิสแกรนด์ฮ่องกง (Miss Grand Hong Kong) เป็นตำแหน่งในการประกวดนางงามระดับประเทศของฮ่องกง ผู้ที่ได้รับตำแหน่งจะได้เป็นตัวแทนชาวฮ่องกงในการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ซึ่งจะถูกจัดประกวดขึ้นทุกปีในช่วงปลายปี โดยผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์ฮ่องกงทุกคนที่ผ่านมาแล้วได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ปัจจุบัน สิทธิ์การส่งตัวแทนจากฮ่องกงเข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลนั้นอยู่ภายใต้การกำกับดูแลขององค์กรเดอะมิสไชน่า (The Miss China Organization) ซึ่งดูแลและบริหารงานโดย อดัม ลี (Adam Lee) ‎ ผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์ฮ่องกงคนแรก คือ โจแอน โม (Joane Mo) ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง มิสแกรนด์ฮ่องกง 2014 และเธอได้เข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014 ที่ประเทศไทย ซึ่งถือเป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 2 แต่ไม่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ส่วนผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์ฮ่องกงคนปัจจุบัน คือ ฮอย แลม ลาว (Hoi Lam Law) ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเช่นกัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมิสแกรนด์ฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์จีน

มิสแกรนด์จีน (Miss Grand China) เป็นตำแหน่งในการประกวดนางงามระดับประเทศของจีน เพื่อคัดเลือกตัวแทนเข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล เริ่มจัดประกวดเพื่อคัดเลือกผู้ดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมิสแกรนด์จีน · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์ไต้หวัน

มิสแกรนด์ไต้หวัน (Miss Grand Taiwan) เป็นตำแหน่งในการประกวดนางงามระดับประเทศของไต้หวัน ผู้ที่ได้รับตำแหน่งจะได้เป็นตัวแทนชาวไต้หวันในการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ซึ่งจะถูกจัดประกวดขึ้นทุกปีในช่วงปลายปี โดยผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์ไต้หวันทุกคนที่ผ่านมาล้วนได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์ไต้หวันคนแรก คือ เฉิน ซู่ หยู่ (Chen Szu Yu/陳思妤) ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง มิสแกรนด์ไต้หวัน 2014 และเธอได้เข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014 ที่ประเทศไทย แต่ไม่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ส่วนผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์ไต้หวันคนปัจจุบัน คือ รี-ซิง จู (Ri-Xing Zhu/陳采風) ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเช่นกัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมิสแกรนด์ไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

มิสไชนิสเวิลด์

มิสไชนิสเวิลด์ (อังกฤษ: Miss Chinese World) เป็นการจัดประกวดมิสไชนีสเวิลด์ เป็นการประกวดเพื่อเฟ้นหาสาวงามที่มีเชื้อสายจีนทั่วโลกเพื่อเป็นตัวแทนของความงามของจีนจากเมืองและจังหวัดทั่วโลกในการเฉลิมฉลองวัฒนธรรมจีนคุณค่าและขนบประเพณี ดำเนินการโดย D’ Touch International s Sdn Bhd Foundation เริ่มจัดการประกวดครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมิสไชนิสเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

มิสเซาท์อีสต์เอเชียทัวริซึมแอมบาสเดอร์

มิสเซาท์อีสต์เอเชียทัวริซึมแอมบาสเดอร์ (Miss South East Asia Tourism Ambassadress) เป็นการจัดประกวดความงามเวที 1 ของอาเซียน ดำเนินการโดย D’ Touch International s Sdn Bhd Foundation มิสเซาท์อีสต์เอเชียทัวริซึมแอมบาสเดอร์จัดประกวดครั้งแรกที่ประเทศมาเลเซีย ปัจจุบันผู้ที่ดำรงตำแหน่งมิสเซาท์อีสต์เอเชียทัวริซึมแอมบาสเดอร์คือ นางสาว กมลรัตน์ ทานนท์ จากประเทศไท.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมิสเซาท์อีสต์เอเชียทัวริซึมแอมบาสเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มู่หล่าว

มู่หล่าว (ภาษาจีน: 仫佬族; พินอิน: Mùlǎozú) เป็นกลุ่มชนที่อยู่ในกลุ่มชาวต้ง-สุย มีจำนวนประชากรทั้งหมด 207,000 คน พูดภาษามู่หลาว ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มภาษาคำ-ไต ตระกูลภาษาไท-กะได นับถือลัทธิภูติผีวิญญาณ ลัทธิเต๋า และพระพุทธศาสน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมู่หล่าว · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลฝูเจี้ยน

มณฑลฝูเจี้ยน หรือ มณฑลฮกเกี้ยน (จีน: 福建省 Fujian) เป็นมณฑลชายฝั่งทะเลที่อยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของจีน อาณาเขตทางภาคเหนือติดกับมณฑลเจ้อเจียง ภาคใต้ติดกับมณฑลกวางตุ้ง ภาคตะวันออกติดกับช่องแคบไต้หวัน ชื่อฝูเจี้ยนมาจากอักษรนำหน้าชื่อเมืองสองเมืองรวมกันคือฝูโจวและเจี้ยนโอว ชื่อนี้ได้รับการตั้งในสมัยราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมณฑลฝูเจี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลหูหนาน

มณฑลหูหนาน (จีน: 湖南省) ชื่อย่อ เซียง (湘)ตั้งอยู่บนลองจิจูด 108 องศา 47 ลิปดาถึง 114 องศา 45 ลิปดา ตะวันออก และละติจูด 24 องศา 39 ลิปดาถึง 30 องศา 28 ลิปดาเหนือ ทางตอนใต้ของทะเลสาบต้งถิง (洞庭湖) ทะเลสาบใหญ่ทางตอนกลางของแม่น้ำแยงซี มีเมืองหลวงชื่อ ฉางชา มีเนื้อที่ 211,800 ตาราง ก.ม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมณฑลหูหนาน · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลหูเป่ย์

มณฑลหูเป่ย์ (จีน: 湖北省 Húběi Shěng) ชื่อย่อ เอ้อ (鄂) ตั้งอยู่ตอนกลาง ของประเทศ มีอาณาเขตอยู่ในพื้นที่ของแม่น้ำ 2 สายคือ แม่น้ำฉางเจียง (แยงซีเกียง) และฮั่นเจียง เนื่องจากอยู่ ทางเหนือของทะเลสาบต้งถิงทางตอนกลางของแม่น้ำ ฉางเจียง จึงได้ชื่อว่า ‘หูเป่ย’ ซึ่งแปลว่า เหนือทะเลสาบ มีเมืองหลวงชื่อ อู่ฮั่น มีเนื้อที่ 185,900 ตร.ก.ม. มีประชากร 60,160,000 คน ความหนาแน่น 324/ตร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมณฑลหูเป่ย์ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลไหหลำ

มณฑลไหหลำ หรือ ไห่หนาน (ภาษาจีน: 海南, พินอิน: Hǎinán) คือมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนที่มีขนาดเล็กที่สุด ตั้งอยู่ทางใต้สุดของประเทศ ประกอบด้วยเกาะหลายเกาะ โดยที่เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะไหหลำ เมื่อชาวจีนพูดเกี่ยวกับ "ไห่หนาน" ในภาษาจีน มักจะหมายถึงเฉพาะเกาะไหหลำ เมื่อพูดถึงมณฑลไหหลำจะใช้คำว่า "ไห่หนานเฉิ่ง" เมืองหลวงคือ เมืองไหโข่ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมณฑลไหหลำ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเจ้อเจียง

มณฑลเจ้อเจียง (จีน: 浙江省 เจ้อเจียงเฉิง Zhejiang) ชื่อย่อ ‘เจ้อ’ (浙)ในหลักฐานไทยแต่เดิมเรียก มณฑลเจ๊เกี๋ยง มีเมืองหลวงชื่อเมืองหางโจว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและมณฑลเจ้อเจียง · ดูเพิ่มเติม »

ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน

อดนักสืบจิ๋วโคนัน เป็น การ์ตูนญี่ปุ่น เรื่องยาวแนวสืบสวนสอบสวน เรื่องและภาพโดย อาโอยาม่า โกโช ซึ่งตีพิมพ์บน นิตยสารรายสัปดาห์โชเน็งซันเดย์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 โดยถูกตีพิมพ์ในหลายภาษาด้วยกัน นอกจาก ภาษาญี่ปุ่น แล้วยังมี ภาษาอังกฤษ, ภาษาจีน, ภาษาอินโดนีเซีย, ภาษาฟินแลนด์, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาดัตช์, ภาษาเยอรมัน, ภาษาอิตาลี, ภาษามาเลเซีย, ภาษาเกาหลี, ภาษาสเปน, ภาษากาตาลา, ภาษาสวีเดน, ภาษานอร์เวย์, ภาษาเดนมาร์ก, ภาษาเวียดนาม, ภาษาฟิลิปปินส์ และภาษาไทย นอกจากยอดนักสืบจิ๋มโคนันจะได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือการ์ตูนแล้ว ยังได้มีการนำมาดัดแปลงทำเป็นการ์ตูนซีรีส์โทรทัศน์โดยแอนิเมชันสตูดิโอโตเกียวมูฟวี่ชินชะ (โดยปัจจุบันรู้จักกันในชื่อของทีเอมเอส เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด) โดยมีผู้กำกับอย่างโคดะมะ เคนจิ และยามาโมโตะ ยาซุยจิโร่ซึ่งนำออกอากาศผ่าน สถานีโทรทัศน์นิปปอน, สถานีโทรทัศน์โยมิอุริ, และ สถานีโทรทัศน์แอนิแมกซ์ ตั้งแต่วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2539 ด้วยกระแสตอบรับที่ดีของยอดนักสืบจิ๋วโคนันจึงได้มีการจัดทำการตูนภาพยนตร์ซึ่งออกฉายช่วงสัปดาห์หยุดยาวตั้งแต่วันที่ 29 เมษายน ถึงวันที่ 5 พฤษภาคม ของญี่ปุ่น (หรือโกลเด้นวีค) ของทุกๆ ปี อีกทั้งยังมีการจัดทำซีรีส์คนแสดงอีกด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและยอดนักสืบจิ๋วโคนัน · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาชิชาพังมะ

อดเขาชิชาพังมะ ยอดเขาชิชาพังมะ (Shishapanma; จีน: Xīxiàbāngmǎ Fēng 希夏幫馬峰) ยอดเขาสูงที่สุดใน ประเทศจีน และสูงเป็นอันดับที่ 13 ของโลก มีความสูง 8,046 เมตร ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของทิเบต ใกล้ชายแดนเนปาล นับเป็นยอดเขาสูงเกิน 8 พันเมตรเพียงแห่งเดียวที่อยู่ในประเทศจีน (ข้อมูลบางแห่งระบุความสูง 8,013 เมตร และบางแห่ง 8,027 เมตร ซึ่งทำให้ Shishapanma สูงเป็นอันดับ 14 ของโลก) ชื่อ "ชิชาพังมะ" เป็นภาษาทิเบต มีความหมายว่า "ยอดเขาเหนือทุ่งหญ้า" ยอดเขานี้มีชื่อในภาษาสันสกฤตว่า โกแสนธาน (Gosainthan) มีความหมายว่า "ดินแดนแห่งพระเจ้า" นอกจากนี้ ชิชาพังมะ ยังอาจแปลความหมายได้ว่า "หญิงชาวเชอร์ปา" เนื่องจากภูเขานี้อยู่ในเขตประเทศจีน ซึ่งค่อนข้างเข้มงวด ทำให้มีนักปีนเขาจำนวนไม่มากได้ปีนเขาลูกนี้ นักปีนเขากลุ่มแรกที่ขึ้นถึงยอดเขานี้เป็นชาวจีน เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 เป็นยอดเขาความสูงเกิน 8,000 เมตร ที่มีผู้ปีนถึงยอดเป็นลำดับหลังสุด ในจำนวน 14 ยอ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและยอดเขาชิชาพังมะ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเซียน ยอดมนุษย์

อดเซียน ยอดมนุษย์ (อังกฤษ: Return to the 36th Chamber, Shao Lin ta peng hsiao tzu, Return of the Master Killer or Master Killer II จีน: 少林搭棚大師) เป็นภาพยนตร์กำลังภายใน-กังฟูสัญชาติฮ่องกง ที่ออกฉายในปี ค.ศ. 1985 กำกับโดย หลิว เจียเหลียง ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาคสองของภาพยนตร์ชุด ยอดมนุษย์ยุทธจักร และมีภาคต่อเป็นภาคสุดท้ายคือภาพยนตร์เรื่อง ยอดมนุษย์เส้าหลิน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและยอดเซียน ยอดมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

ยัยตัวร้ายกับนายเจี๋ยมเจี้ยม

ัยตัวร้ายกับนายเจี๋ยมเจี้ยม (엽기적인 그녀; My Sassy Girl) เป็นภาพยนตร์โรแมนติคคอเมดี้จากเกาหลี ที่กำกับโดย กวัก แจ-ยง นำแสดงโดย ช็อน จี-ฮย็อน และชา แท-ฮย็อน ซึ่งเป็นเรื่องราวของการพบกันโดยบังเอิญระหว่างหญิงสาวบนรถไฟกับชายหนุ่ม โดยดัดแปลงมาจากจดหมายรักที่เขียนขึ้นโดย คิม โฮ-ชิก ชายผู้ซึ่งนำเรื่องเหล่านี้มาใส่ไว้ในอินเทอร์เน็ตในเบื้องต้น และดัดแปลงเป็นนวนิยายในเวลาต่อมา ภาพยนตร์ชุดนี้ ถือเป็นภาพยนตร์ที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงในเกาหลีใต้ และเมื่อได้จัดฉายในเอเชียก็ประสบผลสำเร็จอย่างถล่มทลายในหลายประเทศ ทั้งญี่ปุ่น, จีน, ไต้หวัน, ฮ่องกง, สิงคโปร์ ตลอดจนถึงไทย มากพอกับกับภาพยนตร์เรื่องไททานิค นอกจากนี้ ยังได้รับการรีเมคในเวอร์ชันอเมริกัน โดยทางไทยได้ใช้ชื่อเรียกภาพยนตร์เวอร์ชันอเมริกันว่า ยกหัวใจให้"ยัยตัวร้าย" รวมถึงมีการรีเมคเป็นละครโทรทัศน์ของญี่ปุ่น ที่เริ่มฉายในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและยัยตัวร้ายกับนายเจี๋ยมเจี้ยม · ดูเพิ่มเติม »

ยามา (สัตว์)

ำหรับนักบวชในศาสนาพุทธนิกายวัชรยานแบบทิเบต ดูที่ ลามะ ยามา หรือ ลามา (llama,; llama, เสียงอ่าน:; llama) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมในตระกูลอูฐ (camelid) ของทวีปอเมริกาใต้ ซึ่งเป็นรู้จักกันอย่างแพร่หลายในวัฒนธรรมของชาวแอนดีสตั้งแต่สมัยก่อนการเข้ามาของชาวสเปน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและยามา (สัตว์) · ดูเพิ่มเติม »

ยาฮู! รู้รอบ

ู! รู้รอบ (Yahoo! Answers) เป็นชุมชนออนไลน์ของยาฮู!เปิดให้ใช้งานในการถามและตอบคำถามในลักษณะคล้ายเว็บบอร์ด แต่มีลักษณะการใช้งานที่แตกต่างไปจากเว็บบอร์ดคือ เว็บบอร์ดจะเปิดให้โพสต์ข้อความอะไรก็ได้ แต่ยาฮู! รู้รอบจะเปิดให้ผู้ใช้งานโพสต์เฉพาะคำถามหรือคำตอบเท่านั้น โดยท้ายสุดจะมีการเลือกคำตอบที่ดีที่สุด พร้อมขอเหตุผลว่าทำไมถึงดีที่สุด พร้อมกับมีระบบสะสมแต้มและระดับความเก่งกาจของผู้ใช้งาน เปิดใช้งานเมื่อ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2548 โดยมีลักษณะพิเศษคือมีการให้แต้มต่อผู้ร่วมตอบคำถาม ซึ่งผลักดันให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม เว็บเปิดให้ถามคำถามและตอบคำถามในทุกลักษณะ โดยมีการจัดแบ่งหมวดหมู่ของคำถามย่อยลงไปตามหมวดหมู่ การถามตอบคำถามจำเป็นต้องเป็นสมาชิก และเมื่อคำถามหรือคำตอบได้ถาม จะมีรูปอวตารซึ่งมีลักษณะคล้ายการ์ตูนแสดงตัวคู่กับข้อความ โดยระหว่างที่ถามคำถาม ทางระบบจะทำการค้นหาข้อมูลเก่าในฐานข้อมูลจากข้อความที่ผู้ถามได้พิมพ์ไป แสดงคำถามก่อนหน้าที่เกี่ยวข้องขึ้น เผื่อคำถามนั้นได้มีการถามก่อนหน้า ในปัจจุบันยาฮู! รู้รอบรองรับชุมชนใน 12 ภาษา ได้แก่ อังกฤษ จีน ฝรั่งเศส เยอรมัน อินโดนีเซีย อิตาลี ญี่ปุ่น เกาหลี โปรตุเกส สเปน ไทย เวียดนาม โดยมีเว็บไซต์ตั้งอยู่ 24 ประเทศได้แก่ เกาหลีใต้ แคนาดา จีน บราซิล ฝรั่งเศส เยอรมนี ฮ่องกง อินเดีย อินโดนีเซีย อิตาลี ญี่ปุ่น มาเลเซีย เม็กซิโก นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ สเปน ไต้หวัน ไทย สหราชอาณาจักร ควิเบก สหรัฐอเมริกา เวียดนาม ออสเตรเลีย และ อาร์เจนติน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและยาฮู! รู้รอบ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการทะเลสาบคาซาน

ทธการทะเลสาบคาซาน (Battle of Lake Khasan) หรือ เหตุการณ์ชางกูเฟิง (จีนและญี่ปุ่น: 張鼓峰事件, พินอิน: Zhānggǔfēng Shìjiàn, การออกเสียงแบบญี่ปุ่น: Chōkohō Jiken) ซึ่งเป็นความขัดแย้งทางทหารระหว่าง แมนจูกัว ซึ่งเป็นดินแดนยึดครองของจักรวรรดิญี่ปุ่นได้รุกล้ำอาณาเขตเข้าไปยังดินแดนของสหภาพโซเวียต การรุกล้ำอาณาเขตดังกล่าวนั้นเกิดจากความเชื่อของฝ่ายญี่ปุ่นที่ว่าสหภาพโซเวียตตีความตามสนธิสัญญาปักกิ่งผิดไป ซึ่งเป็นสนธิสัญญาที่ได้รับการลงนามมาตั้งแต่สมัยจักรวรรดิรัสเซีย และประเทศจีนสมัยราชวงศ์ชิงแล้ว และนอกเหนือจากนั้น เครื่องหมายกั้นอาณาเขตของทั้งสองฝ่ายก็ไม่มีความแน่นอน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและยุทธการทะเลสาบคาซาน · ดูเพิ่มเติม »

ยุคอาณาจักรเหนือใต้ของเกาหลี

มัยอาณาจักรเหนือใต้ เมื่อสิ้นสุดสมัย 3 อาณาจักรนั้น อาณาจักรชิลลาถือว่าเป็นผู้มีชัยเหนืออาณาจักรอื่นบนคาบสมุทรเกาหลีทั้งหมด ในทางประวัติศาสตร์ถือว่ายุคสมัยนี้ อาณาจักรชิลลาเป็นผู้รวบรวมแผ่นดินเกาหลีให้เป็นผืนเดียวกันได้เป็นครั้งแรกนับแต่ยุคสมัยดึกดำบรรพ์เป็นต้นมา จึงเรียกว่า ยุคชิลลารวมอาณาจักร ช่วงยุคสมัยนี้นับจากปีที่อาณาจักรโคกูรยอและอาณาจักรแพ็กเจล่มสลายลงไปใน พ.ศ. 1211 และสืบเนื่องไปจนถึง พ.ศ. 1478 แต่ที่จริงแล้ว อาณาจักรชิลลาไม่ได้ครอบครองดินแดนทั้งหมดไว้ ที่ครอบคลุมได้ทั้งหมดนั้นเพียงดินแดนทางตอนใต้เท่านั้น แม้แต่ดินแดนของโคกูรยอเดิม ชิลลาก็ได้มาเพียงบางส่วนเท่านั้น ไม่เพียงที่ต้องยกคาบสมุทรเหลียวตงให้กับจีน แต่ดินแดนทางเหนือจรดไปถึงแมนจูเรียตกอยู่ในการควบคุมของอาณาจักรเกิดใหม่อีกอาณาจักรหนึ่ง ชื่อว่า อาณาจักรพัลแฮ หรือเรียกว่า ป๋อไห่ ในชื่อเรียกตามภาษาจีน ในยุคสมัยนี้ นักประวัติศาสตร์บางท่านจึงจัดว่าเป็นยุคอาณาจักรเหนือใต้ของเกาหลี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและยุคอาณาจักรเหนือใต้ของเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเซ็งโงกุ

ซ็งโงกุ เป็นช่วงเวลาของความไม่สงบใน ญี่ปุ่น อันเกิดจากอำนาจการปกครองของ โชกุนตระกูลอาชิกางะในยุคมูโรมาจิเสื่อมลง ทำให้บรรดาไดเมียวผู้ปกครองแคว้นต่าง ๆ ในญี่ปุ่นต่างพากันตั้งตนเป็นอิสระ โดยเฉพาะไดเมียวที่อยู่ห่างจากเมืองหลวงเกียวโตมาก และทำสงครามกันเอง ทำให้ญี่ปุ่นลุกเป็นไฟ บ้านเมืองไม่มีขื่อแป โชกุนที่เกียวโตไม่สามารถทำอะไรได้เพราะเป็นเพียงหุ่นเชิดของไดเมียวที่มีอำนาจ สมัยเซ็งโงกุเป็นสมัยแห่งวีรบุรุษ โดยเฉพาะวีรบุรุษทั้งสามที่รวมประเทศญี่ปุ่นให้กลับเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งเป็นการสิ้นสุดสมัยเซ็งโงกุ ได้แก่ โอดะ โนบูนางะ, โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ, และ โทกูงาวะ อิเอยาซุ อักษรคันจิของคำว่ายุคเซ็งโงกุ ตรงกับคำว่า "ยุคจ้านกว๋อ" ในภาษาจีน หมายถึง "ยุครณรัฐ" ซึ่งเกิดขึ้นอยู่ในช่วงระหว่าง 477-222 ปีก่อน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและยุคเซ็งโงกุ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หมิง

ราชวงศ์หมิง หรือ ราชวงศ์เบ๋ง (ฮกเกี้ยน) หรือ ราชวงศ์เม้ง (แต้จิ๋ว) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิต้าหมิง เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิจีน ระหว่าง พ.ศ. 1911 (ค.ศ. 1368) ถึง พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1644) ดำรงอยู่เป็นเวลารวม 276 ปี โดยปกครองต่อจากราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล และพ่ายแพ้ให้กับราชวงศ์ชิงของชาวแมนจูในภายหลัง ราชวงศ์หมิงเป็นราชวงศ์ที่รุ่งเรืองในด้านวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ในยุคนี้มีการสำรวจทางทะเลอย่างกว้างขวาง ราชวงศ์หมิงในตอนต้น (1368 - 1464) ถือเป็นอาณาจักรที่ก้าวหน้าที่สุดในโลก ณ ช่วงเวลานั้น ราชวงศ์หมิงถือเป็นหนึ่งในยุคที่ถูกจัดโดยนักวิชาการชาวตะวันตกว่ามีการปกครองที่เป็นระบบและสังคมที่มีเสถียรภาพในประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติก่อนที่จะล่มสลาย ราชวงศ์หมิงถือเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองโดยชาวฮั่น ปฐมจักรพรรดิต้าหมิง จูหยวนจาง หรือ จักรพรรดิหงหวู่ หลังจากที่ได้ทรงประกาศปลดแอกชาวฮั่นจากภายใต้การปกครองของราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล ได้สถาปนาราชวงศ์หมิงขึ้น พระองค์ได้ทรงพยายามปฏิรูปการปกครองอาณาจักรเสียใหม่ ทรงพยายามสร้างระบบสังคมชุมชนชนบทแบบพึ่งพาตนเอง ปฏิรูประบบราชการ, กฎหมาย จักรพรรดิหงหวู่ได้สร้างระบบที่เป็นระเบียบที่ยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ที่จะสามารถรองรับและสนับสนุนการทหารของราชวงศ์หมิงอย่างยั่งยืน ทำให้ด้านการทหารในช่วงนั้นราชวงศ์หมิงประสบความสำเร็จมีกองทัพภาคพื้นดินเกินกว่า 1 ล้านคนและกองทัพเรือมีอู่ต่อเรือที่หนานจิงเป็นอู่ต่อเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้น พระองค์ยังได้ทรงตระหนักถึงการลดทอนอำนาจของเหล่าขันทีในราชสำนักCrawford, Robert.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและราชวงศ์หมิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หยวน

ตแดนของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์หยวน เครื่องปั้นดินเผา สมัยราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หยวน (หยวนเฉา) (พ.ศ. 1814 - 1911) คือหนึ่งในราชวงศ์ของจักรวรรดิจีน ก่อตั้งขึ้นเมื่อกุบไลข่านผู้นำเผ่าชาวมองโกล ได้โค่นอำนาจราชวงศ์ซ่งลง แล้วเปิดศักราชชาวมองโกลครองประเทศจีน ชาวมองโกลได้เข้ายึดครองภาคเหนือของจีนเป็นเวลากว่าทศวรรษ ได้มีความพยายามเปลี่ยนเป็นจีน ตั้งแต่สมัย มองเกอ ข่าน พระเชษฐาของกุบไลข่าน แต่ไม่สำเร็จ จนกระทั่งในสมัยของกุบไลข่าน ในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและราชวงศ์หยวน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฮั่น

มเด็จพระจักรพรรดิฮั่นเกาจู ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ฮั่น เขตแดนของราชวงศ์ฮั่นสมัยสมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นอู่ตี้ ราชวงศ์ฮั่น (ภาษาจีน: 漢朝 พ.ศ. 337 - พ.ศ. 763) เป็นราชวงศ์จีนที่ปกครองต่อจากราชวงศ์ฉิน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและราชวงศ์ฮั่น · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง

ราชวงศ์โฮ่วฮั่น (ค.ศ. 947 - 950) เป็นราชวงศ์ที่ 4 ในยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร ปกครองจีนอยู่เพียง 3 ปี และมีจักรพรรดิปกครองเพียง 2 พระองค์คือ จักรพรรดิเกาจู่แห่งโฮ่วฮั่น และจักรพรรดิฮั่นหยินตี้ ก่อนเสียเอกราชให้กับจักรพรรดิโจวไท่จู่ แห่งราชวงศ์โฮ่วโจว หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จิ้นยุคหลัง

ราชวงศ์จิ้นยุคหลัง (Later Jin Dynasty) ราชวงศ์ที่ 3 ใน ยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร สถาปนาโดยจักรพรรดิจิ้นเกาจู่ (สือจิ้งถัง) เชื้อพระวงศ์องค์หนึ่งในราชวงศ์โฮ่วถัง โดยมีเมืองไคฟงเป็นเมืองหลวง ราชวงศ์นี้มีจักรพรรดิปกครองเพียง 2 พระองค์คือ จักรพรรดิจิ้นเกาจู่ และจักรพรรดิจิ้นฉู่ตี้ และปกครองจีนอยู่เพียง 11 ปี ก่อนเสียเอกราชให้กับจักรพรรดิเกาจู่ (หลิวจื้อหยวน) แห่งราชวงศ์โฮ่วฮั่น หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและราชวงศ์จิ้นยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ถัง

ราชวงศ์ถัง (พ.ศ. 1161-1450) ราชวงศ์นี้สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้จีนอย่างมาก ทั้งด้านศิลปกรรม วัฒนธรรม และอีกหลาย ๆ ด้าน หลี่ยวนได้ตั้งตัวเองเป็น จักรพรรดิถังเกาจู่ หลังจากรวมแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่นแล้ว ก็เกิดการแย่งชิงตำแหน่งรัชทายาทขึ้น ระหว่างโอรสหลี่เจี้ยนเฉิง หลี่ซื่อหมิน และหลี่หยวนจี๋ หลี่ซื่อหมินนั้น มีความดีความชอบมาก เนื่องจากรบชนะมาหลายครั้ง ต่อมา ถังเกาจู่ก็สละราชสมบัติ ตั้งตนเองเป็นไท่ช่างหวง ราชวงศ์ถังปกครองประเทศนานถึง 289 ปีตั้งแต..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและราชวงศ์ถัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ถังยุคหลัง

ราชวงศ์โฮ่วถัง (Later Tang Dynasty) (ค.ศ. 923 - 936) เป็นราชวงศ์ที่ 2 ในยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร สถาปนาโดย จักรพรรดิถังซวงจง (หลี่คุนซู) เมื่อ..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและราชวงศ์ถังยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ซ่ง

ราชวงศ์ซ่ง ตามสำเนียงกลาง หรือ ซ้อง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นหนึ่งในราชวงศ์ซึ่งปกครองประเทศจีนอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 1503 ถึง ปีพ.ศ. 1822 รัฐบาลซ่งเป็นรัฐบาลแรกในโลกที่ใช้เงินตราแบบกระดาษ เจ้า ควงอิ้น ได้ชื่อว่า พระเจ้าซ่งไท่จู่ ได้พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขึ้นมาใหม่ แต่กลับตัดทอนอำนาจทางการทหาร ของแม่ทัพ เนื่องจากความระแวง กลัวจะยึดอำนาจ ทำให้การทหารอ่อนแอ อย่างไรก็ดี ในราชวงศ์นี้ ศิลปกรรมและวัฒนธรรมรุ่งเรืองมาก การศึกษาของประชาชนดีขึ้น และเปาบุ้นจิ้น ก็ได้มาเกิดในยุคในสมัยของจักรพรรดิซ่งเหรินจง ซึ่งเป็นยุคที่ฮ่องเต้อ่อนแอ อำนาจอยู่ในมือพวกกังฉิน ท่านตัดสินคดีอย่างยุติธรรม และเด็ดขาด ไม่เกรงหน้าอินทร์หน้าพรหมใดๆ จนเป็นที่เลื่องลือมาถึงปัจจุบัน ในสมัยราชวงศ์ซ่ง จีนถูกรุกรานโดยชนเผ่าต่างๆ คือ พวกเซี่ย พวกชิตัน (เมืองเหลียว) จึงมีศึกอยู่ตลอดมา แถมยังต้องยอมเซ็นสัญญาสงบศึกกับ "คนป่าเถื่อน" ต้องส่งบรรณาการให้ ทำให้การเงินไม่คล่องตัว จนมีนักปฏิรูปชื่อ "หวังอั้นจี่" ออกกฎหมายมาควบคุมการใช้เงิน ของบรรดาเชื้อพระวงศ์ แต่สุดท้าย ก็ต้องยกเลิก เพราะไปขัดผลประโยชน์เจ้าใหญ่นายโต ครั้นต่อมา มีชนเผ่าจินหรือกิม (บรรพบุรุษของแมนจู) เข้ามาตี และเนื่องจากมีขุนนางกังฉิน ไปเข้ากับศัตรู (ดังเช่น ฉินไคว่ กังฉินชื่อดัง ซึ่งใส่ความแม่ทัพงักฮุย และสังหารงักฮุยกับลูกชายเสีย ทำให้ชาวจีนเคียดแค้นชิงชังอย่างยิ่ง) บวกกับการทหารที่อ่อนแออยู่แล้ว (ผสมกับฮ่องเต้ที่ไร้สามารถ หูเบา เชื่อฟังกังฉิน) ทำให้พวกจินสามารถบุกจนถึงเมืองไคฟง (เมืองหลวง) จึงต้องย้ายเมืองหลวง ไปอยู่ทางทิศใต้ มีชื่อเรียกว่า ซ่งใต้ ซึ่งพวกจินก็ยังตามล้างผลาญตลอด แต่ต่อมา ในที่สุด พวกจิน, เซี่ยกับชิตันก็ถูกมองโกล ซึ่งนำโดย เจงกิสข่าน (เตมูจิน) เข้าตี แล้วหันมาตีจีนต่อจนถึงปักกิ่ง หลังจากนั้น กุบไลข่าน หลานปู่ของเจงกิสข่าน ได้โจมตีราชวงศ์ซ่งใต้ โดยได้ความร่วมมือจากขุนนาง และทหารของราชวงศ์ซ่งบางคน ที่กลับลำหันมาช่วยเหลือมองโกล โจมตีพวกของตัวเอง จนสิ้นราชวงศ์ในที่สุด แล้วกุบไลข่านจึงตั้งราชวงศ์หยวนขึ้นมาแทน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและราชวงศ์ซ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โจวยุคหลัง

ราชวงศ์โฮ่วโจว (ค.ศ. 951 - 960) ราชวงศ์ที่ 5 และราชวงศ์สุดท้ายในยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร จักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์นี้คือจักรพรรดิโจวไท่จู่ ราชวงศ์นี้ปกครองจีนอยู่เพียง 9 ปีก่อนที่ เจ้ากวงยิ่น (จักรพรรดิซ่งไท่จู่) จะโค่นล้มราชวงศ์โฮ่วโจว และสถาปนาราชวงศ์ซ่งเหนือ ขึ้นในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและราชวงศ์โจวยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โจวตะวันออก

ราชวงศ์โจวตะวันออก(771-256 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองสืบต่อจากราชวงศ์โจวตะวันตกโดยมีเมืองหลวงอยู่ที่ลั่วหยาง ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของเมืองซีอาน เมืองหลวงเก่าของราชวงศ์โจวตะวันตกปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์นี้คือพระเจ้าโจวผิงหวัง ราชวงศ์นี้เป็นราชวงศ์แค่ในนามเพราะองค์กษัตริย์ทรงไร้พระราชอำนาจที่จะปกครองเหล่าอ๋องต่างๆ ได้ เนื่องจากอ๋องต่างๆ ได้แข็งเมืองและทำสงครามแย่งชิงอำนาจกัน ในสมัยราชวงศ์นี้การแย่งชิงอำนาจกันของเหล่าอ๋องแบ่งเป็น 2 ยุคโดยยุคแรกเรียกว่า ยุคชุนชิว หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล หมวดหมู่:สิ้นสุดในศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและราชวงศ์โจวตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โจวตะวันตก

ราชวงศ์โจวตะวันตก(Western Zhou Dynasty, 1046 - 771 ปีก่อน ค.ศ.) สถาปนาโดย จี ฟา หรือ พระเจ้าโจวอู่หวัง เมื่อ 1046 ปีก่อน..หลังจากสามารถโค่น ราชวงศ์ซาง ลงได้สำเร็จ ราชวงศ์นี้ถือเป็นราชวงศ์แรกที่เริ่มใช้ระบบ ศักดินา และเป็นราชวงศ์แรกที่เริ่มแบ่งดินแดนออกเป็นแคว้นและแต่งตั้งเชื้อพระวงศ์แซ่เดียวกันขึ้นเป็น อ๋อง พร้อมกับส่งอ๋องเหล่านั้นไป ปกครองแคว้นต่างๆ ราชวงศ์นี้มีกษัตริย์ปกครองทั้งสิ้น 12 พระองค์ก่อนที่จะสิ้นสุดราชวงศ์ในรัชสมัยของ พระเจ้าโจวอิวหวัง และได้ย้ายราชธานีไปอยู่ลั่วหยาง ซึ่งอยู่ทางตะวันออกทำให้ราชวงศ์โจวตะวันตกสิ้นสุดลง หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในศตวรรษที่ 11 ก่อนคริสตกาล หมวดหมู่:สิ้นสุดในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล ca:Zhou.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและราชวงศ์โจวตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เซี่ย

ตแดนราชวงศ์เซี่ย (สีเหลือง) ราชวงศ์เซี่ย (ภาษาอังกฤษ: Xia Dynasty) (ภาษาจีนกลาง: 夏朝) (พินอิน: xià cháo) เป็นราชวงศ์แรกของจีน ปกครองประเทศจีนในช่วง 2100-1600 ปีก่อนคริสตกาล มีอายุอยู่ได้ราว 500 ปี ในอดีตนักวิชาการและบุคคลโดยทั่วไปเชื่อว่าเรื่องราวของราชวงศ์เซี่ยเป็นเพียงเรื่องแต่งหรือปรัมปราที่เล่าสืบต่อกันมา แต่ปัจจุบันมีการขุดค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีที่เชื่อถือได้ ในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและราชวงศ์เซี่ย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษา

รายชื่อภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกเรียงตามลำดับตัวอักษร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1

ตารางนี้ประกอบด้วยรหัสทั้งหมดของ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและรายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)

รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (List of fields of doctoral studies) นี้จัดทำขึ้นโดย "ศูนย์วิจัยความเห็นแห่งชาติ" (Opinion Research Center หรือ NORC) ที่ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยชิคาโก สหรัฐอเมริกาจากการสำรวจปริญญาเอกที่มีผู้จบการศึกษารายปี โดยจัดทำให้กับมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ และหน่วยงานของรัฐบาลกลางอีกหลายหน่วยงานในสหรัฐฯ ทั้งหมดนี้คือสายวิชาการศึกษาระดับปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยที่มุ่งสู่ปริญญาดุษฎีบัณฑิตปรัชญา (Doctor of Philosophy หรือ Ph.D.) และการศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (Doctor of Education Ed.D 1หรือ D.Ed) ที่เปิดสอนในสหรัฐฯ ซึ่งในปีการศึกษา 2547-2548 พบว่าร้อยละ 90.3 ของปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยจำนวน 43,354 ปริญญาในสหรัฐฯ ปริญญาเป็น Ph.D. และร้อยละ 7.0 เป็น Ed.D. การศึกษาระดับปริญญาเอกสาขาวิชาชีพ (professional doctorates) เช่น แพทยศาสตร์ (Doctor of Medicine - M.D.) และปริญญาเอกด้านกฎหมาย (Juris Doctor - J.D.) ไม่นับรวมในรายชื่อนี้.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและรายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อหนังสือพิมพ์ในประเทศไทย

รายชื่อหนังสือพิมพ์ในประเทศไท.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและรายชื่อหนังสือพิมพ์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศจีน

หน้านี้คือรายการของธงต่างๆ ของประเทศจีน ที่เคยใช้ในอดีตและมีการใช้อยู่ในปัจจุบัน ทั้งในสาธารณรัฐประชาชนจีน ฮ่องกง มาเก๊า และสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและรายชื่อธงในประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในกันดั้มดับเบิลโอ

รายละเอียดของตัวละครจากภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกันดั้มดับเบิลโอผลงานของบริษัทซันไร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและรายชื่อตัวละครในกันดั้มดับเบิลโอ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์

ตัวละครจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง ซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและรายชื่อตัวละครในซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนิยายปรัมปรา

รายชื่อเทพนิยาย เทพนิยาย.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและรายชื่อนิยายปรัมปรา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ราชวงศ์โจว

ราชวงศ์โจว ปกครองจีนระหว่าง กลางศตวรรษที่ 11 ก่อนคริสตกาล ถึง 256 ปีก่อนคริสตกาล จ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและรายพระนามพระมหากษัตริย์ราชวงศ์โจว · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ราชวงศ์เซี่ย

ราชวงศ์เซี่ย ปกครองจีนระหว่าง 2100-1600 ปีก่อนคริสตกาล ซ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและรายพระนามพระมหากษัตริย์ราชวงศ์เซี่ย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิจีน

รายพระนามจักรพรรดิจีน รวมถึงรัชทายาทของประเทศจีนที่มีชื่อต่างๆ จากยุคโบราณ จนถึงราชวงศ์ชิง การปกครองมักจะถือกรรมสิทธิ์คือ กษัตริย์ (Chinese: 王 Wáng) มีการแบ่งแยกจีนในรัฐต่อสู้กันแยกเป็นสัดส่วน รายพระนามจักรพรรดิจีน มี ดังนี้ สำหรับลิงก์เหล่านี้เพื่อดูว่าเหล่าราชวงศ์มีความสัมพันธ์กัน ไดแก่ พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในยุคโบราณ → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงต้น → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงกลาง → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงปล.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและรายพระนามจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก

2012 ณ กรุงลอนดอน, ประเทศสหราชอาณาจักร 1972 ณ เมืองซัปโปะโระ 1956 ณ เมืองกอร์ตีนาดัมเปซโซ 1936 ณ เมืองการ์มิช-พาร์เทนเคียร์เชิน กีฬาโอลิมปิก ในปัจจุบันเป็นการแข่งขันหลากหลายประเภทกีฬาทั้งฤดูร้อน ฤดูหนาว รวมถึงเยาวชน โดยจะจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี สลับกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อน และโอลิมปิกฤดูหนาว ในระหว่างพิธีเปิดโอลิมปิก ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลในสมัยนั้นๆจะกล่าวสุนทรพจน์ก่อนที่จะเชิญประธานในพิธีกล่าวเปิดอย่างเป็นทางการ ตามกฎบัตรโอลิมปิก ผู้ที่จะกล่าวเปิดกีฬาโอลิมปิกอย่างเป็นทางการจะต้องเป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศเจ้.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รายการเครื่องอิสริยาภรณ์สาธารณรัฐประชาชนจีน

ตารางข้างล่างนี้แสดงเครื่องอิสริยาภรณ์ของสาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและรายการเครื่องอิสริยาภรณ์สาธารณรัฐประชาชนจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรองประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีน

รายนามรองประธาน และรองประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและรายนามรองประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีน

รายนามประธาน และประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีน · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลม้าทองคำ

รางวัลม้าทองคำ (臺北金馬影展; Golden Horse Awards) เป็นรางวัลที่มอบให้กับภาพยนตร์ภาษาจีนซึ่งมาจากทั้ง ฮ่องกง, ไต้หวัน และจีนแผ่นดินใหญ่ โดยมอบในเทศกาลภาพยนตร์ดังกล่าวทุกปี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและรางวัลม้าทองคำ · ดูเพิ่มเติม »

ริกกี้ ฮุย

ริกกี้ ฮุย (Ricky Hui, Ricky Hui Koon-Ying, จีนตัวเต็ม: 許冠英, จีนตัวย่อ: 许冠英, พินอิน: Xǔ Guànyīng) อดีตนักแสดงและนักร้องชาวฮ่องกงที่มีชื่อเสียง โดยเฉพาะในแนวตลกชวนหัว ริกกี้ ฮุย มีชื่อในภาษาจีนว่า สวี กวนอิง เกิดเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม ค.ศ. 1946 ที่อำเภอพานอวี๋ ในเมืองกวางโจว เป็นน้องชายคนรองในบรรดาพี่น้องตระกูลฮุยที่โด่งดังในแวดวงบันเทิงของฮ่องกงในยุคทศวรรษที่ 70-80 ซึ่งประกอบไปด้วย ไมเคิล ฮุย, สแตนลี่ย์ ฮุย, ริกกี้ ฮุย และ แซม ฮุย ริกกี้อพยพมาอาศัยอยู่ที่ฮ่องกงพร้อมกับครอบครัวตั้งแต่เล็ก ๆ ซึ่งแม้ทางครอบครัวจะมีความเป็นอยู่อัตคัดขัดสนเงินทอง โดยพ่อซึ่งเป็นหัวหน้าครอบครัวต้องทำงานทุกอย่างเพื่อจุนเจือครอบครัว แต่ในครอบครัวตระกูลฮุยก็ไม่เคยขาดเสียงเพลง ทั้งเสียงไวโอลินที่พ่อมักจะบรรเลง และงิ้วปักกิ่งที่ผู้เป็นแม่มักจะทำเป็นส่วนตัว เมื่อจบการศึกษา ริกกี้ เริ่มทำงานเป็นนักข่าวของ Agence France-Presse ต่อมาได้เข้าสู่วงการบันเทิง จากตัวบทประกอบที่บริษัทชอว์บราเดอร์ จนประสบความสำเร็จอย่างสูงในการร่วมงานกับ ไมเคิล พี่ชายคนโต และ แซม น้องชายคนเล็ก ซึ่งได้รับการจดจำในนาม "พี่น้องตระกูลฮุย" โดยเฉพาะกลางยุคทศวรรษที่ 70 กับภาพยนตร์ตลกภาษากวางตุ้ง ที่เข้ามาแทนภาพยนตร์ภาษาจีนกลาง ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงแวดวงภาพยนตร์ฮ่องกงไปตลอดกาล ผลงานที่ทั้ง 3 ได้ร่วมงานกันและประสบความสำเร็จที่สุดก็คือ The Private Eyes ในปี ค.ศ. 1976 หรือ เก่งกับเฮง ภาพยนตร์ตลกที่บอกเล่าถึงวิถีชีวิตคนที่หาเช้ากินค่ำในฮ่องกง นอกจากนั้นยังมีงานที่ทั้งสามได้ร่วมงานกันอีก ได้แก่ The Contract ในปี ค.ศ. 1978, Games Gamblers Play ในปี ค.ศ. 1974 และ Security Unlimited ค.ศ. 1981 ซึ่งผลงานการแสดงของริกกี้ที่โด่งดังและถือได้ว่าประสบความสำเร็จที่สุด คือ การรับบท อาหมั่น ลูกศิษย์ของอาจิ่ว (หลิน เจิ้งอิง) นักพรตเหมาซานปราบผีดิบ ใน Mr. Vampire หรือ ผีกัดอย่ากัดตอบ ในปี ค.ศ. 1985 ที่เซ่อ ๆ ซ่า ๆ ทำให้ต้องเจ็บตัวบ่อย ๆ หรือประสบกับโชคร้ายจนกลายมาเป็นเอกลักษณ์ที่ติดตัว นอกจากงานแสดงแล้ว ริกกี้ ฮุย ยังมีความสามารถด้านการร้องเพลง แม้จะไม่ได้โด่งดังมีชื่อเสียงเช่นเดียวกับน้องชาย แซม ฮุย แต่ก็ถือว่าประสบความสำเร็จไม่น้อย มีผลงานอัลบั้มเดี่ยวออกมาหลายชุด และยังมีกำหนดจะขึ้นร่วมแสดงในคอนเสิร์ตของ แซม ฮุย ที่จะเปิดแสดงในเดือนเมษายน ที่ฮ่องกงในปี ค.ศ. 2012 ด้วย ริกกี้ ฮุย เสียชีวิตด้วยวัย 65 ปี ที่บ้านพักส่วนตัวที่เกาะเกาลูน โดยถูกพบว่านอนเสียชีวิตแล้วบนเตียง เมื่อคืนของวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 2011 โดยคาดว่าน่าจะเสียชีวิตมาเป็นเวลาพอสมควรแล้ว และน่าจะเป็นการเสียชีวิตจากโรคหัวใจ ที่เจ้าตัวเองป่วยอยู่ และรักษามานานหลายปี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและริกกี้ ฮุย · ดูเพิ่มเติม »

ลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง

ในสาขาจิตวิทยา ลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง (Big Five personality traits) หรือ แบบจำลองมีปัจจัย 5 อย่าง (five factor model ตัวย่อ FFM) เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับมิติหรือปัจจัยใหญ่ ๆ 5 อย่างที่ใช้อธิบายบุคลิกภาพและสภาพทางจิตใจของมนุษย์ โดยมีนิยามของปัจจัย 5 อย่างว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง · ดูเพิ่มเติม »

ลังกาวตารสูตร

ลังกาวตารสูตร (लंकावतारसूत्र Laṅkāvatāra Sūtra) เป็นพระสูตรเก่าแก่เล่มหนึ่งในนิกายมหายาน พระสูตรนี้ไม่ปรากฏในพระไตรปิฎกภาษาบาลีของเถรวาท แต่งขึ้นเมื่อใดไม่ปรากฏ แต่ได้แปลเป็นภาษาจีนครั้งแรกราว..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและลังกาวตารสูตร · ดูเพิ่มเติม »

ลาซา

ลาซา เป็นเมืองหลวงของเขตปกครองตนเองทิเบตแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดว่าเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสองในที่ราบสูงทิเบต รองจากเมืองซีหนิง และอยู่สูงจากระดับน้ำทะเลถึง 3,490 เมตร (11,450 ฟุต) ซึ่งนั่นเองทำให้ลาซากลายเป็นหนึ่งในเมืองที่อยู่สูงที่สุดของโลก ในเมืองประกอบไปด้วยหลายวัฒนธรรมที่สำคัญ โดยเฉพาะศาสนสถานของศาสนาพุทธ-ทิเบต เช่นพระราชวังโปตาลา หรือ วัดโจคัง หรือ พระราชวังโนร์บูกลิงกา เป็นต้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและลาซา · ดูเพิ่มเติม »

ลิงลม

ลิงลม หรือ นางอาย หรือ ลิงจุ่น (Slow lorises, Lorises; อินโดนีเซีย: Kukang) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสกุลหนึ่ง ในวงศ์ Lorisidae ในอันดับไพรเมต (Primates) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nycticebus (/นิค-ติ-ซี-บัส/).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและลิงลม · ดูเพิ่มเติม »

ลิเลียน ลี

ลิเลียน ลี (李碧華, Lilian Lee) เป็นนามปากกาของนักเขียนหญิงชาวฮ่องกง มีผลงานเขียนนวนิยายและบทกวีภาษาจีนมากกว่า 90 ชิ้น โดยเรื่องที่สร้างชื่อเสียงให้แก่เธอ ได้แก่เรื่อง 霸王別姬 (Farewell My Concubine) ที่ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์เรื่อง หลายแผ่นดิน แม้สิ้นใจ ก็ไม่ลืม กำกับโดย เฉิน ข่ายเกอ ลิเลียน ลี มีชื่อจริงว่า Lee Bak (李白) เกิดที่ตำบลไทชาน กว่างโจว จบการศึกษาจากโรงเรียนสตรี True Light Middle School ในฮ่องกง ทำงานเป็นครูโรงเรียนประถม นักข่าว นักเขียนบทความ และเขียนบทภาพยนตร์โทรทัศน์ งานเขียนของเธอถูกดัดแปลงเป็นภาพยนตร์หลายเรื่อง ได้แก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและลิเลียน ลี · ดูเพิ่มเติม »

ลี เชารัน

ลี่ เชารัน ลี่ เชารัน หรืออ่านตามสำเนียงภาษาจีนว่า หลี่เสี่ยวหลาง (พินอิน:Lǐ Xiǎoláng) เป็นตัวละครในเรื่อง ซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์ ของกลุ่มแคลมป์ นอกจากนั้นยังเป็นตัวละครในเรื่อง สึบาสะ สงครามเทพข้ามมิติ และ XXXโฮลิค ด้วย ให้เสียงพากย์โดย โมโตโกะ คุมาอิ (ในเรื่อง ซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์) และ มิยู อิริโนะ (ในเรื่อง สึบาสะ สงครามเทพข้ามมิติ).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและลี เชารัน · ดูเพิ่มเติม »

วรรณคดีเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

วรรณคดีเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นวรรณกรรมที่มีความสำคัญของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มักเป็นเรื่องราวที่เกิดจากวรรณคดีภาษาสันสกฤต อันได้แก่ รามายณะ, มหาภารตะ และคัมภีร์ปุราณะ ควบคู่กันกับนิทานพื้นเมืองของแต่ละชาติ โดยมากมักเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับวิถีชีวิต ความเชื่อ และคติต่างๆของผู้คนในแต่ละภูมิภาค รวมถึง อาจมีการสอดแทรกความเชื่อทางศาสนา และประเพณีวัฒนธรรม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวรรณคดีเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

วอก

right วอก เป็นชื่อปีที่ 9 ของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นลิง พุทธศักราชที่ตรงกับปีวอก เช่น พ.ศ. 2511 พ.ศ. 2523 พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2547 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2571 พ.ศ. 2583 และ พ.ศ. 2595 เป็นต้น โดยวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดรอบปีนักษัตรไม่แน่นอนเมื่อเทียบกับปฏิทินสากล และนับต่างกันระหว่างแบบจีนกับแบบไทย โดยการใช้สัญลักษณ์ลิงเป็นตัวแทนประจำปีนั้นมีที่มาจากจีน โดยปรากฏมีหลักฐานทางโบราณว่าตั้งแต่ก่อนยุคราชวงศ์ฉิน (221 ปีก่อนค.ศ. – 207 ปีก่อนค.ศ.) ก็ปรากฏมีการใช้สัตว์ประเภทต่าง ๆ แทนปีนักษัตรแล้ว โดยลิงซึ่งเป็นตัวแทนปีวอกนั้น การออกเสียงในภาษาจีน (猴) เป็นคำพ้องเสียงกับการออกเสียงเรียกบรรดาศักดิ์ขั้นหนึ่งของขุนนางจีนในยุคโบราณ ดังนั้นลิงจึงเป็นนัยของการอวยพรถึงการมียศถาบรรดาศักดิ์ในยุคโบราณที่ยังมีการปกครองแบบราชาธิปไตย เทียบความหมายในยุคปัจจุบัน คือ ความเจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน ในภาพจิตรกรรมแบบจีน ลิงจึงมักปรากฏในคติเช่นนี้ เช่น รูปลิงปีนต้นไม้แล้วแขวนตราประจำตำแหน่ง หรือลิงขี่ม้า หมายถึง ขอให้มีความก้าวหน้าในเร็ววัน ตามความเชื่อในเชิงโหราศาสตร์แบบจีน ผู้ที่เกิดปีวอกจะไม่ถูกกับผู้ที่เกิดปีขาล (เสือ) หากเป็นคู่สามีภรรยาที่ครองคู่ด้วยกันจะทะเลาะกันอย่างรุนแรง หากแต่ปีวอกนั้นจะสมพงษ์กับผู้ที่เกิดปีมะเส็ง (งูเล็ก) และในส่วนคติความเชื่อแบบล้านนา ผู้ที่เกิดปีวอก พระเจดีย์ธาตุประจำปีเกิด คือ พระธาตุพนม ณ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวอก · ดูเพิ่มเติม »

วอลรัส

วอลรัส (walrus) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดเดียวในวงศ์ Odobenidae และสกุล Odobenus อาศัยอยู่แถบขั้วโลกเหนือ รูปร่างคล้ายสิงโตทะเล แต่ตัวใหญ่กว่ามากและมีเขี้ยวยาว วอลรัสเพศผู้โตเต็มวัยอาจมีน้ำหนักได้มากถึง 2,000 กิโลกรัม และมีอายุยืนถึง 20-30 ปี วอลรัสมีความสำคัญต่อชนพื้นเมืองที่อาศัยในเขตอาร์กติก การล่าวอลรัสในช่วงศตวรรษที่ 19-20 ส่งผลให้จำนวนวอลรัสลดลง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวอลรัส · ดูเพิ่มเติม »

วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร

ระสุภูติกราบทูลอาราธนาพระโคตมพุทธเจ้าแสดงวัชรปรัชญาปารมิตาสูตร ภาพจากม้วนหนังสือวัชรปรัชญาปารมิตาสูตรที่พบในถ้ำผาม่อเกา ประเทศจีน วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร (Diamond Sutra) เป็นชื่อพระสูตรสำคัญหมวดปรัชญาปารมิตาของพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน เชื่อกันว่าพระสูตรหมวดปรัชญาปารมิตานี้เป็นพระสูตรมหายานรุ่นแรก ๆ ที่เกิดขึ้น เนื้อหาสาระสำคัญเป็นเรื่องราวการเทศนาสั่งสอนของพระพุทธเจ้ากับพระสุภูติซึ่งเป็นพระอรหันตสาวก ที่พระเชตวันมหาวิหาร ว่าด้วยการบำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์ จะต้องกระทำด้วยความไม่ยึดมั่นถือมั่นในสรรพสิ่งทั้งปวง เป็นการอรรถาธิบายถึงหลักศูนยตา ความว่างเปล่าปราศจากแก่นสารของอัตตาตัวตนและสรรพสิ่งทั้งปวง แม้ธรรมะและพระนิพพานก็มีสภาวะเป็นศูนยตาด้วยเช่นเดียวกัน สรรพสิ่งเป็นแต่เพียงสักว่าชื่อเรียกสมมติขึ้นกล่าวขาน หาได้มีแก่นสารแท้จริงอย่างใดไม่ เพราะสิ่งทั้งปวงอาศัยเหตุปัจจัยประชุมพร้อมกันเป็นแดนเกิด หาได้ดำรงอยู่ด้วยตัวของมันเอง เช่นนี้สิ่งทั้งปวงจึงเป็นมายา พระโพธิสัตว์เมื่อบำเพ็ญบารมีพึงมองเห็นสรรพสิ่งในลักษณะเช่นนี้ เพื่อมิให้ยึดติดในมายาของโลก ท้ายที่สุด พระพุทธองค์ได้สรุปว่าผู้เห็นภัยในวัฏสงสารพึงยังจิตมิให้บังเกิดความยึดมั่นผูกพันในสรรพสิ่งทั้งปวง เพราะสังขตธรรมนั้นอุปมาดั่งภาพมายา ดั่งเงา ดั่งความฝัน ดั่งฟองในน้ำ และดั่งสายฟ้าแลบ เกิดจากการอิงอาศัยไม่มีสิ่งใดเป็นแก่นสารจีรังยั่งยืน แนวคิดเรื่องศูนยตานี้ได้พัฒนาต่อไปโดยท่านคุรุนาคารชุนแห่งนิกายมาธยมิกะ จนกลายเป็นความคิดหลักทางพุทธปรัชญาที่ลึกล้ำและโดดเด่นในโลกจนทุกวันนี้ พระสูตรนี้มีแปลเป็นภาษาไทยโดย เสถียร โพธินันท.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวัชรปรัชญาปารมิตาสูตร · ดูเพิ่มเติม »

วัจนภาษา

การสะกดคำเป็นสิ่งหนึ่งที่จำเป็นในวัจนภาษา วัจนภาษา หมายถึงการสื่อสารในระบบคำและประโยค โดยผ่านการฟัง พูด อ่าน เขียน โดยจะมีคำเป็นตัวสื่อความหมาย ซึ่งในประโยคใดๆ คำแต่ละคำจะเขียนและอ่านได้เพียงวิธีเดียวเท่านั้น กล่าวคือ ถึงแม้ว่าคำบางคำอาจมีตัวสะกดเหมือนกัน(คำพ้องรูป) หรือ คำบางคำอ่านอ่านออกเสียงเหมือนกัน(คำพ้องเสียง) แต่คำใดๆก็ตามเมื่ออยู่ในประโยคแล้ว ย่อมเขียนและอ่านได้เพียงรูปแบบเดียว เช่น ช่วงนี้ทำงานให้มันเพลาๆลงบ้าง คำว่าเพลาเป็นคำพ้องรูป อาจอ่านว่า เพลาซึ่งหมายถึง แกนหมุนของล้อหรือการทำงานไม่หักโหม หรืออ่านว่า เพ-ลา ซึ่งแปลว่า เวลา แต่ในประโยค ช่วงนี้ทำงานให้มันเพลาๆลงบ้าง คำว่า เพลาต้องอ่านว่า เพลา เท่านั้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวัจนภาษา · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธรรมกาย

วัดพระธรรมกาย เป็นวัดในสังกัดมหานิกาย ก่อตั้งเมื่อ 20 กุมภาพัน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวัดพระธรรมกาย · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระแม่สกลสงเคราะห์

วัดพระแม่สกลสงเคราะห์ (Beata Maria Virginis Omnis Gratiae Mediatricis; The Blessed Virgin Mary The Mediatrix of all Graces Church) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิก ขนาดใหญ่ที่สุดในเขตอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 179 หมู่ 5 ตำบลโสนลอย บนที่ดินบริเวณหลังตลาดสดเทศบาลเมืองบางบัวทอง ริมคลองขุนพระพิมลราชา ใกล้กับถนนกาญจนาภิเษก มีพิธีเสกวัดเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1927 (พ.ศ. 2470) โดยมีการจัดสร้างอาคารวัดขึ้นใหม่อีก 2 ครั้ง ในรอบ 65 ปี ทั้งนี้ วัดพระแม่สกลสงเคราะห์หลังปัจจุบัน มีพิธีเสกเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 1992 (พ.ศ. 2535) ปัจจุบัน (ตั้งแต่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2009) มีคุณพ่อยอห์น บัปติสตา บุญเสริม เนื่องพลี ดำรงตำแหน่งอธิการ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวัดพระแม่สกลสงเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดเส้าหลิน

วัดเส้าหลินหรือสำนักเส้าหลิน (เส้าหลินซื่อ; แต้จิ๋ว: เสี้ยวลิ้มยี่; ฮกเกี้ยน: เชี้ยวหลิมซี; คำแปล: วัดป่าบนเขาเส้าซื่อ) เป็นวัดทางพระพุทธศาสนานิกายมหายานที่มีความเก่าแก่อายุมากกว่า 1,500 ปี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเทือกเขาซงซาน หนึ่งในจำนวนห้ายอดเขาอันศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของชาวจีน เป็นเทือกเขาที่มีชื่อเสียงมากที่สุดทั้งในด้านของประวัติศาสตร์และในแวดวงยุทธภพ ประกอบด้วยยอดเขาน้อยใหญ่จำนวน 72 ยอด แบ่งเป็นสองกลุ่มคือในกลุ่มของเขาไท่ซื่อ จำนวน 36 ยอด และกลุ่มของเขาเส้าซื่อ จำนวน 36 ยอด ในอำเภอเติงเฟิง เมืองเจิ้งโจว มณฑลเหอหนาน ประเทศจีน อยู่กึ่งกลางระหว่างเมืองเจิ้งโจวและเมืองลั่วหยาง บริเวณรอบ ๆ วัดเส้าหลินเป็นพื้นที่โล่งกว้าง ใช้สำหรับฝึกวิทยายุทธของหลวงจีน รายล้อมด้วยป่าเจดีย์หรือถ่าหลิน ซึ่งเป็นสุสานของอดีตเจ้าอาวาสและหลวงจีน ซึ่งมีมาตั้งแต่ในยุคสมัยของราชวงศ์ถัง วัดเส้าหลินมีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดในประเทศจีนและในต่างประเทศ ได้รับการกล่าวขานในเรื่องของกระบวนท่าวิทยายุทธ เพลงหมัดมวย พลังลมปราณและกังฟูเส้าหลินเป็นอย่างมาก เป็นแหล่งวิชาการต่อสู้และศิลปะการป้องกันตัวที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของจีน ปรากฏชื่อในนิยายกำลังภายในหลายต่อหลายเรื่อง ซึ่งล้วนแต่กล่าวถึงวิชาเพลงหมัดมวย พลังลมปราณและกังฟูเส้าหลินอยู่เสมอ โดยเฉพาะนิยายกำลังภายในของกิมย้งเช่น มังกรหยก, จอมใจจอมยุทธ์, จิ้งจอกภูเขาหิมะ เป็นต้น ปัจจุบันมีหลวงจีนที่บวชเพื่อศึกษาธรรมะและกังฟูจำนวน 180 รูป มีหลวงจีน ซือ หย่งซิน ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน เป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศจีน ที่ทางรัฐบาลจีนได้ร้องขอต่อองค์กรยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก และได้รับการพิจารณาให้เป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ร่วมกับโบราณสถานอีก 5 แห่ง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวัดเส้าหลิน · ดูเพิ่มเติม »

วันต่อต้านยาเสพติดโลก

วันต่อต้านยาเสพติดโลก (International Day against Drug Abuse and Illicit Trafficking) ตรงกับวันที่ 26 มิถุนายนของทุกปี ตามประกาศตามมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (UNGA) เป็นวันสำคัญสากล เพื่อต่อต้านการใช้ยาในทางผิด และค้ายาที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย โดยหมายความถึงยาเสพติด ยึดถือเป็นวันสำคัญประจำปีมาตั้งแต่การประกาศเมื่อ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) เหตุที่กำหนดวันที่นี้เพื่อเป็นที่ระลึกแก่การถอนสัมปทานการค้าฝิ่นโดยนายอำเภอ หลิน เจ๋อสวี (จีน: 林則徐) ตำบลหู่เหมิน มณฑลกวางตุ้ง ก่อนสงครามฝิ่น (จีน: 虎门销烟) ครั้งแรก สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ มีมติที่ 41/111 เริ่มสอดส่องสังเกตสถานการณ์ยาเสพติดทั่วโลกเมื่อ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) รายงานของสหประชาชาติว่าด้วยการใช้ยาเสพติดทั่วโลก ประเมินมูลค่าการค้ายาในทางที่ผิดถึง 322 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวันต่อต้านยาเสพติดโลก · ดูเพิ่มเติม »

วากยสัมพันธ์

ในทางภาษาศาสตร์ วากยสัมพันธ์ (อังกฤษ: syntax) หมายถึง การศึกษาว่าด้วยกฎของความสัมพันธ์ของแบบแผนองค์ประกอบของประโยคในภาษา อันเป็นส่วนหนึ่งของหลักไวยกรณ์ของภาษา ในภาษาไทย "วากยสัมพันธ์" เป็นส่วนหนึ่งของหลักไวยกรณ์ไทยที่กำหนดขึ้นเป็นหนึ่งในแบบแผนหรือไวยกรณ์ของภาษาไทย ซึ่งประกอบด้วย 4 แบบแผนหลัก ได้แก่ อักขรวิธี ซึ่งศึกษาว่าด้วยอักษร, วจีวิภาค ศึกษาว่าด้วยคำ, วากยสัมพันธ์ ศึกษาว่าด้วยความสัมพันธ์ของคำในประโยค, และ ฉันทลักษณ์ คือ กฎเกณฑ์ของการเขียนภาษาในรูปแบบต่างๆ วากยสัมพันธ์ ยังเป็นชื่อตำราไวยากรณ์ไทยว่าด้วยประโยค และความเกี่ยวข้องของส่วนต่างๆ ในประโยค การศึกษากฎหรือความสัมพันธ์ของภาษาอย่างเป็นแบบแผน ที่ควบคุมการเรียงคำเป็นวลี และวลีเป็นปร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวากยสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

วายเอชบอยส์

วายเอชบอยส์ (อังกฤษ: YHBOYS) (จีน: 乐华少年) ย่อจาก เยฮวาบอยส์ (Yuehua Boys) เป็นบอยแบนด์สัญชาติจีนอยู่ภายใต้บริษัทเยฮวาเอนเตอร์เทนเมนต์ (Yuehua Entertainment) เปิดตัวในปี ค.ศ.2017 ประกอบไปด้วยสมาชิกเด็กชายชาวจีนอายุระหว่าง 10-13 ปี ทั้งหมด 7 คนได้แก่ จาง จวิ้นอี, กัว เตี้ยนเจี่ย, จาง หมิงฮ่าว, หลิว กวานอี้, จาง เอินซั่ว, ซุน เจียข่าย และ หลี่ หลินหม่า ที่ล้วนแต่มีความสามารถเกินอายุ ไม่ว่าจะร้อง เต้น แนวคิดของกลุ่มคือการช่วยให้แฟน ๆ มีส่วนร่วมในการเติบโตของสมาชิกตั้งแต่เริ่มเดบิวท์ในขณะที่สมาชิกทำงานทั้งในด้านการร้องเพลงและการแสดง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวายเอชบอยส์ · ดูเพิ่มเติม »

วายเดอะเทียส์

ปสเตอร์มิวสิคเพลง why the tears โปรโมทการท่องเที่ยว เพลง why the tears ภาษาจีนแมนดาริน ขับร้องโดย ธงไชย แมคอินไตย์ เพลงพิเศษเพื่อจัดทำมิวสิควิดีโอโปรโมทการท่องเที่ยวไทย จัดทำขึ้นเป็นพิเศษ เพื่อนำไปเผยแพร่ใน 5 ประเทศแถบเอเชีย ได้แก่ จีน ฮ่องกง มาเลเซีย ไต้หวัน และสิงคโปร์ เพื่อสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมายชาวจีน ซึ่งเป็นนักท่องเที่ยวกลุ่มใหญ่และมีกำลังซื้อสูง นับเป็นตลาดดาวรุ่งในระดับโลก นอกจากมิวสิควิดีโอดังกล่าวจะครอบคลุมประเทศในแถบเอเชียแล้ว ยังเผยแพร่ที่ไชน่าทาวน์ในทวีปยุโรปและออสเตรเลียตามแนวคิด “Amazing Thailand: Always Amazes You” บอกเล่าเรื่องราวแนะนำสถานที่ท่องเที่ยวผ่านบทเพลงและมิวสิควีดีโอภาษาจีนที่ขับร้องเป็นครั้งแรก โดย เบิร์ด-ธงไชย แมคอินไตย์ แปลงมาจากเพลง "ร้องไห้ทำไม" จากอัลบั้มอาสาสนุก เผยแพร่ตุลาคม 2554.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวายเดอะเทียส์ · ดูเพิ่มเติม »

วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล

วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล (ชื่อเล่น: พิช) เป็นนักแสดง และนักร้องชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากการแสดงเป็น “มิว” ตัวละครเอกของภาพยนตร์ไทยเรื่อง “รักแห่งสยาม” (2550) และการเป็นนักร้องนำวงออกั.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาจีน

วิกิพีเดียภาษาจีน (中文维基百科) เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาจีน เริ่มสร้างเมื่อตุลาคม พ.ศ. 2545 ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษาจีนมีบทความมากกว่า 850,000 บทความ (มกราคม 2559).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวิกิพีเดียภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (North Eastern Technological College; ตัวย่อ: NETC) เดิมชื่อโรงเรียนช่างกลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นวิทยาลัยทางด้านอาชีวศึกษา ตั้งอยู่ที่ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

วิโรจน์ ตั้งวาณิชย์

วิโรจน์ ตั้งวาณิชย์ หรือที่นิยมเรียกกันว่า อาจารย์วิโรจน์ เป็นคนไทยเชื้อสายจีนแซ่ตั้ง จบการมัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัดราชาธิวาสจบการศึกษามหาวิทยาลัยจากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เอกประวัติศาสตร์) ระหว่างที่ศึกษาอยู่นั้นเคยเข้าร่วมการเคลื่อนไหวกับขบวนการนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเหตุการณ์ 6 ตุลา เมื่อปี พ.ศ. 2519 เป็นนักศึกษา 1 ใน 2 คนที่แสดงละครล้อการเมืองที่ต่อมาถูกกล่าวหาว่าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ (อีก 1 คนนั้นคือ อภินันท์ บัวหภักดี) ซึ่งเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้เกิดเหตุการณ์สังหารหมู่ต่อมา หลังจากเหตุการณ์นี้ได้ถูกจองจำในเรือนจำถึง 2 ปี จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2521 จึงได้รับพระราชทานอภัยโทษออกมาสู่อิสรภาพ จากนั้นจึงเดินทางไปภาคใต้ หาเลี้ยงชีพด้วยการร้องเพลงในสถานบันเทิงต่าง ๆ ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2526 จะเดินทางไปศึกษาปริญญาโทด้านภาษาจีนต่อที่มหาวิทยาลัยปักกิ่ง กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน โดยใช้เวลาศึกษาอยู่นาน 5 ปี หลังจากนั้นแล้ว ได้เป็นวิทยากรและอาจารย์พิเศษบรรยายเกี่ยวกับเรื่องราวในแง่มุมต่าง ๆ เกี่ยวกับจีนหรือภูมิปัญญาจีน ตามสถานศึกษาต่าง ๆ จนมาถึงปัจจุบัน เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางครั้งแรกจากการเป็นพิธีกรภาคสนามจากรายการ ตามไปดู ทางช่อง 9 ชีวิตส่วนตัว เป็นบุคคลสาธารณะอีกหนึ่งคนในสังคมไทยที่ยอมรับว่าตัวเองเป็นกะเทย นอกจากนี้แล้ว ยังเป็นนักแสดงในบทประกอบจากภาพยนตร์และละครเรื่องต่าง ๆ อาทิ หงส์เหนือมังกร พ.ศ. 2543, สุริโยไท พ.ศ. 2544,มังกรเดียวดาย (ภาคต่อหงส์เหนือมังกร) พ.ศ. 2547, หมวยอินเตอร์ พ.ศ. 2551, มงกุฎดอกส้ม พ.ศ. 2554, หงส์เหนือมังกร พ.ศ. 2560 และในการถ่ายทอดพิธีเปิดและพิธีปิดโอลิมปิก 2008 ที่ทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย (ทีวีพูล) เป็นผู้ถ่ายทอดสัญญาณในประเทศไทย ก็รับหน้าที่ผู้บรรยายร่วมด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวิโรจน์ ตั้งวาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

วุยก๊ก

วุยก๊ก หรือ เฉาเวย (พินอิน: Cáo Wèi) จัดเป็นก๊กที่ยิ่งใหญ่และมีอำนาจมากที่สุดในบรรดาสามก๊ก ในระหว่างปี พ.ศ. 763 - พ.ศ. 808 (ปี ค.ศ. 220-265) วุยก๊กครอบครองพื้นที่ทางตอนเหนือของประเทศจีน ปกครองโดยโจโฉ ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นราชวงศ์วุยโดยพระเจ้าโจผีและได้สถาปนาโจโฉเป็นปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์วุยอีกพระองค์หนึ่ง วุยก๊กปกครองอาณาจักรโดยจักรพรรดิสืบต่อกันมาทั้งหมด 5 พระองค์ ได้แก่ราชวงศ์วุย, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวุยก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

วีทีวี4

วีทีวี4 เป็นสถานีโทรทัศน์ประเทศเวียดนาม และดำเนินการโดยเครือข่ายโทรทัศน์ วีทีวี (VTV) ออกอากาศ 24 ชั่วโมงต่อวัน ออกอากาศรายการประเภทข่าวทั่วไประหว่างประเทศ รายการบันเทิง และรายการภาคภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส และ รัสเซีย หมวดหมู่:สถานีโทรทัศน์ในประเทศเวียดนาม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวีทีวี4 · ดูเพิ่มเติม »

วีแชท (โปรแกรมประยุกต์)

วีแชท (WeChat) หรือในจีนเรียก Weixin เป็นโปรแกรมเมสเซนเจอร์ที่สามารถใช้งานได้ทั้งโทรศัพท์มือถือที่มีระบบปฏิบัติการ Symbian,BlackBerry OS,ไอโอเอส, แอนดรอยด์, วินโดวส์โฟน และคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ด้วยความที่มีลูกเล่นมากมาย สามารถแชท ส่งรูป ส่งไอคอน ไฟล์เสียง ได้อย่างรวดเร็ว และการคุยแบบเห็นหน้า หรือที่เรียกว่า วีดีโอคอล ทำให้มีผู้ใช้งานแอพนี้เป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวีแชท (โปรแกรมประยุกต์) · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาอินซีเน็ต

วงศ์ปลาอินซีเน็ต (Prochilodus, Flannel-mouth characin) เป็นวงศ์ปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Prochilodontidae (/โพร-ชิ-โล-ดอน-ทิ-ดี/) ปลาในวงศ์นี้มีรูปร่างคล้ายปลาในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) กล่าวคือ มีรูปร่างแบนข้าง ผอมเพรียว เกล็ดมีสีเงินแวววาว มีลายแถบสีคล้ำ ดวงตากลมโต ปากมีขนาดเล็ก ริมฝีปากหนา โดยเฉพาะปากบน และสามารถขยับไปมาได้ตลอด ฟันมี 2 แถวและมีขนาดเล็ก ครีบหางและครีบหลังในบางสกุลมีลายแถบสีดำ มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแม่น้ำและแหล่งน้ำจืดของทวีปอเมริกาใต้ เช่น แม่น้ำอเมซอนและสาขา เป็นปลาที่กินได้ทั้งพืชและสัตว์ โดยใช้ปากที่ขยับไปมาได้ตลอดเวลานั้นตอดหาอาหารกินตามพื้นท้องน้ำ และวัสดุใต้น้ำต่าง ๆ ผสมพันธุ์และวางไข่ได้ครั้งละ 100,000 ฟอง มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 30 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดถึง 80 เซนติเมตร นับเป็นปลาเศรษฐกิจที่นิยมบริโภคกันในท้องถิ่น อีกทั้งยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย โดยเฉพาะในสกุล Semaprochilodus หรือที่รู้จักกันดีในแวดวงปลาสวยงามว่า "อินซีเน็ต" โดยนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาที่ใช้ทำความสะอาดตู้เลี้ยง เพราะเป็นปลาที่ใช้ปากตอดเศษอาหารและตะไคร่น้ำได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังมีความสวยงามอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีความเชื่อว่า ปลาชนิดนี้ควรเลี้ยงคู่กับปลาอะโรวาน่าหรือปลามังกร เพราะมีชื่อเรียกในภาษาจีนว่า "เฟยหง" (จีนตัวเต็ม: 飛鳳) เมื่อเลี้ยงคู่กันแล้วจะเปรียบเสมือนหงส์คู่มังกร มีทั้งหมด 21 ชนิด 3 สกุล.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและวงศ์ปลาอินซีเน็ต · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิชัย บำรุงพงศ์

ักดิชัย บำรุงพงศ์ (12 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 — 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557) นักการทูต นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ เจ้าของนามปากกา เสนีย์ เสาวพงศ์ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและศักดิชัย บำรุงพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลเจ้าไท้เพ่งอ๊วงกง

ศาลเจ้าไท้เพ่งอ๊วงกงตั้งอยู่ใน จังหวัดสมุทรสงครามเป็นศาลเจ้าที่ชาวจีนพร้อมใจกันสร้างขึ้น บริเวณปากคลองแควอ้อม จากการแปลตราสาร ขออนุญาตตั้งศาลเจ้า ศาลเจ้าไท้เพ่งอ๊วงกง ที่เขียนไว้เป็นภาษาจีน ว่า ตราสารฉบับนี้ส่วนหนึ่งเป็นประวัติการสร้างศาลเจ้า กล่าวถึง ค่ายบางกุ้ง และ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ความว่าทหารพม่าล้อมค่ายบางกุ้งนานถึง 41วัน เมื่อ เดือนยี่ แรม 6 ค่ำ ชาวบ้านและทหารไทย-จีน ที่อยู่ในค่ายได้รับความลำบากมากข้าวปลาอาหารขาดแคลนพวกชาวบ้านคนชรายอมอดอาหาร เพื่อเอาอาหารให้ทหารไทย-จีนกิน ฝ่ายไต้ก๋งเจียม คือ ออกหลวงเสนาสมุทร ซึ่งเป็นผู้ดูแลเมืองแม่กลองในสมัยนั้น ได้แจ้งไปยังกรุงธนบุรี ขอกำลังช่วยรบกับพม่า หลังจากตีพม่าแตกพ่ายแล้ว ก่อนพระเจ้าตากสินเสด็จกลับ ได้มีบัญชาให้ทหารไทยจำนวนหนึ่งช่วยรักษาเมืองแม่กลอง โดยให้อยู่ร่วมกับทหารจีน โดยมีพระบรมราโชวาทให้อยู่ร่วมกัน ช่วยเหลือเกือกูลกัน อย่าได้รังเกียจเดียดฉันท์ พสกนิกรชาวจีนให้ความเคารพสักการะพระองค์ประดุจเทพเจ้าองค์หนึ่ง ถือกันว่าแผ่นดินตรงไหน พระองค์เสด็จไปถึง และพระบาทขอพระองค์ประทับลงตรงที่นั้นประชาชนจะได้รับแต่ความสุขความเจริญ สงบสันติทั่วทั้งภูมิภาคนั้น ดังนั้น ภายหลังพสกนิกรชาวจีนจึงได้สร้างศาลบูชาขึ้น ตรงที่พระออกเสด็จออกเรือ ท้ายค่ายบางกุ้ง เพื่อเป็น สถานที่เคารพบูชาของชาวจีนโดยทั่วไป โดยได้ถวายนามเป็นภาษาจีนว่า "ไท้เพ่งอ๊วงกง" แปลเป็น ภาษาไทย ว่า "เทพเจ้าแห่งสันติ" ตรงเหนือบานประตูด้านในศาลเจ้า มีง้าว แขวนอยู่ 1เล่ม ภายในมีพระประทาน พร้อมทั้งพระโมคคัลลา พระสารีบุตร ทั้งยังมีรูปปั้นจีนและเซียนมากมาย ที่สำคัญ คือ มีรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชตั้งอยู่บนแท่นบูชา ท หมวดหมู่:จังหวัดสมุทรสงคราม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและศาลเจ้าไท้เพ่งอ๊วงกง · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศจีน

นาพุทธได้เข้ามาในประเทศจีน ดังที่ปรากฏในหลักฐาน เมื่อประมาณ..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและศาสนาพุทธในประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในเอเชียกลาง

อเชียกลาง เป็นสถานที่อันเป็นที่ตั้งของประเทศคีร์กีซสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศเติร์กเมนิสถาน และทางตอนใต้ของประเทศคาซัคสถาน นอกจากนี้ยังรวมไปถึงเขตปกครองตนเองทิเบต เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ของสาธารณรัฐประชาชนจีน บางส่วนของประเทศมองโกเลีย และไซบีเรียตอนใต้ด้วย ในดินแดนเอเชียกลางนี้เองที่เป็นแหล่งชุมนุมศิลปกรรมวัตถุที่เคารพบูชาในพุทธสาสนา โดยในอดีตได้เคยเป็นศูนย์กลาง และเส้นทางเผยแผ่พุทธศาสนามาหลายศตวรรษ โดยประเทศจีนเองก็ได้รับพุทธศาสนาจากอินเดียโดยผ่านมาจากเส้นทางนี้ นอกจากนี้เอเชียกลางยังเป็นศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญระหว่างจีน อินเดีย และประเทศต่างๆในแถบยุโรป จนเกิดตำนานเส้นทางสายไหม ฉะนั้นเอเชียกลางจึงเป็นศูนย์รวมของวัฒนธรรมอันหลากหลาย โดยมีพุทธสถาน และปูชนียสถานมากมายในอดีต เช่น วัดวาอาราม ถ้ำ สถูป ภาพจิตรกรรม ประติมากรรม คัมภีร์ และเอกสารจดหมายเหตุต่างๆ ที่เป็นภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาโขรฐี และภาษาจีน เป็นต้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและศาสนาพุทธในเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

สกายซิตี (ฉางชา)

กายซิตี้ (จีน: 天空城市) (Sky City) เป็นตึกที่สูงที่สุดในโลกตั้งอยู่ที่เมืองฉางชา มณฑลหูหนาน ประเทศจีน โดยตึกสกายซิติ้จะมีทั้งหมด 221 ชั้น มีระดับความสูงถึง 838 เมตร ซึ่งสูงกว่าตึกเบิร์จคาลิฟา 10 เมตร เมื่อสร้างเสร็จจะใช้เป็นพื้นที่สำหรับอยู่อาศัยร้อยละ 83 รองรับผู้เข้าอยู่อาศัยได้ถึง 31,400 คน ส่วนพื้นที่ที่เหลือจะใช้เป็นสำนักงาน โรงแรม โรงเรียน โรงพยาบาล ห้างขายของ และห้องอาหาร ส่วนการขึ้นลงอาคารจะใช้ลิฟต์ความเร็วสูงราว 104 ตัว ผู้จัดการออนไลน์ 21 พฤษภาคม 2556 โดยตึกถูกออกแบบสร้างโดยกลุ่มวิศวกรและสถาปนิกผู้ผ่านงานสร้างตึก เบิร์จคาลิฟา (Burj Khalifa) และเป็นบริษัท Broad Group ผู้ก่อสร้างเดียวกันกับการประกอบโรงแรม Ark Hotel สูง 30 ชั้น ในมณฑลหูหนานที่ใช้เวลาก่อสร้างเพียง 15 วัน บริษัท บรอด ซัสเทนเนเบิล บิวดิ้ง คอร์ป บริษัทเจ้าของผลงาน Ark Hotel ของจีน ได้มีแผนงานโครงการ สกาย ซิตี้ ในเมืองฉางชา ริมแม่น้ำเซียงเจียง ในมณฑลหูหนาน ซึ่งตั้งเป้าให้เป็นอาคารสูงที่สุดโลก โดยจะใช้เวลาก่อสร้างเพียง 90 วัน หรือสร้างได้เฉลี่ยวันละ 5 ชั้น แต่ในภายหลังได้มีการปรับเลื่อนขยายระยะเวลาในการประกอบจากที่กำหนดไว้ 90 วัน (3 เดือน) ออกไปเป็น 7 เดือน ซึ่งนับว่าเป็นเวลาที่สั้นมากเมื่อเทียบการก่อสร้างตึกสูงแบบเดิม ในการก่อสร้างสกายซิตีจะใช้เทคนิคก่อสร้างที่ใช้ชิ้นส่วนสำเร็จรูปมาประกอบ (พรีแฟบ-Prefabricated modular) เนื่องจากประหยัดเวลา ไม่ก่อให้เกิดมลพิษจากการก่อสร้าง และลดอัตราการบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุของคนงาน เทคนิคแบบนี้จะช่วยลดระยะเวลาก่อสร้างได้มากเพราะไม่ต้องทำหรือก่อทีละชั้นก่อนจึงเริ่มชั้นถัดไป แต่สามารถทำชิ้นส่วนทุกชั้นพร้อมกัน โดยเตรียมจากโรงงานต่างๆในเวลาเดียวกัน และขนส่งมายังสถานที่ก่อสร้างเพื่อยกขึ้นประกอบทีละชั้นๆด้วยทาวเวอร์เครน แต่ความสำคัญอยู่ที่ชิ้นส่วนทุกชิ้นจะต้องมีการออกแบบมาอย่างดี และสร้างขึ้นจากการคำนวณที่ละเอียดแม่นยำก่อนที่จะแยกย้ายให้โรงงานต่างๆผลิตออกมาตรงตามแบบเพื่อนำมาประกอบในพื้นที่ก่อสร้างให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ซึ่งจะรวมเวลาของการตกแต่งภายในด้วย ประมาณการณ์ไว้ว่าจะใช้เหล็กราว 220,000 ตัน ในการสร้าง ตัวอาคารออกแบบมาให้ทนต่อแรงแผ่นดินไหวที่ 9.0 แมกนิจูด และทนไฟไหม้ได้นานกว่า 3 ชั่วโมง นอกจากนี้ตึกสกายซิตีจะใช้พลังงานเพียงแค่ 1 ใน 5 ของปริมาณการใช้พลังงานทั้งหมดที่ตึกทั่วไปใช้ อีกทั้งยังมีฉนวนกันความร้อนที่ออกแบบมาเป็นพิเศษ เพื่อช่วยลดความร้อนสะสมภายในตึกอีกด้วย ส่วนระบบเครื่องปรับอากาศนั้น คาดว่าจะใช้เงินลงทุนราว 1.2 พันล้านดอลลาร์สหรั.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสกายซิตี (ฉางชา) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี

มเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี (พระยศเดิม:สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าบุญรอด; พระราชสมภพ: 21 กันยายน พ.ศ. 2310 — สวรรคต: 18 ตุลาคม พ.ศ. 2379) หรือคนทั้งหลาย เรียกว่า สมเด็จพระพันวษา เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์ (พระเชษฐภคินีพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) กับเจ้าขรัวเงิน แซ่ตัน ต่อมาได้รับราชการฝ่ายในเป็นพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระราชสวามี พระองค์เสด็จออกไปประทับ ณ พระราชวังเดิม พร้อมด้วยสมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฑามณี พระราชโอรสพระองค์เล็ก พระองค์สวรรคตในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระบรมอัฐิเป็น กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สรรพสินค้าเซ็นทรัล

ริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำกัด (Central Department Store Company Limited) หรือ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล เป็นห้างสรรพสินค้าเก่าแก่แห่งหนึ่งของประเทศไทย ก่อตั้งโดย เตียง จิราธิวัฒน์ เริ่มดำเนินการเมื่อปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสรรพสินค้าเซ็นทรัล · ดูเพิ่มเติม »

สรวาสติวาท

แนวปฏิบัติของศาสนาพุทธแบบทิเบต โดยธรรมเนียมแล้วยึดถือตามวินัยของนิกายสรวาสติวาท นิกายสรวาสติวาท หรือ นิกายสัพพัตถิกวาท เป็นนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายหินยาน คัมภีร์ทีปวงศ์ระบุว่านิกายนี้แยกมาจากนิกายมหีศาสกะ ส่วนหลักฐานฝ่ายสันสกฤตกล่าวว่าแยกมาจากนิกายเถรวาทโดยตรง นิกายนี้แพร่หลายไปทั่วอินเดียภาคกลางและอินเดียภาคเหนือ รวมทั้งแพร่หลายไปสู่เอเชียกลางและจีนด้วย หลักธรรมของนิกายนี้เขียนด้วยภาษาสันสกฤต นิกายนี้ในญี่ปุ่นเรียกว่านิกายกุชา ผู้ให้กำเนิดนิกายนี้คือ พระอุปคุตอรหันตเจ้า ผู้ทำการปราบพยามารที่มารบกวนพิธีฉลองเจดีย์ในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช หลักธรรมโดยทั่วไปใกล้เคียงกับเถรวาท แต่ต่างกันที่ว่านิกายนี้ถือว่า ขันธ์ห้าเป็นของมีอยู่จริง(อัตตา) พระอรหันต์เสื่อมได้ สิ่งทั้งหลายมีอยู่และเป็นอยู่ในลักษณะสืบต่อ ความจริงมีสองระดับคือสมมติสัจจะ เป็นความจริงโดยสมมติ เป็นความจริงของชาวโลก จัดเป็นสังขตธรรม เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นโดยอาศัยปัจจัย ความจริงอีกระดับหนึ่งคือปรมัตถสัจจะ เป็นสิ่งสมบูรณ์ในตัวเอง ไม่ต้องอาศัยสิ่งอื่น เรียกว่าอสังขตธรรม ได้แก่ พระนิพพาน นิกายนี้ถือตามอภิธรรมมหาวิภาษาที่เป็นอรรถกถาของอภิธรรมชญานปริสถานเป็นหลัก คัมภีร์ของนิกายนี้มีผู้แปลเป็นภาษาจีนและภาษาทิเบตไว้มาก พระภิกษุในทิเบตปัจจุบันถือวินัยของนิกายนี้.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสรวาสติวาท · ดูเพิ่มเติม »

สวนหนานเหลียน

ลาใจกลางสวนหนานเหลียน สวนหนานเหลียน สวนหนานเหลียน (ภาษาจีน:南蓮園池) คือ สวนจีนแห่งหนึ่งบนเนินเขาไดมอนด์ เขตเกาลูน ฮ่องกง สวนแห่งนี้มีพื้นที่ 3.5 เฮกตาร์ โดยได้รับการออกแบบบนเนินเขาในรูปแบบสวนของราชวงศ์ถัง ซึ่งประกอบด้วยโครงสร้างไม้ หิน ต้นไม้ และน้ำ สวนแห่งนี้คือโครงการร่วมกันสำนักชิลิน (Chi Lin Nunnery) และรัฐบาลฮ่องกง และเปิดสู่สาธารณชนเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสวนหนานเหลียน · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหประชาชาติจำลอง

การสัมนาสหประชาชาติจำลองในสตุตการ์ต ประเทศเยอรมนี สหประชาชาติจำลอง (Model United Nations; รู้จักอย่างไม่เป็นทางการในนามของ Model UN หรือ MUN) เป็นการจำลองทางการศึกษาของสหประชาชาติที่มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้ผู้เข้าร่วมเกี่ยวกับการเมือง การสื่อสารให้ได้ผล โลกาภิวัตร และการทูตในหลายๆ ด้าน ใน MUN นักเรียนสวมบทบาทเป็นนักการทูตของต่างประเทศ และเข้าร่วมการประชุมจำลองของหน่วยงานระหว่างภาครัฐ (IGO) ผู้เข้าร่วมค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับประเทศหนึ่ง และสวมบทบาทเป็นนักการทูต สำรวจประเด็นนานาชาติ โต้วาที ไตร่ตรอง ปรึกษา และพัฒนาการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับปัญหาระดับโลก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสหประชาชาติจำลอง · ดูเพิ่มเติม »

สะเต๊ะ

ต๊ะไก่ในมาเลเซีย สะเต๊ะ (satay, saté) เป็นอาหารอย่างหนึ่งซึ่งทำจากเนื้อที่หั่นบางๆ หรือหั่นเป็นก้อน อาจจะเป็นเนื้อหมู เนื้อไก่ เนื้อวัว เนื้อแกะ เนื้อแพะ เนื้อปลา ฯลฯ เสียบด้วยไม้เสียบที่ทำจากไม้ไผ่ แล้วนำไปย่างบนเตาฟืนหรือเตาถ่าน เสิร์ฟพร้อมเครื่องปรุงรส ที่มีรสจัด (ซึ่งแตกต่างกันออกไปในแต่ละตำรับ) สะเต๊ะมีจุดกำเนิดมาจากเกาะชวาหรือเกาะสุมาตราในประเทศอินโดนีเซีย แต่ก็ยังได้รับความนิยมในประเทศอื่นๆ ด้วย เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ รวมทั้งประเทศไทย หรือแม้แต่เนเธอร์แลนด์ซึ่งรับเอาวัฒนธรรมไปกับอาณานิคมของตน คำว่า "สะเต๊ะ" เชื่อว่ามีที่มาจากประเทศจีนในอดีต โดยมาจากภาษาหมิ่นใต้คำว่า "แซบัก" (จีน: 三疊肉; พินอิน: sae bak) หมายถึง "เนื้อสามชิ้น" อย่างไรก็ตามนักวิชาการร่วมสมัยกล่าวว่าคำว่า "สะเต๊ะ" ในภาษาอังกฤษมาจากภาษาอินโดนีเซีย: "ซาเต" (sate) และภาษามลายู: "ซาเต" (saté) หรือ "ซาไท" (satai) ทั้งสองอย่างอาจจะมีที่มาจากภาษาทมิฬ สะเต๊ะของอินโดนีเซียอาจได้รับอิทธิพลจากคาบับที่เป็นอาหารพื้นเมืองของอินเดียภาคเหนือ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากชาวเตอร์กอีกต่อหนึ่ง ตำรับดั้งเดิมของชาวตุรกีเป็นเนื้อแพะหั่นเป็นชิ้นหมักแล้วเสียบเหล็กแหลมย่างไฟ ชาวเปอร์เซียและชาวอินเดียรับมาดัดแปลง อาจใช้เนื้อบดหรือเนื้อทั้งชิ้น จะเสียบหรือไม่เสียบไม้ก็ได้ เมื่อแพร่หลายมาถึงมลายู-ชวาจึงกลายเป็นสะเต๊ะอย่างที่เห็นในปัจจุบัน โดยร้านขายหมูสะเต๊ะร้านแรกในประเทศไทย คือ ร้านจึงอังลัก ย่านเยาวราช ข้างโรงภาพยนตร์เฉลิมบุรี ปัจจุบันได้ย้ายร้านไปที่ย่านถนนพระราม 4 เขตปทุมวัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสะเต๊ะ · ดูเพิ่มเติม »

สัญประกาศ

ัญประกาศ เป็นเครื่องหมายวรรคตอนชนิดหนึ่ง เป็นการขีดเส้นใต้ข้อความสำคัญหรือข้อความที่ควรสังเกตพิเศษ อาจจะมีหนึ่งเส้นหรือสองเส้น ตัวอย่างการใช้เช่น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสัญประกาศ · ดูเพิ่มเติม »

สัทธรรมปุณฑรีกสูตร

ัทธรรมปุณฑรีกสูตร ฉบับอักษรฮันจา (อักษรจีนที่ใช้ในประเทศเกาหลี) สมัยราชวงศ์โครยอ เขียนขึ้นราว ค.ศ. 1340 สัทธรรมปุณฑรีกสูตร (सद्धर्मपुण्डरीकसूत्र) เป็นพระสูตรที่สำคัญในพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาในพุทธศาสนิกชนมหายานโดยเฉพาะในประเทศเอเชียตะวันออก เป็นสัทธรรมที่พระพุทธเจ้าเทศนาในช่วง 8 ปีสุดท้ายก่อนปรินิพพาน สมัยแห่งการบันทึกพระสูตรเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นครั้งแรกนั้นไม่มีมติที่แน่นอน ซึ่งการค้นพบต้นฉบับของสัทธรรมปุณฑริกสูตรในหลายสถานที่จากหลากหลายภูมิภาค สัทธรรมปุณฑริกสูตรมีการแปลเป็นหลายภาษา และมีการคัดลอกต้นฉบับตลอดช่วงเวลาอันยาวนาน อันเป็นข้อพิสูจน์ว่าสัทธรรมปุณฑริกสูตรเป็นที่เคารพบูชาของประชาชนจำนวนมากในหลากหลายเชื้อชาติ โดยมีการค้นพบต้นฉบับภาษาต่าง ๆ อันได้แก่ สันสกฤต บาลี คานธารี โขตาน ซากา โตคาเรียน ซอกเดีย อุยกูร์เก่า ทิเบต จีน มองโกเลีย แมนจู ซีเซี่ย(ตันกัต) เกาหลี เวียดนาม เป็นต้น ตัวอย่างของสะสมจากสถาบันต้นฉบับภาษาตะวันออกแห่งสมาคมวิทยาศาสตร์รัสเซียมีต้นฉบับคัมภีร์ภาษาสันสกฤต คัดลอกด้วยตัวอักษรพราหมีเตอร์กีสถานใต้ ราวคริสต์ศตวรรษที่ 8-9 ต้นฉบับแปลภาษาจีน คัดลอกราวคริสต์ศตวรรษที่ 5 ต้นฉบับแปลภาษาอุยกูร์เก่า คัดลอกราวคริสต์ศตวรรษที่ 9 ในปัจจุบันมีการแปลเป็นภาษา อังกฤษ อิตาเลียน เกาหลี เยอรมัน ฝรั่งเศส ไทย ลาว กรีก สเปน เป็นต้น วินเตอร์นิตซ์ได้เสนอความเห็นว่า พระนาคารชุนได้อ้างถึงข้อความจากสัทธรรมปุณฑรีกสูตรอยู่หลายตอน เพราะฉะนั้นต้นฉบับเดิมย่อมต้องมีอยู่แล้วใน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสัทธรรมปุณฑรีกสูตร · ดูเพิ่มเติม »

สันนิบาตไต้หวันเพื่อการปลดปล่อย

ันนิบาตไต้หวันเพื่อการปลดปล่อย (Formosan League for Reemancipation; ภาษาจีน:臺灣再解放聯盟) เป็นขบวนการเรียกร้องเอกราชของไต้หวันองค์กรแรกที่ก่อตั้งขึ้นนอกเกาะไต้หวันหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยก่อตั้งที่ฮ่องกง เมื่อ 28 กุมภาพัน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสันนิบาตไต้หวันเพื่อการปลดปล่อย · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก

มก๊ก (Romance of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า 10 ภาษาการแปลสามก๊กในปัจจุบัน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

สายน้ำผึ้ง (พรรณไม้)

น้ำผึ้ง (Japanese honeysuckle; スイカズラ/吸い葛Suikazura Jinyinhuaใน ภาษาจีน)เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออกตั้งแต่ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี เป็นไม้เลื้อย ดอกสีขาว ผลแบบเบอร์รีสีดำ มีเมล็ดไม่มากเกสรเป็นสีเหลืองอ่อน มีขนเล็กๆอยู่ด้านบน เกสรดอกไม้ใช้ทำยา มีฤทธิ์ขับร้อน ขับพิษ ใช้เป็นยาจีนเรียกจินหยิงฮวา (ภาษาจีนกลาง)หรือกิมหงึ่งฮวย (ภาษาจีนแต้จิ๋ว).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสายน้ำผึ้ง (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐหลานฟาง

รณรัฐหลานฟาง (Lanfang Republic; ภาษาจีน: 蘭芳共和國; พินยิน: Lánfāng Gònghéguó; Pe̍h-ōe-jī: Lân-phang Kiōng-hô-kok) เป็นรัฐของชาวจีนที่ใช้ระบบกงสีในกาลีมันตันตะวันตก ประเทศอินโดนีเซีย ก่อตั้งโดยชาวจีนฮากกาชื่อหลัว ฟางปั๋ว (羅芳伯) เมื่อ..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสาธารณรัฐหลานฟาง · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา

รณรัฐประชามานิตกัมพูชา หรือในภาษาไทยคือ สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา (សាធារណរដ្ឋប្រជាមានិតកម្ពុជា สาธารณรฎฺฐบฺรชามานิตกมฺพุชา; People's Republic of Kampuchea: PRK) เป็นรัฐบาลที่จัดตั้งในกัมพูชาโดยแนวร่วมปลดปล่อย ซึ่งเป็นกลุ่มของกัมพูชาฝ่ายซ้ายที่อยู่ตรงข้ามกับกลุ่มของเขมรแดง ล้มล้างรัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตยของพล พต โดยร่วมมือกับกองทัพของเวียดนาม ทำให้เกิดการรุกรานเวียดนามของกัมพูชา เพื่อผลักดันกองทัพเขมรแดงออกไปจากพนมเปญ มีเวียดนามและสหภาพโซเวียตเป็นพันธมิตรที่สำคัญ สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาไม่ได้เป็นสมาชิกของสหประชาชาติเพราะไม่ได้รับการสนับสนุนจากจีน อังกฤษและสหรัฐอเมริกา ที่นั่งในสหประชาชาติของประเทศกัมพูชาในขณะนั้นเป็นของแนวร่วมเขมรสามฝ่ายที่จัดตั้งรัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย ซึ่งกลุ่มเขมรแดงของพล พตเข้าร่วมกับกลุ่มที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์อีก 2 กลุ่ม คือ กลุ่มของนโรดม สีหนุ และซอน ซาน อย่างไรก็ตาม สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาได้ประกาศเป็นรัฐบาลของกัมพูชาระหว่าง..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐไต้หวัน

ธงสาธารณรัฐไต้หวัน สาธารณรัฐไต้หวัน (จีน: 台灣共和國, พินอิน: Táiwān Gònghégúo; อังกฤษ: Republic of Taiwan, ROT) เป็นเป้าหมายของการประกาศอิสรภาพไต้หวัน เพื่อจัดตั้งประเทศไต้หวันที่แยกเป็นอิสระจากสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยครอบคลุมพื้นที่ปัจจุบันของสาธารณรัฐจีน หมวดหมู่:ไต้หวัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสาธารณรัฐไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

สำนักพิมพ์แจ่มใส

ัญลักษณ์ประจำสำนักพิมพ์ สำนักพิมพ์แจ่มใส เป็นสำนักพิมพ์แห่งหนึ่งในประเทศไทย เริ่มก่อตั้งใน พ.ศ. 2545 ซึ่งเป็นผู้เผยแพร่นิยายรักโรแมนติกสำหรับวัยรุ่นที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย โดยผู้อ่านส่วนมากเป็นผู้หญิงวัยรุ่น ที่ในแต่ละปีจะมีการรวมตัวกันในงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติเป็นจำนวนมาก เป็นสำนักพิมพ์ที่สร้าง นักเขียนที่มีชื่อเสียง นักแปล และผลงานวรรณกรรมชุดมาแล้วหลายเรื่อง รวมทั้งมีงานแปลวรรณกรรม จากภาษาเกาหลี ภาษาญี่ปุ่น และภาษาจีน นอกจากนี้ สำนักพิมพ์แจ่มใส ยังมีส่วนร่วมจัดกิจกรรมการกุศลต่อสังคมในบางโอกาส สำนักพิมพ์แจ่มใสมุ่งเน้นผลิตหนังสือนิยายโรแมนติคโดยมีผู้หญิงเป็นกลุ่มเป้าหมาย ในภายหลัง ทางสำนักพิมพ์แจ่มใสได้จัดทำหนังสือแนวสอบสวน, แฟนตาซี, วรรณกรรมร่วมสมัย ตลอดจนหนังสือด้านธุรกิจ, คอมพิวเตอร์ รวมถึงหนังสือการศึกษาสำหรับเด็ก นอกจากนี้ เว็บไซต์ของสำนักพิมพ์แจ่มใสยังเป็นเว็บไซต์ติดอันดับจากการจัดอันดับเว็บไซต์ยอดนิยมด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสำนักพิมพ์แจ่มใส · ดูเพิ่มเติม »

สิบพยัคฆ์กวางตุ้ง

ัคฆ์กวางตุ้ง (อังกฤษ: Ten Tigers of Canton, Ten Tigers of Guangdong, จีน: 廣東十虎, ออกเสียงสำเนียงแต้จิ๋ว: กังตั้งจับโฮ่ว) หรือในบางครั้งเรียกว่า สิบพยัคฆ์เส้าหลิน เป็นชื่อเรียกกลุ่มคนสิบคนในแถบมณฑลกวางตุ้ง ที่เชี่ยวชาญในวิชากังฟูหรือวูซู มีบทบาทในช่วงยุคราชวงศ์ชิง (ค.ศ. 1644–ค.ศ. 1912) ด้วยความที่เป็นผู้ต่อต้านราชวงศ์ชิงที่กดขี่ชาวฮั่นและการรุกรานประเทศจีนของชาวตะวันตกในแบบมวยกังฟูของสำนักเส้าหลิน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสิบพยัคฆ์กวางตุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

สือดิบผู้จ่อง

ือดิบผู้จ่อง(古壮字 gǔ Zhuàngzì หรือ 方块壮字 fāngkuài Zhuàngzì)เป็นตัวอักษรพื้นเมืองของชาวจ้วงซึ่งเรียกตนเองว่าผู้จ่อง วิวัฒนาการมาจากอักษรจีนแบบเดียวกับอักษรจื๋อโนมที่ใช้เขียนภาษาเวียดนาม โดยสือดิบหนึ่งตัวจะประกอบด้วยอักษรจีนสองตัว ตัวหนึ่งแทนเสียง อีกตัวหนึ่งแทนความหมาย เช่นคำว่า "นา" จะใช้อักษรจีนที่อ่านว่า "หน่า" ผสมกับตัวที่อ่านว่า "หลาย"ซึ่งหมายถึงนาในภาษาจีน มาสร้างเป็นตัวสือดิบอ่านเป็นภาษาจ้วงว่า "นา" เป็นต้น ต้นกำเนิดของอักษรสือดิบนั้นไม่มีหลักฐานแน่นอน นักวิชาการบางส่วนกล่าวว่ามีกำเนิดสมัยราชวงศ์ถัง บางส่วนกล่าวว่าเริ่มใช้ในสมัยราชวงศ์ซ้อง อย่างไรก็ตาม สือดิบไม่ได้มีสถานะเป็นอักษรราชการ เพราะชาวจ้วงอยู่ภายใต้การปกครองของจีน จึงใช้ภาษาจีนและอักษรจีนเป็นภาษาและอักษรราชการ ส่วนมากชาวจ้วงใช้สือดิบบันทึกเพลงและวรรณกรรมพื้นบ้าน เขียนจดหมายหรือใช้ในทางไสยศาสตร์ในแวดวงของหมอผีโดยใช้ปนกับอักษรจีน สือดิบจัดว่าเป็นอักษรที่ไม่ได้พัฒนามากนัก ปัจจุบันมีสือดิบเพียง 2,000 ตัวซึ่งถือว่าไม่เพียงพอต่อการใช้งานในฐานะอักษรภาพ นอกจากนั้น ภาษาจ้วงยังมีแตกต่างไปหลายสำเนียง แต่ละท้องถิ่น กำหนดสือดิบของตนขึ้นใช้โดยไม่มีสือดิบมาตรฐานสำหรับคนที่อยู่ต่างท้องที่กัน นอกจากนี้ การนำอักษรจีนมาใช้ปนกับสือดิบก็มีวิธีใช้ต่างกันไป บางครั้งนำมาใช้แทนเสียงโดยไม่คำนึงถึงความหมาย บางครั้งนำมาใช้โดยยึดความหมายแต่อ่านเป็นภาษาจ้วง ตัวอย่างเช่น อักษรจีนที่แปลว่า "ข้าพเจ้า" เมื่อนำมาใช้ในสือดิบจะใช้แต่ความหมาย โดยอ่านออกเสียงว่าเป็นภาษาจ้วงว่า "กู" เป็นต้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสือดิบผู้จ่อง · ดูเพิ่มเติม »

สุย

(ภาษาจีน:水族;พินอิน:Shuǐzú) เป็นชื่อของกลุ่มชนซึ่งมีถิ่นอยู่ มณฑลซานตู และมณฑลกุ้ยโจว ที่ตั้งถิ่นฐานและการใช้ภาษาใกล้เคียงกัน มีจำนวนประชากรทั้งหมด 499,000 คน โดยมากใช้ภาษาสุย ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มภาษาคำ-ไต ตระกูลภาษาไท-กะได และส่วนใหญ่นับถือลัทธิดั้งเดิม และลัทธิเต๋าปะปนกันกับคำสอนบางอย่างในศาสนาพุท.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสุย · ดูเพิ่มเติม »

สุขาวดี (นิกาย)

ระอมิตาภพุทธะและพระโพธิสัตว์ 2 องค์คือพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ (ขวา) และพระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ (ซ้าย) ในวัดใกล้กับเมือง Meinong, มณฑลเกาสง, ไต้หวัน นิกายสุขาวดี (浄土教, Jōdokyō; 정토종, jeongtojong; Tịnh Độ Tông) เป็นนิกายในศาสนาพุทธที่ตั้งขึ้นครั้งแรกในประเทศจีน แม้จะมีกำเนิดมาจากพระสูตรที่มาจากประเทศอินเดีย แต่ในอินเดียไม่ได้เป็นนิกายเอกเทศ นิกายนี้พระฮุ่นเจียงตั้งขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 9 สมัยราชวงศ์ตั้งจิ้น คำสอนของท่านเน้นการเจริญพุทธสติถึงพระอมิตาภพุทธะและปรารถนาไปเกิดในแดนสุขาวดี ในจีนเรียกนิกายนี้ว่า นิกายวิสุทธิภูมิ (จิ้งถู่จง).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสุขาวดี (นิกาย) · ดูเพิ่มเติม »

สฺวี เค่อ

วี เค่อ หรือในประเทศไทยมักเรียก ฉีเคอะ (Tsui Hark; จีน: 徐克, พินอิน: Xú Kè) ผู้อำนวยการสร้าง, ผู้เขียนบทและผู้กำกับภาพยนตร์ชาวฮ่องกงชื่อดัง ที่มีผลงานมากมายโดยเฉพาะ ภาพยนตร์แอ๊คชั่นในช่วงทศวรรษที่ 80 และทศวรรษที่ 90 เช่นเดียวกับ จอห์น วู สฺวี เค่อ เกิดเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1950 ที่ไซ่ง่อน เวียดนามใต้ เมื่ออายุได้ 13 ปี ครอบครัวได้เดินทางมาตั้งรกรากที่ฮ่องกง สฺวี เค่อมีความสนใจในศาสตร์ด้านภาพยนตร์ตั้งแต่เด็ก ๆ โดยร่วมกันสร้างภาพยนตร์ขนาด 8 มิลลิเมตร กับเพื่อน สฺวี เค่อ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทกซัส ออสติน ในปี ค.ศ. 1975 เมื่อจบการศึกษาแล้วจึงเริ่มงานในวงการภาพยนตร์ฮ่องกงอย่างแท้จริง จนได้รับการกล่าวขานว่าเป็น "ผู้กำกับรุ่นที่ 4" แต่ผลงานเริ่มต้นของสฺวี เค่อไม่ประสบความสำเร็จมากนัก โดยเขาเริ่มจากการกำกับละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ในแนวตลกและกังฟู จนกระทั่งมาประสบความสำเร็จเป็นครั้งแรก จาก A Better Tomorrow เมื่อปี ค.ศ. 1986 จากการกำกับของจอห์น วู โดยสฺวี เค่อเป็นผู้อำนวยการสร้าง จากนั้นมา ชื่อของสฺวี เค่อ ก็เสมือนเครื่องการันตีคุณภาพของภาพยนตร์เรื่องนั้น ๆ จนกระทั่งในช่วงที่ประสบความสำเร็จและในชื่อเสียงอยู่นั้น การโฆษณาภาพยนตร์ในประเทศไทยต้องมีคำลงท้ายว่า "ฉีเคอะ กำกับ!!"ซึ่งภาพยนตร์ที่เป็นผลงานของสฺวี เค่อ ได้แก่ The Sword Man ทั้งภาคแรก, ภาคที่ 2 และภาคที่ 3 (เฉพาะภาคแรก สฺวี เค่อไม่ได้กำกับ แต่เป็นผู้อำนวยการสร้าง แต่ทว่าคนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าสฺวี เค่อเป็นผู้กำกับ), ภาพยนตร์ชุด Once Upon a Time in China หรือ หวงเฟยหง ที่นำแสดงโดย หลี่ เหลียนเจี๋ย หรือ A Chinese Ghost Story ที่นำแสดงโดย เลสลี่ จาง และ หวัง จู่เสียนและ Black Mask ในปี ค.ศ. 1996 นอกจากนี้แล้ว ยังได้กำกับภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดอีก ในเรื่อง Double Team ในปี ค.ศ. 1997 นำแสดงโดย ชอง-โกลด ว็อง ดามม์, เดนนิส ร็อดแมน และมิกกีย์ รูร์ก และ Knock Off ในปี ค.ศ. 1998 นำแสดงโดย ชอง-โกลด ว็อง ดามม์, ร็อบ สไนเดอร์ และไมเคิล หว่อง นอกจากนี้แล้วยังได้กำกับภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง A Chinese Ghost Story หรือโปเยโปโลเย ที่เป็นความเชื่อเรื่องผีของจีนและเป็นหนังสืออ่านนอกเวลาของเด็กระดับชั้นประถมตามหลักสูตรการศึกษาของจีน โดยเป็นการนำเอาผลงานเก่ากลับมาสร้างใหม่ในรูปแบบอะนิเมะชั่น ในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสฺวี เค่อ · ดูเพิ่มเติม »

สี่ยอดสิ่งประดิษฐ์

ี่ยอดสิ่งประดิษฐ์ (Four Great Inventions, จีน: 四大发明, พินอิน: sì dà fāmíng) เป็นสิ่งประดิษฐ์สำคัญที่ปรากฏในประวัติศาสตร์ แสดงถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน ได้แก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสี่ยอดสิ่งประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

สี่สุดยอดวรรณกรรมจีน

ี่สุดยอดวรรณกรรมจีน คือนวนิยายของจีน 4 เรื่องซึ่งเหล่าบัณฑิตยอมรับว่าเป็นวรรณกรรมอันยิ่งใหญ่และมีอิทธิพลต่อวรรณกรรมเรื่องอื่นๆ ของประเทศ ประกอบด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสี่สุดยอดวรรณกรรมจีน · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

ันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สท. เป็นหน่วยงานของรัฐ ประเภทองค์การมหาชน จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีการจัดตั้งสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน)..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์หูหนาน

นีโทรทัศน์หูหนาน หรือ หูหนานทีวี () เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมประจำจังหวัด เริ่มออกอากาศเมื่อเดือน มกราคม พ.ศ. 2540 และเป็นสถานีที่ได้รับความนิยมเป็นอันดับ 2 ของประเทศรองจาก ซีซีทีวี 1  และออกอากาศในระบบภาพคมชัดสูงเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2552 .

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสถานีโทรทัศน์หูหนาน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์แห่งเอเชีย

อาคารสำนักงานใหญ่ สถานีโทรทัศน์แห่งเอเชีย (Asia Television ชื่อบริษัท Asia Television Digital Media Limited ชื่อย่อ aTV) เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในประเทศฮ่องกง และเป็นสถานีโทรทัศน์ภาคภาษาจีนแห่งแรกของโลกอีกด้วย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 ในนาม สถานีโทรทัศน์ลี่เตอ (Rediffusion Television ชื่อบริษัท Rediffusion (Hong Kong) Limited ชื่อย่อ RTV) ต่อมาในวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2525 พร้อมกับเปลี่ยนชื่อโดยซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์ที่ใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2558 รัฐบาลฮ่องกงได้ลงมติให้สิ้นสุดใบอนุญาตประกอบกิจการวิทยุโทรทัศน์ภาคพื้นดินของสถานีฯ เนื่องจากเห็นว่าบริษัทประสบปัญหาทางการเงินอย่างหนัก โดยสิ้นสุดใบอนุญาตลงในวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 และกำหนดยุติการออกอากาศเมื่อวันที่ 2 เมษายน ปีเดียวกัน โดยคลื่นความถี่ระบบแอนะล็อก 2 สถานี ได้โอนไปเป็นของ สถานีวิทยุโทรทัศน์ฮ่องกง (RTHK) โดยช่องที่เป็นของภาษาจีนนั้น RTHK นำรายการจากช่อง 31 ของ RTHK และช่องภาษาอังกฤษ นำรายการจากช่อง 33 (ซึ่งทวนสัญญาณรายการจากซีซีทีวี 9 ก่อนจะปรับมาทวนสัญญาณของ ซีซีทีวี 1 ในช่วงปลายเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2560) มาออกอากาศคู่ขนานกัน สวนคลื่นความถี่ระบบดิจิทัลซึ่งใช้ร่วมกับทีวีบีเจด ได้นำไปให้เอชเคเทเลวิชันเอ็นเตอร์เทนเมนท์ (HKTVE) ทำช่องรายการใหม่ ในชื่อ วิวทีวี (ViuTV) แล้วกลับมาออกอากาศอืกครั้ง เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ในฐานะผู้ให้บริการ OTT.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสถานีโทรทัศน์แห่งเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

สงกรานต์

ำหรับ สงกรานต์ ความหมายอื่น ดูที่: สงกรานต์ (แก้ความกำกวม) สงกรานต์ (សង្រ្កាន្ត; သင်္ကြန်; ສົງການ; 泼水节) เป็นประเพณีของประเทศไทย กัมพูชา ลาว พม่า ชนกลุ่มน้อยชาวไทแถบเวียดนามและมณฑลยูนนานของจีน ศรีลังกาและทางตะวันออกของประเทศอินเดีย สันนิษฐานว่า สงกรานต์ได้รับอิทธิพลมาจากเทศกาลโฮลี (होली) ในอินเดีย แต่เทศกาลโฮลีจะใช้การสาดสีแทน เริ่มในทุกวันแรม 1 ค่ำเดือน 4 คือ ในเดือนมีนาคม สงกรานต์เป็นคำสันสกฤต หมายถึง "การเคลื่อนย้าย" ซึ่งเป็นการอุปมาถึงการเคลื่อนย้ายของการประทับในจักรราศี คือการเคลื่อนขึ้นปีใหม่ในความเชื่อของไทยและบางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สงกรานต์สืบทอดมาแต่โบราณคู่กับตรุษ จึงเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษสงกรานต์ หมายถึง ส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ เดิมวันที่จัดเทศกาลกำหนดโดยการคำนวณทางดาราศาสตร์ แต่ปัจจุบันระบุแน่นอนว่า 13 ถึง 15 เมษายน วันขึ้นปีใหม่ไทยเป็นวันเริ่มปีปฏิทินของไทยจนถึง..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสงกรานต์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามรัก

งครามรัก เป็นละครโทรทัศน์ไทยแนวเมโลดราม่าที่ออกอากาศในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสงครามรัก · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาจันทรา

วามตกลงว่าด้วยกิจกรรมของรัฐบนดวงจันทร์และเทห์ฟากฟ้าอื่น (Agreement Governing the Activities of States on the Moon and Other Celestial Bodies) หรือที่รู้จักกันในชื่อ "สนธิสัญญาจันทรา" (Moon Treaty) หรือ "ความตกลงจันทรา" (Moon Agreement) เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ซึ่งกำหนดให้บรรดาเทห์ฟากฟ้าและวัตถุที่โคจรรอบเทห์ฟากฟ้า เป็นพื้นที่ในเขตอำนาจของประชาคมโลก ส่งผลให้กิจกรรมทั้งปวงในพื้นที่ดังกล่าวต้องเป็นไปตามกฎหมายระหว่างประเทศ น่าเสียดายที่ความตกลงนี้ไม่ประสบผลสำเร็จดังคาดหมายกัน เนื่องเพราะไม่ได้รับความร่วมมือจากรัฐชาติที่ดำเนินหรือจะดำเนินการสำรวจอวกาศโดยมนุษย์ด้วยตนเองแม้แต่รัฐเดียว รัฐเหล่านี้ อาทิ สหรัฐอเมริกา สหพันธรัฐรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุ่น อินเดีย และ อิหร่าน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและสนธิสัญญาจันทรา · ดูเพิ่มเติม »

ส้มมือ

้มมือ หรือ ส้มโอมือ เป็นผลไม้ชนิดหนึ่งจำพวกส้ม เป็นส้มที่เก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่ง พบได้ทั่วไปในภูมิภาคเขตร้อน ส้มชนิดนี้มีชื่อต่าง ๆ กันในหลากหลายภาษา แต่โดยมากมีความหมายคล้ายกันว่า นิ้วมือ เช่น ภาษาจีนเรียก ฝอโส่ว ซึ่งแปลว่า นิ้วพระหัตถ์ของพระพุทธเจ้า ภาษาอังกฤษเรียก Buddha's Hand ซึ่งแปลว่า พระหัตถ์ของพระพุทธเจ้า หรือ fingered citron ซึ่งแปลว่า ส้มนิ้ว ส้มมือเป็นไม้พุ่ม มีหนามยาวแข็ง ใบประกอบลดรูปเหลือใบเดียว ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอกสีขาว กลิ่นหอม ผลรูปร่างแปลกกว่าส้มอื่น ๆ กล่าวคือ มีรูปร่างเรียวยาวห้อยลงมาเป็นแฉก ๆ คล้ายนิ้วมือ ขนาดใกล้เคียงหรือใหญ่กว่านิ้วมือผู้ใหญ่ และอาจมีความยาวได้ถึง 12 นิ้ว เมื่อสุกผลมีสีเหลืองสด เปลือกหนาคล้ายฟองน้ำอย่างส้มโอ เนื้อแห้งไม่ชุ่มน้ำ มีกลิ่นหอมอย่างมะนาว นิยมใช้ทำยาดมส้มโอมือ เครื่องหอม ผสมน้ำยาทำความสะอาด ไม่ใช้ผลรับประทาน แต่อาจนำเปลือกมาใช้ผสมอาหารได้ ในประเทศจีนและญี่ปุ่นนิยมนำไปไว้ในห้องนอนและห้องน้ำเพื่ออบกลิ่น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและส้มมือ · ดูเพิ่มเติม »

หมัดพิฆาตมังกรโหด

หมัดพิฆาตมังกรโหด (จีน:新唐山大兄) เป็นหนังจีนนำแสดงโดย เจิน จื่อตัน จูอิน(จีน朱茵) Chan Gin Pang และ Yu Rongguang เป็นผลงานรีเมคหนังเก่าของ บรู๊ซ ลี เรื่อง The Big Boss(1971) ออกฉายปี 1998 (ฮ่องกง).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหมัดพิฆาตมังกรโหด · ดูเพิ่มเติม »

หมาย

หมาย เป็นเงินกระดาษชนิดแรกในระบบเงินตราของประเทศไทย โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดให้ทำขึ้นในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหมาย · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้านตันหยงสตาร์

หมู่บ้านตันหยงสตาร์เป็นชุมชนที่มีมาแต่โบราณนับพันปี และมีการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศด้านชายฝั่งตะวันตก เช่น สิงคโปร์ ปีนัง และหัวเมืองชายฝั่งอื่นๆ ด้านคาบสมุทรมลายู การทำมาค้าขายย่อมอาศัยความรู้ทางคณิตศาสตร์ จำเป็นที่จะต้องรู้ภาษาต่าง ๆ เช่น ภาษามลายู ภาษาจีนเป็นต้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหมู่บ้านตันหยงสตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะแพราเซล

thumb หมู่เกาะแพราเซล (Paracel Islands) หรือในภาษาจีนเรียกว่า หมู่เกาะซีซา (西沙群岛, Xisha Islands) หรือในภาษาเวียดนามเรียกว่า หมู่เกาะฮหว่างซา (Quần đảo Hoàng Sa) เป็นกลุ่มเกาะอยู่ในเขตมณฑลไห่หนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน และเป็นดินแดนพิพาทที่ถูกอ้างสิทธิโดยประเทศเวียดนามและไต้หวัน พื้นที่หมู่เกาะถูกครอบครองบางส่วนโดยจีนมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 7 ในสมัยราชวงศ์ถังและราชวงศ์ซ่ง และบางส่วนโดยเวียดนามมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 Tập San Sử Địa,, Geographical Digest, Vol 29., Saigon, 1974.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหมู่เกาะแพราเซล · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเรียว

หมู่เกาะเรียว (Kepulauan Riau) เป็นหมู่เกาะแห่งหนึ่งในเกาะสุมาตรา ซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 6 ของโลกและเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในประเทศอินโดนีเซีย และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะมลายู อยู่ทางตอนใต้ของประเทศสิงคโปร์ ทางตะวันออกของหมู่เกาะนี้คือมหาสมุทรอินเดีย และมีเมืองหลวงชื่อตันจุงปีนัง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหมู่เกาะเรียว · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์

หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ (เกิด: 2 สิงหาคม พ.ศ. 2499) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ กับหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา (Elisabeth Hunter; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 - 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) และเป็นพระนัดดาในสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ หม่อมราชวงศ์นริศราสมรสครั้งแรกกับคุณแอลเลน เลวี่ มีบุตรชาย 1 คนคือ จุลจักร จักรพงษ์ หรือ "เล็ก" หรือ "ฮิวโก้" และสมรสครั้งที่สองกับกอสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ ทอมสัน (กี้, บุตรชายของ หม่อมราชวงศ์สายสวัสดี สวัสดิวัตน์ ทอมสัน กับ แกรี ทอมสัน) มีบุตรชายอีก 1 คนคือภูวสวัสดิ์ จักรพงษ์ หรือ "กู้".

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

หยาง โจ๊งเว

หยาง โจ๊งเว หยาง จงเหว่ย (4 เมษายน พ.ศ. 2521 -) (อังกฤษ:Aska Yang;จีน: 楊宗緯; พินอิน: Yáng Zōngwěi) เป็นนักร้องชาวไต้หวันที่โด่งดังในไต้หวัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหยาง โจ๊งเว · ดูเพิ่มเติม »

หย่งชุน หมัดสั้นสะท้านบู๊ลิ้ม

หย่งชุน หมัดสั้นสะท้านบู๊ลิ้ม (อังกฤษ: Wing Chun, อักษรจีนตัวเต็ม: 詠春) เป็นภาพยนตร์กำลังภายในและตลกสัญชาติฮ่องกง ในปี ค.ศ. 1994 นำแสดงโดย หยาง จื่อฉยง, เจิ้น จื่อตัน และ ฉี เส้าเฉียน กำกับการแสดงโดย หยวน หวูปิง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหย่งชุน หมัดสั้นสะท้านบู๊ลิ้ม · ดูเพิ่มเติม »

หลักสูตร

หลักสูตร (curriculum (เอกพจน์) หรือ curricula (พหูพจน์)) เป็นคำที่เกิดขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเริ่มใช้คำนี้อย่างแพร่หลายในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยในตำราเรียนเล่มแรกที่เขียนอธิบายเกี่ยวกับหลักสูตรของจอห์น แฟรงคลิน บอบบิทในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหลักสูตร · ดูเพิ่มเติม »

หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เป็นระบบการทับศัพท์ที่นิยมใช้มากที่สุดระบบหนึ่งในประเทศไทย โดยคณะกรรมการจัดทำหลักเกณฑ์การทับศัพท์และคณะกรรมการปรับปรุงหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่าง ๆ ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา (เดิมคือราชบัณฑิตยสถาน) เป็นผู้กำหนดและเสนอหลักเกณฑ์ต่อสำนักงานราชบัณฑิตยสภาเพื่อออกประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภาให้ใช้หลักเกณฑ์ จากนั้น สำนักงานราชบัณฑิตยสภาจะเป็นผู้เสนอหลักเกณฑ์ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีให้ใช้เป็นมาตรฐานเดียวกัน แล้วลงประกาศเผยแพร่ในราชกิจจานุเบกษาต่อไป.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

หลิว เจียเหลียง

หลิว เจียเหลียง หรือ เล่า กาเหลียง (จีน: 刘家良; พินอิน: Liú Jiāliáng อังกฤษ: Lau Kar-leung) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้ผลิตภาพยนตร์, นักแสดง และผู้เขียนบทภาพยนตร์ชาวฮ่องกงที่มีชื่อเสียงอีกคนหนึ่ง โดยภาพยนตร์ที่เขาสร้างจะมีนักแสดงนำภาพยนตร์ที่โด่งดังเช่น กอร์ดอน หลิว หรือ หลิว เจียฮุย หรือ อเล็กซานเดอร์ ฟู่ เซิง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหลิว เจียเหลียง · ดูเพิ่มเติม »

หลิน เสี่ยวเฟิง

หลิน เสี่ยวเฟิง (ภาษาจีน 林曉峰) (เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน ค.ศ. 1970) เป็นนักแสดงชายชาวฮ่องกง รู้จักกันในชื่อ แลมป์ ฮิว ฟัง โดยหลิน เสี่ยวเฟิงเริ่มแสดงภาพยนตร์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหลิน เสี่ยวเฟิง · ดูเพิ่มเติม »

หลินฮุ่ย

หลินฮุ่ย กำลังหยอกล้อกับช่วงช่วง ภายในอาคารจัดแสดง ที่สวนสัตว์เชียงใหม่ ผู้เชี่ยวชาญจากประเทศจีน กำลังตรวจสุขภาพลูกแพนด้าเพศเมีย ที่เกิดจากการผสมเทียม ระหว่างช่วงช่วงกับหลินฮุ่ย อาคารจัดแสดงช่วงช่วง และหลินฮุ่ย ในสวนสัตว์เชียงใหม่ หลินฮุ่ย (ภาษาจีน: 林惠, Lin Hui) เป็นชื่อของแพนด้ายักษ์เพศเมีย ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน ให้ประเทศไทยยืมจัดแสดงที่ สวนสัตว์เชียงใหม่ ในฐานะทูตสันถวไมตรีไทย-จีน เป็นเวลา 10 ปี โดยจัดแสดงคู่กับ ช่วงช่วง แพนด้ายักษ์เพศผู้ ตั้งแต่วันที่ 12 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 มีชื่อไทยว่า "เทวี" และมีชื่อล้านนาว่า "คำเอื้อย" หลินฮุ่ย เกิดเมื่อวันที่ 28 กันยายน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหลินฮุ่ย · ดูเพิ่มเติม »

หลินปิง

หลินปิง ถ่ายเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2552 หลินปิง (จีน: 林冰; Lin Bing) เป็นแพนด้ายักษ์เพศเมียในสวนสัตว์เชียงใหม่ เกิดเมื่อวันพุธที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 จากการผสมเทียม ระหว่างช่วงช่วงและหลินฮุ่ย นับเป็นแพนด้าตัวแรกของโลกที่เกิดในประเทศเขตศูนย์สูตร ในเดือนนอกฤดูผสมพันธุ์ของหมีแพนด้า หลินปิง เป็นชื่อที่ได้รับการลงคะแนนเป็นอันดับ 1 โดยคนไทย ทางจดหมายและไปรษณียบัตร ถึง 13 ล้านฉบับ จาก 4 ชื่อ (อันดับ 2 “ขวัญไทย” 3.5 ล้านฉบับ อันดับ 3 “ไทจีน” 2.5 ล้านฉบับ อันดับ 4 “หญิงหญิง” 2 ล้านฉบับ).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหลินปิง · ดูเพิ่มเติม »

หลี

หลี (ภาษาจีน:黎;พินอิน:Lì) หรือ ไหล เป็นชื่อของกลุ่มชนกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาศัยอยู่แถบเกาะไหหลำ ประเทศจีน ส่วนใหญ่จะถือสัญชาติจีน มีจำนวนประชากรประมาณ 1 ล้านคน และนับถือลัทธิภูติผีวิญญาณ มีภาษาใกล้เคียงกับภาษาไทย แต่เรียกว่าภาษาไหล ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไหล ตระกูลภาษาไท-กะได ชาวหลีปรากฏในประวัติศาสตร์จีนในสมัยราชวงศ์สุย รู้จักกันในชื่อ Liliao (ลิเหลียว).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหลี · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ อัน

หลี่ อัน (จีน: 李安, พินอิน: Lǐ Ān) (เกิด 23 ตุลาคม พ.ศ. 2497) คนไทยรู้จักในชื่อ อั้งลี่ (Ang Lee) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไต้หวัน เขาได้รับรางวัลออสการ์ 2 ครั้งจาก ภาพยนตร์เรื่อง หุบเขาเร้นรัก (Brokeback Mountain, 2005) และ พยัคฆ์ระห่ำมังกรผยองโลก (Crouching Tiger, Hidden Dragon, 2000) ในสาขาภาพยนตร์ต่างประเทศยอดเยี่ยม The Wedding Banquet (1993) และ ชีวิตอัศจรรย์ของพาย (Life of Pi, 2012) ในสาขาผู้กำกับยอดเยี่ยม ในปี 2007 เขาได้คว้ารางวัลสิงโตทองคำของเทศกาลภาพยนตร์เวนิซ จากภาพยนตร์เรื่อง Lust, Caution หนังสายลับย้อนยุค ในสมัยทศวรรษที่ 1940 ของเมืองเซี่ยงไฮ้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ประเทศจีนถูกกองทัพของประเทศญี่ปุ่นรุกราน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหลี่ อัน · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ ฉุน

หลี่ ฉุน (จีน: 李純 / พินอิน: Lǐ Chún) หรือ จุนจุน (ญี่ปุ่น: ジュンジュン / โรมะจิ: Junjun) (เกิดวันพฤหัสบดีที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 ณ มณฑลหูหนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน) คือนักร้องหญิงชาวจีนของสังกัด "เฮลโล! โปรเจกต์" (Hello! Project) ในประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันเธอคือสมาชิกของกลุ่มนักร้องหญิง "มอร์นิงมุซุเมะ" (モーニング娘。).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหลี่ ฉุน · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ เผิง

หลี่ เผิง (ภาษาจีน: 李鹏, 李鵬, พินอิน: Lĭ Péng) เกิดเดือนตุลาคม พ.ศ. 2471 เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน คนที่ 4 ระหว่าง พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2541 และประธานสภาประชาชนแห่งชาติจีน ระหว่าง พ.ศ. 2541 - พ.ศ. 2546 ในช่วงเวลาที่ดำรงตำแหน่งถือว่าเป็นบุคคลผู้มีอำนาจเป็นอันดับ 2 ของประเทศ รองจากประธานาธิบดีเจียง เจ๋อหมินเท่านั้น หลี่ เผิงเกิดที่เมืองเฉิงตู มณฑลเสฉวน ภายหลังเขาได้เป็นบุตรบุญธรรมของนายกรัฐมนตรีโจวเอินไหล ซึ่งเป็นรัฐมนตรีคนแรก เขาสืบทอดตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากจ้าว จื่อหยาง ดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 11 ปี ก่อนจะส่งมอบให้กับจู หรงจี หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีจีน ผ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหลี่ เผิง · ดูเพิ่มเติม »

หวัง ลี่หง

ร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหวัง ลี่หง · ดูเพิ่มเติม »

หวัง จู่เสียน

หวัง จู่เสียน (จีน: 王祖賢, พินอิน: Wáng Zǔxián, Joey Wong, Joey Ong Jyo Han) เกิดเมื่อวันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 1967 ที่ไต้หวัน เป็นนักแสดงชาวไต้หวัน ที่มีชื่อเสียงโด่งดังเป็นอย่างมากในระดับเอเชี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหวัง จู่เสียน · ดูเพิ่มเติม »

หวัง เจาจฺวิน

หวัง เจาจฺวิน หวัง เจาจฺวิน (王昭君) ชื่อจริงคือ หวัง เฉียง (王牆, 王檣, 王嬙) เป็นหนึ่งในสี่หญิงงามแห่งแผ่นดินจีน หวัง เจาจฺวิน ได้รับฉายานามว่า "ปักษีตกนภา" (จีน: 落雁 พินอิน: luò yàn) ซึ่งหมายถึง "ความงามที่ทำให้แม้แต่ฝูงนกยังต้องร่วงหล่นจากท้องฟ้า" (so beautiful as to make flying geese fall) หวัง เจาจฺวิน เดิมเป็นนางกำนัลในวังหลวง ที่ฮ่องเต้ราชวงศ์ฮั่นส่งไปให้แก่ข่านของเผ่าซงหนู เพื่อกระชับสัมพันธ์ไมตรี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหวัง เจาจฺวิน · ดูเพิ่มเติม »

หวางตู้หลู่

หวางตู้หลู่ (ภาษาจีน: 王度盧, 2452-2520) เป็นนักเขียนนิยายกำลังภายในคนจีน เขียนออกมา 30 เรื่องได้ นิยายเรื่อง เสือหมอบมังกรซุ่ม ที่เขาเขียน ถูกทำออกมาเป็นภาพยนตร์ เรื่อง พยัคฆ์ระห่ำ มังกรผยองโลก ซึ่งประสบความสำเร็จมากในสหรัฐอเมริกา ได้รับรางวัลออสการ์ 4 รางวัล ในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหวางตู้หลู่ · ดูเพิ่มเติม »

หวง เสี้ยนฝัน

หวง เสี้ยนฝัน (ภาษาจ้วง:Vangz Yenfanh) (13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2442 - 18 มกราคม พ.ศ. 2525) เป็นนักประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา นักการศึกษา และศาสตราจารย์ชาวจีนผู้มีชื่อเสียงในฐานะชาติพันธุ์วิทยาระดับ เขาเป็นผู้บุกเบิกสาขาสารจ้วงศาสตร์ ศึกษาและเชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์สมัยโบราณชาวจีนและจ้วงชาติพันธุ์วิทยาประวัต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหวง เสี้ยนฝัน · ดูเพิ่มเติม »

หวงเฟยหง ภาค 1 ตอน หมัดบินทะลุเหล็ก

หวงเฟยหง ภาค 1 ตอน หมัดบินทะลุเหล็ก (Once Upon a Time in China) เป็นภาพยนตร์ศิลปะการต่อสู้สัญชาติฮ่องกง ค.ศ. 1991 เขียนบทและกำกับภาพยนตร์โดยฉีเคอะ นำแสดงโดย หลี่ เหลียนเจี๋ย,กวน จือหลิน ภาพยนตร์ชุดนี้เป็นภาคแรกของภาพยนตร์ซีรีส์ชุด หวงเฟยหง โดยมีภาคที่ 2 คือ หวงเฟยหง ภาค 2 ตอน ถล่มมารยุทธจักร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหวงเฟยหง ภาค 1 ตอน หมัดบินทะลุเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

หวงเฟยหง ภาค 2 ตอน ถล่มมารยุทธจักร

หวงเฟยหง ภาค 2 ตอน ถล่มมารยุทธจักร หรือ หวงเฟยหง ตอน ถล่มวังบัวขาว (อังกฤษ: Once Upon a Time in China II) เป็นภาพยนตร์ศิลปะการต่อสู้สัญชาติฮ่องกง ค.ศ. 1992 ที่ร่วมเขียนบทและกำกับภาพยนตร์โดยฉีเคอะ ภาพยนตร์ชุดนี้เป็นภาคสองของภาพยนตร์ซีรีส์ชุด หวงเฟยหง ต่อจากภาพยนตร์เรื่อง หวงเฟยหง ภาค 1 ตอน หมัดบินทะลุเหล็ก โดยมีภาคต่อจากนี้คือ หวงเฟยหง ภาค 3 ตอน ถล่มสิงโตคำราม นำแสดงโดย หลี่ เหลียนเจี๋ย,กวน จือหลิน,เจิ้น จื่อตัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหวงเฟยหง ภาค 2 ตอน ถล่มมารยุทธจักร · ดูเพิ่มเติม »

หวงเฟยหง ภาค 3 ตอน ถล่มสิงโตคำราม

หวงเฟยหง ภาค 3 ตอน ถล่มสิงโตคำราม (อังกฤษ: Once Upon a Time in China III) เป็นภาพยนตร์ศิลปะการต่อสู้สัญชาติฮ่องกง ค.ศ. 1993 ที่ร่วมเขียนบทและกำกับภาพยนตร์โดยฉีเคอะ ภาพยนตร์ชุดนี้เป็นภาคสามของภาพยนตร์ซีรีส์ชุด หวงเฟยหง ต่อจากภาพยนตร์เรื่อง หวงเฟยหง ภาค 2 ตอน ถล่มมารยุทธจักร โดยมีภาคต่อจากนี้คือ หวงเฟยหง ภาค 4 ตอน บรมคนพิทักษ์ชาติ นำแสดงโดย หลี่ เหลียนเจี๋ย,กวน จือหลิน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหวงเฟยหง ภาค 3 ตอน ถล่มสิงโตคำราม · ดูเพิ่มเติม »

หวงเฟยหง ภาค 4 ตอน บรมคนพิทักษ์ชาติ

หวงเฟยหง ภาค 4 ตอน บรมคนพิทักษ์ชาติ (อังกฤษ: Once Upon a Time in China IV) เป็นภาพยนตร์ศิลปะการต่อสู้สัญชาติฮ่องกง ค.ศ. 1993 กำกับภาพยนตร์โดยหยวน บัน ภาพยนตร์ชุดนี้เป็นภาคที่สี่ของภาพยนตร์ซีรีส์ชุด หวงเฟยหง ต่อจากภาพยนตร์เรื่อง หวงเฟยหง ภาค 3 ตอน ถล่มสิงโตคำราม โดยมีภาคต่อจากนี้คือ หวงเฟยหง ภาค 5 ตอน สยบจอมสลัด นำแสดงโดย เจ้า เหวินจั๋ว รับบทเป็นหวงเฟยหง แทนหลี่ เหลียนเจี๋ย, ม้อ เส้าชง, จีน หวัง, chin ka-lok, Wang Zhiwen, หลุยส์ รอ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหวงเฟยหง ภาค 4 ตอน บรมคนพิทักษ์ชาติ · ดูเพิ่มเติม »

หวงเฟยหง ภาค 5 ตอน สยบจอมสลัด

หวงเฟยหง ภาค 5 ตอน สยบจอมสลัด (อังกฤษ: Once Upon a Time in China V) เป็นภาพยนตร์ศิลปะการต่อสู้สัญชาติฮ่องกง ค.ศ. 1994 กำกับภาพยนตร์โดยฉีเคอะ ภาพยนตร์ชุดนี้เป็นภาคที่ห้าของภาพยนตร์ซีรีส์ชุด หวงเฟยหง ต่อจากภาพยนตร์เรื่อง หวงเฟยหง ภาค 4 ตอน บรมคนพิทักษ์ชาติ โดยมีภาคต่อจากนี้คือ หวงเฟยหง พิชิตตะวันตก นำแสดงโดย เจ้า เหวินจั๋ว รับบทเป็นหวงเฟยหง,กวน จือหลิน, ม้อ เส้าชง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหวงเฟยหง ภาค 5 ตอน สยบจอมสลัด · ดูเพิ่มเติม »

หอยกูอีดั๊ก

ำหรับหอยงวงช้างที่มีรูปร่างเหมือนหมึกผสมกับหอยฝาเดี่ยวดูที่: หอยงวงช้าง หอยกูอีดั๊ก (geoduck; หรือเรียกสั้น ๆ ว่า กูอี (Gooey) หรือ ดั๊ก (Duck)) เป็นหอยสองฝาที่พบในทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panopea generosa ในวงศ์ Hiatellidae เป็นหอยที่มีลักษณะเด่นคือ มีเปลือกสีขาวยาวประมาณ 15–20 เซนติเมตร แต่มีจุดเด่นคือ มีท่อดูดซึ่งตอนปลายมีรู 2 รู แยกเป็นรูดูดอาหารและรูปล่อยของเสียรวมถึงสเปิร์มในตัวผู้ และไข่ในตัวเมีย ยื่นยาวออกมาจากเปลือกอย่างเห็นได้ชัด แลดูคล้ายงวงของช้าง ซึ่งอาจยาวได้ถึง 1 เมตร หอยกูอีดั๊กจะอาศัยในทะเล โดยการฝังตัวใต้ทรายบริเวณชายฝั่งบริติชโคลัมเบียในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา หากินโดยการกินสาหร่ายทะเลเป็นอาหาร เมื่อถูกจับขึ้นมา จะพ่นน้ำคัดหลั่งออกมาจากปลายท่อดูด ขยายพันธุ์ด้วยการที่ตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อออกมาปฏิสนธิพร้อมกับตัวเมียที่ปล่อยไข่ออกมาได้ราวครั้งละ 10 ล้านฟอง ลูกหอยขนาดเล็กจะขุดหลุมฝังตัวใต้ทรายในระดับที่ตื้น ๆ ก่อนที่จะขุดลึกลงไปเรื่อย ๆ ตามวัยที่โตขึ้น ซึ่งอาจลึกได้ถึง 110 เมตร นอกจากนี้แล้ว หอยชนิดนี้ยังมีอายุยืนได้ถึง 146 ปี นับเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่มีอายุยืนที่สุดของโลก โดยมีฤดูการขยายพันธุ์อยู่ในช่วงเดือนมิถุนายน–กรกฎาคม ซึ่งเป็นช่วงที่น้ำมีอุณหภูมิค่อนข้างอุ่น เป็นหอยที่นิยมบริโภคกันทั้งในสหรัฐอเมริกาหรือประเทศทางภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยนิยมทำไปเป็นซูชิในอาหารญี่ปุ่น โดยถูกเฉือนเป็นแผ่นบาง ๆ หรือปรุงเป็นอาหารจีน ซึ่งมีชื่อเรียกในภาษาจีนเรียกว่า 象拔蚌 (พินอิน: Xiàng bá bàng; หอยงวงช้าง) ปัจจุบัน หอยชนิดนี้มีการเพาะเลี้ยงเป็นอุตสาหกรรม ลูกหอยที่เพาะออกมาได้ จะถูกนำไปฝังไว้ใต้ทรายบริเวณชายหาดในท่อพลาสติก ซึ่งต้องใช้เวลานานกว่า 5 ปี กว่าหอยจะโตเต็มวัยถึงขนาดที่จับขายได้.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหอยกูอีดั๊ก · ดูเพิ่มเติม »

หอสมุดดิจิทัลแห่งโลก

หอสมุดดิจิทัลแห่งโลก (World Digital Library, WDL) เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อ 21 เมษายน 2552 เป็นบริการห้องสมุดในอินเทอร์เน็ตที่รวบรวมทรัพยากรความรู้ที่เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมของหลายประเทศทั่วโลก เอกสารคุณค่าเหล่านี้ ได้แก่ หนังสือหายาก เอกสารต้นฉบับตัวเขียนและฉบับพิมพ์ แผนที่ รวมทั้งสื่อบันทึกเสียง ภาพยนตร์ รูปภาพ และภาพพิมพ์ ที่แปลงเป็นรูปดิจิทัลเพื่อให้บริการฟรีในอินเทอร์เน็ตที่ โครงการนี้เกิดจากความร่วมมือระหว่างยูเนสโกและ โดยตั้งความหวังไว้ว่าจะเป็นแหล่งรวมห้องสมุดสถาบันวัฒนธรรมจากทั่วโลก ปัจจุบันให้บริการสืบค้น 7 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย ภาษาสเปน ภาษาจีน ภาษาอารบิก และภาษาโปรตุเกส ซึ่งเป็นภาษาราชการของสหประชาชาติ เป้าหมายสำคัญที่ยูเนสโกและหอสมุดรัฐสภาอเมริกันย้ำ คือ การเติมเต็มช่องว่างดิจิทัลระหว่างประเทศต่าง ๆ เปิดโอกาสให้โลกรับรู้ รู้จักวัฒนธรรมของกันและกัน และเรียนรู้มากขึ้นเพื่อสร้างความเข้าใจและสันติภาพในโลก ซึ่งเทคโนโลยีสมัยใหม่โดยเฉพาะโครงการหอสมุดดิจิทัลสามารถเสนอความรู้ดิจิทัลและแบ่งปันกันอย่างเสรี หอสมุดแห่งชาติ 5 แห่ง ที่ร่วมริเริ่มกิจกรรมนี้ได้แก่ แล.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหอสมุดดิจิทัลแห่งโลก · ดูเพิ่มเติม »

หางโจว

หางโจว ทิวทัศน์ในปัจจุบันของทะเลสาบซีหู เมืองหางโจว มณฑลเจ้อเจียง ซึ่งในอดีตคือเมืองหลินอันราชธานีของซ่งใต้ หางโจว (จีน: 杭州; Hangzhou) เป็นเมืองหลวงของมณฑลเจ้อเจียง สาธารณรัฐประชาชนจีน เมืองหางโจว ซึ่งเป็นเมืองเก่าแก่ 1 ใน 6 ของประเทศจีน ปัจจุบันหางโจว ถือเป็นเมืองที่อยู่ในเขตภาคตะวันออกที่ได้รับการพัฒนาอย่างสูงสุดแล้ว ดังนั้นหางโจวจึงเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีว่า เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ มีวัฒนธรรมที่ยาวนาน และเป็นเมืองที่มีทัศนียภาพที่สวยสดงดงามเมืองหนึ่งของประเทศจีน รวมทั้งมั่งคั่งไปด้วยเภสัชอุตสาหกรรม และสถาบันศิลปะมากมาย เมืองหางโจวถือว่าเมืองดิจิตอลไร้สายได้ครอบคลุมถึงทางหลวงและตรอกเล็กซอยน้อยต่างๆในเมือง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหางโจว · ดูเพิ่มเติม »

หุย

วหุย (จีน:回族;พินอิน:Huízú, อาหรับ:هوي) เป็นมุสลิมกลุ่มหนึ่งในประเทศจีน มีประชากร 9.82 ล้านคน มีประชากรเพียงหนึ่งในสามของประชากรทั้งหมดในเขตปกครองตนเองหุยหนิงเซี่ย ชาวหุยก็คือชาวจีนที่นับถือศาสนาอิสลาม ชาวหุยส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่บริเวณพื้นที่ทุรกันดารทางตอนใต้ของเขตปกครองตนเอง ถึงแม้ว่าชาวหุยจะเป็นมุสลิม นับถืออิสลาม แต่ในปัจจุบันการแยกความแตกต่างของชาวหุยกับชาวจีนฮั่นโดยใช้ศาสนาค่อนข้างจะยากอยู่ ชาวหุยที่เป็นผู้ชายจะสวมหมวกสีขาว ส่วนผู้หญิงชาวหุยบางคนในปัจจุบันยังคงใส่ม่านบังหน้า ชาวหุยหลายคนที่ไม่คิดว่าคำว่า "เมกกะ" มีความสำคัญแต่อย่างใด แต่ในประเทศไทยชาวจีนที่นับถืออิสลาม จะเรียกว่า "จีนฮ่อ" ในพม่าจะเรียกว่า "ปันทาย" (Panthay) และชาวจีนมุสลิมที่อยู่ในเอเชียกลางจะถูกเรียกว่า "ดันกัน" (Dungans;дунгане).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหุย · ดูเพิ่มเติม »

หฺวัง ไถจี๋

ฉงเต๋อ (28 พฤศจิกายน 1592 – 21 กันยายน 1643) หรือชื่อตัวว่า หฺวัง ไถจี๋ (黃台吉) หรือ หง ไท่จี๋ (洪太極) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ชิง ซึ่งรวมแผ่นดินจีนที่นู่เอ๋อร์ฮาชื่อ (努爾哈赤) บิดา ก่อตั้งขึ้นแต่ตายเสียก่อนการจะสำเร็จ หฺวัง ไถจี๋ ยังได้เปลี่ยนนามชนชาตินฺหวี่เจิน (女眞; Jurchen) เป็นหมั่นจู๋ (滿族; Manchu) คือ แมนจู และเปลี่ยนนามราชวงศ์จินตอนปลายที่บิดาตั้งไว้เป็นราชวงศ์ชิง ราชวงศ์นี้ดำรงอยู่ต่อมาถึงปี 1912 เนื่องจากนู่เอ๋อร์ฮาชื่อยังไม่ทันได้ตั้งตัวเป็นเจ้าขณะมีชีวิตอยู่ หฺวัง ไถจี๋ จึงเฉลิมยศพระมหากษัตริย์ให้บิดาในภายหลัง ฉะนั้น จึงถือกันว่า นู่เอ๋อร์ฮาชื่อเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ชิง และหฺวัง ไถจี๋ เป็นทุติยกษัตร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหฺวัง ไถจี๋ · ดูเพิ่มเติม »

หงส์

หงส์ (มักเขียนผิดเป็น หงษ์) เป็นนกน้ำขนาดใหญ่ที่อยู่ในสกุล Cygnus ในวงศ์ Anatidae อันเป็นวงศ์เดียวกับเป็ดและนกเป็ดน้ำ มีลักษณะทั่วไป มีขนสีขาวทั้งตัว จะงอยปากสีเหลืองส้มและมีปุ่มสีดำที่ฐานของปาก มักรวมฝูงในบึงน้ำเพื่อกินพืชน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก พบในทวีปเอเชียทางตอนเหนือ, ยุโรปทางตอนเหนือ, อเมริกา และออสเตรเลีย หงส์ สามารถร่อนลงบนพื้นน้ำแข็งหรือผิวน้ำที่เยือกตัวเป็นน้ำแข็งได้ เพราะมีอุ้งตีนที่ใหญ่คล้ายใบพายซึ่งช่วยกระจายน้ำหนักได้เมื่อร่อนลง แต่จะควบคุมการร่อนได้ดีกว่าในบริเวณที่น้ำแข็งละลาย หงส์มีทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

หนานเยฺว่

หนานเยฺว่ หรือ นามเหวียต (Nam Việt) เป็นอาณาจักรโบราณที่มีอาณาเขตปกคลุมบริเวณมณฑลทางตอนใต้ของจีน อันได้แก่ กวางตุ้ง, กว่างซี และยูนนาน ไปจนถึงตอนเหนือของเวียดนามในปัจจุบัน หนานเยฺว่ได้รับการก่อตั้งในช่วง 204 ปีก่อนคริสต์ศักราช ในช่วงการล่มสลายของราชวงศ์ฉินของจีน หนานเยฺว่ได้ถูกก่อตั้งโดย จ้าว ถัว ผู้ปกครองดินแดนทะเลจีนใต้ อาณาเขตของหนานเยฺว่ในช่วงแรกประกอบด้วยหนานไฮ่, กุ้ยหลิน และ เซียง ใน 196 ปีก่อนคริสต์ศักราช จ้าว ถัว ได้สวามิภักดิ์ต่อจักรพรรดิฮั่นเกาจู่แห่งราชวงศ์ฮั่น ดินแดนหนานเยฺว่ได้ถูกเรียกโดยผู้ปกครองชาวจีนฮั่นว่าเป็น "คนรับใช้ชาวต่างชาติ" มีภาพพจน์เป็นดินแดนส่วนหนึ่งของจีน ประมาณ 183 ปีก่อนคริสต์ศักราช ความสัมพันธ์ระหว่างหนานเยฺว่และราชวงศ์ฮั่นได้ห่างเหินต่อกันมากขึ้น และ จ้าว ถัวได้เริ่มที่จะสถาปนาอ้างตัวเองว่าเป็นจักรพรรดิอีกทั้งประกาศอาณาจักรหนานเยฺว่เป็นอิสระ ใน 179 ปีก่อนคริสต์ศักราช ความสัมพันธ์ระหว่างหนานเยฺว่และราชวงศ์ฮั่นกลับมาดีขึ้นอีกครั้ง จ้าว ถัวได้ยอมสวามิภักดิ์ส่งเครื่องราชบรรณาการต่อราชวงศ์ฮั่นอีกครั้ง ในสมัยของจักรพรรดิฮั่นเหวิน ในฐานะเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของราชวงศ์ฮั่นของจีน อย่างไรก็ตามแม้จะมีการส่งบรรณาการและการยอมสวามิภักดิ์ หนานเยฺว่ยังคงมีอิสระและยังคงปกครองตนเองจากชาวจีนฮั่น และจ้าว ถัว ยังอ้างตนเป็น "จักรพรรดิ" แห่งหนานเยฺว่ จนกระทั่งพระองค์สิ้นพระชนม์ ในช่วง 113 ปีก่อนคริสตกาล ผู้นำ 4 รุ่น แห่งตระกูลจ้าว จ้าว ซิง มีแนวโน้มที่มีใจฝักใฝ่จีนโดยได้พยายามขอให้ราชวงศ์ฮั่นยอมรับหนานเยฺว่เป็นส่วนหนึ่งอย่างเป็นทางการ อัครมหาเสนาบดีของพระองค์ ลฺหวี่เจีย ได้คัดค้านอย่างรุนแรงและได้สมคบคิดวางแผนกับขุนนางคนอื่นๆทำการลอบสังหารจ้าว ซิง และอัญเชิญพระเชษฐา จ้าว เจี้ยนเต๋อที่มีพระชนม์มากกว่าขึ้นครองราชย์ ลฺวี่เจียได้บับบังคับจ้าว เจี้ยนเต๋อตั้งตนเป็นอิสระแข็งข้อต่อราชวงศ์ฮั่น ซึ่งเท่ากับเผชิญหน้ากับราชวงศ์ฮั่น ในปีต่อมาจักรพรรดิฮั่นอู่แห่งราชวงศ์ฮั่นได้ส่งกองทัพ 100,000 คน ทำสงครามบุกหนานเยฺว่ จนกระทั่งเมื่อถึงปลายปีเดียวกันนั้น กองทัพราชวงศ์ฮั่นได้บุกยึดและทำลายหนานเยฺว่ลงอย่างราบคาบและสถาปนาเป็นดินแดนของชาวจีนฮั่น ดินแดนหนานเยฺว่ได้สิ้นสุดลงนับแต่บัดนั้น โดยดำรงอยู่ 93 ปี มีกษัตริย์ปกครอง 5 รุ่น การก่อตั้งอาณาจักรหนานเยฺว่เกิดมาจากการที่เป็นเมืองหน้าด่านของแคว้นหลิงหนานในระหว่างช่วงความวุ่นวายสับสนระหว่างการล่มสลายของราชวงศ์ฉิน เปิดโอกาสให้แคว้นทางตอนใต้ของจีนได้มีอิสระและหลีกเลี่ยงการปกครองที่กดขี่จากชาวจีนฮั่นที่มาจากแคว้นทางเหนือของจีน อาณาจักรหนานเยฺว่ถูกก่อตั้งโดยผู้นำชาวจีนฮั่นที่มาจากภาคกลางของจีนตอนบนซึ่งนำไปสู่การนำรูปแบบการปกครองแบบเจ้าขุนมูลนายจีน, เทคนิควิธีทางการเกษตร, ข้าวของเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทันสมัย มาสอนเผยแพร่แก่ชนพื้นเมืองแคว้นทางตอนใต้ อาทิเช่น การรับรู้ภาษาจีนและระบบการเขียนแบบจีน ผู้นำหนานเยฺว่แทบทุกพระองค์สนับสนุนนโยบาย "สามัคคีและรวบรวมชนเผ่าไป่เยฺว่" ประกอบกับตัวผู้นำเองมีใจฝักใฝ่จีนโดยมีการเชิญชวนให้ชาวจีนฮั่นผู้เป็นมิตรมาแสวงโชคโดยอพยพจากดินแดนแถบลุ่มแม่น้ำหวงโฮทางตอนเหนือเข้ามาอาศัยในดินแดนตอนใต้ พวกเขายังสนับสนุนนโยบาย เปลี่ยนให้เป็นจีน โดยการกลมกลืนระหว่างสองวัฒนธรรมและผู้คน ระหว่างสองวัฒนธรรมจีนฮั่นและวัฒนธรรมพื้นเมืองทางตอนใต้ บ่อยครั้งที่วัฒนธรรมจีนมักจะดูดกลืนวัฒนธรรมของชนพื้นเมือง ผู้นำหนานเยฺว่ ตระกูลจ้าว ยังประกาศใช้วัฒนธรรมจีนและภาษาจีนไปทั่วทั้งดินแดนหนานเยฺว่ แม้ว่าจะมีการรักษาขนบธรรมเนียมดั้งเดิมของตนเอาไว้ควบคู่กัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหนานเยฺว่ · ดูเพิ่มเติม »

หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน

หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน หรือชื่อเรียกย่อ โอดอส (ODOS ย่อมาจาก One District One Scholarship) เป็นโครงการพัฒนาการศึกษาของรัฐบาลในยุค ทักษิณ ชินวัตร ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และ อดิสัย โพธารามิก ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยชื่อเดิม และชื่อเต็มของโครงการนี้คือ โครงการทุนการศึกษาต่อของนักเรียนจากทุกอำเภอ และกิ่งอำเภอ ในระดับอุดมศึกษา (ปริญญาตรี) ทุนการศึกษา "หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน" ได้รับเงินสนับสนุนจากสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล โดยได้นำเงินจากการขายหวยออนไลน์ เลขท้าย 2 ตัวและ 3 ตัว ทำให้หลายคนเรียกและรู้จักทุนนี้ในชื่อของ "ทุนหวย".

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน · ดูเพิ่มเติม »

ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์

ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ (Dexter's Laboratory) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของสหรัฐอเมริกา ผลิตโดย Gendy Tatakovsky โดยค่าย Hanna-Barbera Cartoons ในปี 1996-1998 และเปลี่ยนมือมาเป็น Cartoon Network Studios ในปี 2001-2003 ฉายทั่วโลกผ่านทางช่อง Cartoon Network และทางยูบีซีช่อง 29 (ปัจจุบันทรูวิชั่นส์ ช่อง 44) สำหรับประเทศไทย ปัจจุบันออกอากาศที่ช่องบูมเมอแรง ช่อง 89 เรื่องราวของห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ เป็นเรื่องราวของเด็กซ์เตอร์ เด็กอัจฉริยะ ผู้ซึ่งมีสติปัญญาเหนือเด็กทั่วไป เขามีห้องทดลองลับอยู่ในห้องนอนของเขา โดยในแต่ละตอนเขามีหน้าที่ปกป้องห้องทดลองของเขาจากดีดี พี่สาวตัวร้าย และต้องไม่ให้พ่อกับแม่รู้เรื่องนี้อีกด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อสูรปกครองศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 4

ลาจารึกในยุคราชวงศ์ฮั่นแสดงถึงเทพอสูรปกครองศักสิทธิ์ทั้ง 4 รวมถึงมังกรทองด้วยที่อยู่ตรงกลาง อสูรปกครองศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 4 (อังกฤษ: Four Symbols; จีน: 四霛/四灵; ญี่ปุ่น: 四神) เป็น สัตว์เทพอสูรทั้ง 4 ตามเทพนิยายจีนซึ่งทำหน้าที่ปกครองทิศทั้ง 4 บนสวรรค์ และเทพอสูรแต่ละองค์จะประกอบด้วยกลุ่มดาว 7 กลุ่ม นอกจากนั้นสัตว์เทพอสูรทั้ง 4 ยังเป็นตัวแทนธาตุหลักตามตำราจีนด้วย ซึ่งนำเอาใช้ในตำราแพทย์ของจีน รวมถึงศิลปะการต่อสู้อีกด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอสูรปกครองศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 4 · ดูเพิ่มเติม »

อักษร

แผนที่โลกแบ่งตามอักษรที่ใช้ อักษร คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายสำหรับใช้แทนหน่วยเสียงในภาษาหนึ่ง ๆ โดยเรียกรวมทั้งชุดหรือทั้งระบบ โดยทั่วไป อักษรแต่ละตัว มักจะใช้แทนหน่วยเสียงหนึ่งๆ ซึ่งอาจเป็นเสียงสระ พยัญชนะ หรือหน่วยเสียงปลีกย่อยอื่นๆ เช่น อักษรโรมัน อักษรไทย อักษรมอญ โดยทั่วไปเรียกกันว่า "ตัวหนังสือ" อย่างไรก็ตาม สัญลักษณ์แทนเสียงในบางภาษาอาจใช้แทนเสียงของพยางค์หรือคำ ก็ได้ เช่น อักษรจีน หรือตัวหนังสือจีน (นักวิชาการบางสำนักไม่ถือว่าตัวหนังสือจีน เป็น "อักษร" ตามนิยามของคำว่า alphabet ในภาษาอังกฤษ แต่เรียกว่า ideogram คือสัญลักษณ์แทนคำ หรือหน่วยคำ) แบบแผนว่าด้วยตัวหนังสือนั้น ในตำราภาษาไทย เรียกว่า อักขรวิธี ซึ่งว่าด้วยการเขียน การอ่าน การประสมอักษร และการใช้อักษรอย่างถูกต้อง อักษรอาจใช้สำหรับภาษาหนึ่ง ๆ หรือใช้กับหลายภาษาก็ได้ ด้วยเหตุนี้ จึงมักจะมีความเข้าใจสับสน ระหว่าง คำว่า อักษร และภาษา อยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น อักษรโรมัน ใช้เขียนภาษาต่างๆ หลายภาษาในยุโรป โดยมีการดัดแปลงเล็กๆ น้อยๆ เพื่อให้สามารถแทนเสียงในภาษาของตนได้ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน เป็นต้น รวมทั้งภาษาในภูมิภาคอื่นๆ เช่น ภาษามลายู ภาษาจีน และภาษาเวียดนาม (ดัดแปลงตัวอักษร) เป็นต้น มีหลายประเทศใช้อักษรที่แตกต่างกันตามเวลาเช่น อักษรในสมัยโบราณ เมื่อเวลาผ่านไป ก็เปลี่ยนรูปร่างไปเป็นอักษรปัจจุบัน หรือเปลี่ยนไปใช้อักษรชนิดอื่นโดยสิ้นเชิง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอักษร · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฟราเซอร์

อักษรฟราเซอร์ (Fraser) หรือ อักษรลีสู่ (Lisu) ประดิษฐ์เมื่อราว..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอักษรฟราเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรพอลลาร์ด

อักษรพอลลาร์ด หรือ พอลลาร์ดเมียว ประดิษฐ์โดยแซม พอลลาร์ด มิชชันนารีชาวอังกฤษโดยมีผู้ช่วยคือ ยาง ยาก และ ลิ ซิติฟาน ก่อนหน้านี้ภาษาม้งหรือแม้วเขียนด้วยอักษรจีน จนกระทั่งพอลลาร์ดประดิษฐ์อักษรใหม่เมื่อ..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอักษรพอลลาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

อักษรพักส์-ปา

อกสารเขียนด้วยอักษรพักส์-ปา อักษรพักส์-ปา (Phags-pa alphabet) กุบไลข่านมอบหมายให้พระลามะจากทิเบตชื่อ มติธวจะ ศรีภัทร (1782 – 1823) ประดิษฐ์อักษรใหม่สำหรับภาษามองโกเลียขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอักษรพักส์-ปา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรญี่ปุ่น

ก่อน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอักษรญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอี๋

อักษรอี๋ (Yi Syllabary) ต้นกำเนิดของอักษรอี๋ไม่แน่นอน แต่อาจเป็นไปได้ว่าได้รับอิทธิพลจากอักษรจีน อักษรอี๋ที่เก่าที่สุดมีอายุราว..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอักษรอี๋ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฮันกึล

"ฮันกึล" จะเห็นว่าใน 1 คำ ประกอบด้วยพยัญชนะและสระ ภาพส่วนหนึ่งของเอกสาร "ฮูมิน จองอึม" ฮันกึล (한글, Hangeul, Hangul) เป็นชื่อเรียกตัวอักษรของเกาหลีที่ได้ประดิษฐ์ขึ้นใช้แทนตัวอักษรฮันจา ฮันจานั้นหมายถึงตัวอักษรจีนที่ใช้ในภาษาเกาหลีก่อนที่จะมีการประดิษฐ์อักษรขึ้นใช้แทนโดยพระเจ้าเซจงมหาราช (세종대왕).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอักษรฮันกึล · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฮันจา

ำว่า ฮันจา ในภาษาเกาหลี ตัวสีแดงเขียนด้วยตัวอักษรฮันจา และตัวสีน้ำเงินเขียนด้วยฮันกึล ฮันจา (ฮันจา: 漢字, ฮันกึล: 한자) หรือ ฮันมุน บางครั้งเรียกว่า อักษรจีน-เกาหลี หมายถึงอักษรจีนที่ยืมมาใช้ในภาษาเกาหลี และออกเสียงเป็นภาษาจีนแต่ในสำเนียงของภาษาเกาหลี ตัวอักษรฮันจาไม่เหมือนตัวอักษรคันจิ ในภาษาญี่ปุ่นที่ถูกปรับปรุงและย่อแบบญี่ปุ่นไปหลายตัว ในขณะที่อักษรฮันจาใช้ตัวอักษรจีนตัวเต็ม มีเพียงส่วนน้อยที่ย่อและใช้เหมือนตัวอักษรคัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอักษรฮันจา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจีน

รูปอักษรจีนของคำว่า "ฮั่นจื้อ"-คันจิ-ฮันจา-ฮั้นถื่อ (漢字 / 汉字 หมายถึง "อักษรจีน") สีแดงเป็นอักษรจีนตัวย่อ อักษรจีน คืออักษรภาพ (logogram) ที่โดยหลัก ๆ ในปัจจุบันใช้สำหรับเขียนภาษาจีน (เรียกว่า ฮั่นจื้อ) และภาษาญี่ปุ่น (เรียกว่า คันจิ) นอกจากนี้ก็ยังใช้เขียนระบบเลขของภาษาอื่นด้วย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดที่สุดเช่นภาษาเกาหลี (เรียกว่า ฮันจา) และภาษาเวียดนาม (เรียกว่า จื๋อโนม) และยังคงหลงเหลืออยู่ในภาษาเหล่านี้ในบางระดับ อักษรจีนเป็นระบบการเขียนที่ใช้กันมาอย่างต่อเนื่องอันเก่าแก่ที่สุดในโลก นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่เชื่อว่า การเขียนในจีนที่เก่าสุดเริ่มเมื่อ 957 ปีก่อนพุทธศักราช ไม่มีหลักฐานแสดงความเกี่ยวข้องกับการเขียนในบริเวณอื่น ตัวอย่างการเขียนภาษาจีนที่เก่าสุดมีอายุราว 957 – 407 ปี ก่อนพุทธศักราช (ราชวงศ์ซาง) ซึ่งเป็นจารึกบนกระดูกวัวและกระดองเต..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอักษรจีน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจีนตัวย่อ

Hànzì ฮั่นจื้อ แปลว่า ภาษาฮั่น หรือ ภาษาจีนกลาง เขียนด้วยอักษรจีนตัวย่อ แผนภาพออยเลอร์แสดงกลุ่มของการเปลี่ยนแปลงอักษรจีนตัวเต็มไปเป็นอักษรจีนตัวย่อ อักษรจีนตัวย่อ (เจี่ยนถี่จื้อ/เจี่ยนฮั่วจื้อ) เป็นหนึ่งในสองรูปแบบอักษรจีนมาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลกในปัจจุบัน อักษรจีนตัวย่อประดิษฐ์และเริ่มใช้โดยรัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) ใน พ.ศ. 2492 เหตุที่ต้องเรียกว่าอักษรจีนตัวย่อ หรือ Simplified Chinese character ก็เพื่อให้แตกต่างจากอักษรจีนมาตรฐานอีกรูปแบบหนึ่งที่ในปัจจุบัน นั่นคือ อักษรจีนตัวเต็ม หรือ Traditional Chinese Character (อักษรจีนดั้งเดิม) อักษรจีนตัวเต็มได้ใช้ใน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนก่อนการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย ส่วนอักษรจีนตัวย่อ ใช้กันใน สาธารณรัฐประชาชนจีน สิงคโปร์ และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนหลังการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากยังคงใช้อักษรจีนตัวเต็มเป็นหลัก แต่สำหรับการสอนภาษาจีนตามสถานศึกษาในประเทศไทยส่วนมากจะใช้อักษรจีนตัวย่อ เพื่อให้เป็นแบบแผนเดียวกันกับสาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอักษรจีนตัวย่อ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจีนตัวเต็ม

Hànzì ฮั่นจื้อ แปลว่า ตัวอักษรจีน เขียนด้วยอักษรจีนตัวเต็ม อักษรจีนตัวเต็ม เป็นหนึ่งในสองรูปแบบอักษรจีนมาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลกในปัจจุบัน ปรากฏครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฮั่น (พ.ศ. 337 - 763) และได้ใช้มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ในสมัยราชวงศ์เหนือใต้ ที่ต้องเรียกว่าอักษรจีนตัวเต็ม หรืออักษรจีนดั้งเดิม ก็เพื่อให้แตกต่างจากอักษรจีนมาตรฐานอีกรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในปัจจุบัน นั่นคือ อักษรจีนตัวย่อ ซึ่งประดิษฐ์และเริ่มใช้โดยรัฐบาลของ สาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) ใน พ.ศ. 2492 อักษรจีนตัวเต็มได้ใช้ใน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนก่อนการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย ส่วนอักษรจีนตัวย่อ ใช้กันใน สาธารณรัฐประชาชนจีน สิงคโปร์ และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนหลังการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากยังคงใช้อักษรจีนตัวเต็มเป็นหลัก แต่สำหรับการสอนภาษาจีนตามสถานศึกษาในประเทศไทยส่วนมากจะใช้อักษรจีนตัวย่อ เพื่อให้เป็นแบบแผนเดียวกันกับสาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอักษรจีนตัวเต็ม · ดูเพิ่มเติม »

อักษรทิเบต

ระอักษรทิเบต ในช่วง..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอักษรทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

อักษรแมนจู

อักษรแมนจู (จีนกลาง: 满文; พินอิน: mǎn wén หม่าน เหวิน, Manchu alphabet) เริ่มปรากฏเมื่อ พ.ศ. 2142 ประดิษฐ์โดยผู้นำชาวแมนจู นูร์ฮาจี ผู้สถาปนารัฐแมนจู พัฒนามาจากอักษรมองโกเลียโบราณ มีการปรับปรุงเล็กน้อยเมื่อ พ.ศ. 2175 เมื่อชาวแมนจูสถาปนาราชวงศ์ชิงเมื่อ พ.ศ. 2187 ช่วง 200 ปีแรก ภาษาแมนจูเป็นภาษาราชการหลักและใช้เป็นภาษากลาง เมื่อราว..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอักษรแมนจู · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเสี่ยวเอ้อร์

นานุกรมภาษาจีน-ภาษาอาหรับ-เสี่ยวเอ้อร์ในช่วงแรกของสาธารณรัฐประชาชนจีน อักษรเสี่ยวเอ้อร์ หรือ เสี่ยวเอ้อร์จิง (Xiao'erjing or Xiao'erjin or Xiaor jin หรืออย่างย่อว่า Xiaojing), แปลตรงตัวคือการเขียนของเด็ก หรือการเขียนส่วนน้อย โดยการเขียนดั้งเดิมจะหมายถึงอักษรอาหรับต้นแบบ เป็นรูปแบบการเขียนภาษาจีนด้วยอักษรอาหรับ อักษรนี้ใช้เป็นบางโอกาสในกลุ่มของชนกลุ่มน้อยในจีนที่นับถือศาสนาอิสลาม (ส่วนใหญ่เป็นชาวหุย แต่ก็มีชาวต้งเซี่ยง และชาวซาลาร์) และเคยใช้ในลูกหลานของชาวดันกันในเอเชียกลาง สหภาพโซเวียต ได้บังคับให้ชาวดันกันใช้อักษรละตินแทนที่อักษรเสี่ยวเอ้อร์ และต่อมาเปลี่ยนเป็นอักษรซีริลลิกในปัจจุบัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอักษรเสี่ยวเอ้อร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลฟาโรเมโอ 164

อัลฟาโรเมโอ 164 (Alfa Romeo 164) ออกขายครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอัลฟาโรเมโอ 164 · ดูเพิ่มเติม »

อาการกลัวเลขสิบสาม

หมายเลขคอกม้าที่ Santa Anita Park ไล่จาก 12 ไป 12A ไป 14 อาการกลัวเลขสิบสาม (triskaidekaphobia) คืออาการกลัวในการพบเห็นจำนวน 13 และหลีกเลี่ยงที่จะใช้มัน ซึ่งเป็นความเชื่องมงายชนิดหนึ่งและเกี่ยวข้องกับอาการกลัวจำเพาะวันศุกร์ที่สิบสาม ศัพท์คำนี้มีการใช้เป็นครั้งแรกโดย อิซาดอร์ คอเรียต ในหนังสือ แอบนอร์มัล ไซคอลอจี (จิตวิทยาผิดปรกติ).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอาการกลัวเลขสิบสาม · ดูเพิ่มเติม »

อาสาสนุก

อาสาสนุก เป็นอัลบั้มเพลงลำดับที่ 16 ของธงไชย แมคอินไตย์ ซูเปอร์สตาร์ชาวไทย โดยค่ายจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2553 เป็นอัลบั้มที่มียอดดาวโหลดเพลงในอัลบั้ม และมียอดจำหน่ายสูงสุด ในปี 2554 และเป็น 1 ใน 50 อัลบั้มขายดีที่สุดของแกรมมี่ในยุคดิจิตอล 2007-2017 หากนับยุค 2010 - 2017 อัลบั้มอาสาสนุกเป็นอัลบั้มที่มียอดจำหน่ายสูงสุดของยุค นอกจากนั้นเขามีคอนเสิร์ตใหญ่จัดการแสดงที่ อิมแพ็ค เมืองทองธานี 8 รอบ ในชื่อคอนเสิร์ตเบิร์ดอาสาสนุก และเบิร์ดอาสาสนุกอังกอร์พลั.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอาสาสนุก · ดูเพิ่มเติม »

อาหารมาเลเซีย

มะตะบะที่ขายริมถนนในมาเลเซีย อาหารมาเลเซีย เป็นอาหารที่ได้รับอิทธิพลจากหลายวัฒนธรรมทั่วโลก อิทธิพลหลักมาจากชาวมลายู ชาวจีน และชาวอินเดีย นอกจากนั้นยังได้รับอิทธิพลจากชาวเปอรานากันและยูเรเซีย ชาวโอรังอัสลี และชนเผ่าต่าง ๆ ในซาราวะก์และซาบะฮ์ อาหารมาเลเซียจึงมีความหลากหลายมากโดยรวมทั้งการปรุงอาหารของมลายู จีน อินเดีย อินโดนีเซียโดยเฉพาะในเกาะบอร์เนียว และได้รับอิทธิพลในส่วนน้อยมาจากไทย โปรตุเกส อังกฤษ อาหรับ ทำให้อาหารมาเลเซียมีความหลากหลายทั้งรสชาติ วิธีการ และมีความซับซ้อนมาก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอาหารมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรวมชิลลา

อาณาจักรรวมชิลลา (통일 신라, Unified Silla) เป็นอาณาจักรที่สถาปนาเมื่อปี ค.ศ. 668 โดยพระเจ้ามุนมูแห่งอาณาจักรชิลลา ภายหลังจากการรวม อาณาจักรโคกูรยอ และ อาณาจักรแพ็กเจ เข้าเป็นหนึ่งเดียวกับชิลลาโดยอาณาจักรแห่งนี้มีราชธานีอยู่ที่คย็องจู ซึ่งอาณาจักรรวมชิลลาได้ล่มสลายลงในปี ค.ศ. 935 ภายหลังจากการยอมจำนนต่อวัง กอน ของพระเจ้าคยองซุน กษัตริย์องค์สุดท้.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอาณาจักรรวมชิลลา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรีวกีว

อาณาจักรรีวกีว (琉球王国 Ryūkyū Ōkoku; รีวกีว: Ruuchuu-kuku;; ค.ศ. 1429 — 1879) เป็นรัฐเอกราช ครอบครองหมู่เกาะรีวกีว เกือบทั้งหมดตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 - 19 ชื่อของอาณาจักรรีวกีวปรากฏในเอกสารต้นกรุงรัตนโกสินทร์ว่า ลิชี่ว (ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์) หรือ ลิ่วขิ่ว (โคลงภาพคนต่างภาษา) กษัตริย์ของอาณาจักรรีวกีวได้รวบรวมเกาะโอะกินะวะ ให้เป็นปึกแผ่น และขยายอาณาเขตไปถึงหมู่เกาะอะมะมิ (ปัจจุบันอยู่ในเขตจังหวัดคะโงะชิมะ และหมู่เกาะซะกิชิมะ ใกล้กับเกาะไต้หวัน แม้ว่าจะเป็นอาณาจักรเล็ก ๆ แต่ก็มีบทบาทสำคัญทางด้านการค้าทางทะเลในยุคกลางของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอาณาจักรรีวกีว · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรแพ็กเจใหม่

ูแบ็กเจ หรือ อาณาจักรแพ็กเจใหม่ (ค.ศ. 892 – ค.ศ. 936) เป็นหนึ่งในสามอาณาจักรหลังของเกาหลี (อีกสองอาณาจักรได้แก่อาณาจักรโคกูรยอใหม่และอาณาจักรชิลลา โดยถูกก่อตั้งโดย คยอน ฮวอน ใน ค.ศ. 900 และล่มสลายลงไปอีกใน ค.ศ. 936 โดยกองทัพของวังกอนปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โครยอมาโจมตี มีเมืองหลวงอยู่ที่ช็อนจู (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดช็อลลาเหนือ) โดยหนังสือซัมกุกยูซาและซัมกุกซากิกล่าวว่าเป็นอาณาจักรสืบต่อมาจากอาณาจักรแพ็ก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอาณาจักรแพ็กเจใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรโคกูรยอ

กูรยอ (เสียงอ่าน::; 37 ปีก่อนค.ศ. - ค.ศ. 668) เป็นอาณาจักรเกาหลีโบราณที่พระเจ้าทงมย็องซ็องทรงสถาปนาขึ้น ปัจจุบันดินแดนส่วนใหญ่อยู่ในประเทศเกาหลีเหนือและคาบสมุทรเหลียวตงของประเทศจีน ราชวงศ์นี้มีอาณาเขตตั้งแต่เกาหลีเหนือปัจจุบันแมนจูเรียถึงรัสเซียบางส่วนเป็นราชวงศ์แรก ที่ถูกบันทึกหลักฐานราชวงศ์นี้มีพระมหากษัตริย์ที่เป็นมหาราชพระองค์แรกของเกาหลีคือพระเจ้าควังแกโทมหาราช รัชกาลที่ 19 ของราชวงศ์ ผู้ทรงพระปรีชาสามารถทั้งเรื่องรบและเรื่องรัก ทรงขยายพระราชอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวางต่อมาจักรวรรดินี้เริ่มมีปัญหารบรากับอาณาจักรแพ็กเจและอาณาจักรชิลลา ในสมัยราชวงศ์ถัง (618-907) ในขณะนั้นตรงกับรัชสมัยจักรพรรดิถังเกาจง (หลี่จื้อ) จักรพรรดิองค์ที่ 3 ประมาณปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอาณาจักรโคกูรยอ · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมสิงคโปร์

อาณานิคมสิงคโปร์ หมายถึง ประวัติศาสตร์สิงคโปร์หลังปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอาณานิคมสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกะทู้

กะทู้ เป็นอำเภอหนึ่งในสามอำเภอของจังหวัดภูเก็ต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอำเภอกะทู้ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกันตัง

กันตัง เป็นอำเภอเก่าแก่อำเภอหนึ่งในจังหวัดตรัง คำว่า "กันตัง" สันนิษฐานว่าเป็นคำในภาษามลายู.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอำเภอกันตัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเกาะสีชัง

อำเภอเกาะสีชัง ตั้งอยู่ในอ่าวไทย นอกชายฝั่งอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เป็นอำเภอที่เล็กที่สุดในประเทศไทย แต่เดิมขึ้นอยู่กับจังหวัดสมุทรปราการ มีหลวงศรีชลังคณารักษ์ เป็นผู้รักษาราชการ ต่อมาถูกย้ายไปขึ้นกับจังหวัดชลบุรีในปี พ.ศ. 2486.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอำเภอเกาะสีชัง · ดูเพิ่มเติม »

อิงริช

ตัวอย่างของอิงริช จากปกซิงเกิลเพลง โดยต้องการสะกดคำว่า Three Lights แต่เขียนผิดเป็น Three Rights อิงริช (Engrish) เป็นชื่อเรียกของการใช้ภาษาอังกฤษที่ไม่บริบูรณ์ ในแถบเอเชียตะวันออกโดยเฉพาะภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลี และภาษาจีน โดยรวมถึงการใช้คำ การสะกด การออกเสียง และไวยากรณ์ คำว่า "อิงลิช" มีที่มาจากการที่ภาษาญี่ปุ่นใช้เสียง R และเสียง L แทนด้วยตัวอักษรเสียงเดียวกันคือ "แถวระ" ซึ่งทำให้คำที่ใช้ตัวอักษร L ถูกแทนด้วยเสียง R หมด เช่นคำว่า English จะถูกอ่านเหมือน Engrish เป็นต้น ซึ่งการออกเสียง R และ L นั้นเป็นปัญหาในหลายประเทศในเอเชียตะวันออกรวมถึงจีน หรือแม้แต่ในไทยเองที่ออกเสียง R และ L ไม่ได้ ถึงแม้ว่าการแทนเสียงเหล่านี้จะแยกกันต่างหากก็ตาม (ในภาพยนตร์เรื่อง คนมหากาฬ (Lethal Weapon) มีการล้อเลียนการสั่งข้าวผัด (fried rice) ว่า flied lice) และนอกจากนี้ในภาษาจีนและไทยจะไม่มีคำที่ลงท้ายด้วยเสียง L (เว้นจากคำยืมจากภาษาอื่น) ทำให้การออกเสียงถูกเปลี่ยนเป็นเสียงอื่น เช่น ball ถูกอ่านว่า บอน, Brazil ถูกอ่านว่า บรา-ซิน, หรือ email ถูกอ่านว่า อี-เมว ส่วนภาษาเกาหลีจะไม่มีคำที่ลงท้ายด้วยเสียง R ซึ่งชาวเกาหลีมักจะออกเสียงผิดเป็นเสียง L แทน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอิงริช · ดูเพิ่มเติม »

อูดง

kake udon) หรืออูดงในซุปน้ำใส อูดง เป็นอาหารญี่ปุ่นที่เป็นที่นิยมชนิดหนึ่ง ทำจากแป้งสาลี ลักษณะเป็นเส้น หนา ยาว มีสีขาว อูดงนิยมรับประทานทานร้อน ๆ ในซุปใส ซึ่งทำจากดาชิ (หัวเชื้อน้ำซุป) และโชยุ (ซีอิ๊วญี่ปุ่น) และมิริง (เหล้าสำหรับปรุงอาหาร) อูดงมีชื่อเรียกหลายชื่อ ขึ้นอยู่กับอาหารที่นำมาวางบนเส้นอูดง เช่น เท็มปูระอูดง คือ อูดงหน้ากุ้งชุบแป้งทอด และ คิตสึเนะอูดง คือ อูดงหน้าเต้าหู้หวาน เป็นต้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอูดง · ดูเพิ่มเติม »

อู่ฮั่น

ทิวทัศน์เมืองอู่ฮั่น อู่ฮั่น เป็นเมืองเอกของมณฑลหูเป่ยและเป็นเมืองใหญ่สุดในมณฑล มีพื้นที่ 8,467.11 ตร.กม. (ในเมือง 1,954 ตร.กม.) ประชากร 8,100,000 (พ.ศ. 2549).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอู่ฮั่น · ดูเพิ่มเติม »

อู๋ อี๋

มาดามอู๋ อี๋ มาดามอู๋ อี๋ (ภาษาจีน: 吴仪,พินอิน: Wú Yí) เกิดเมื่อ พ.ศ. 2481 ในมณฑลหวู่ฮั่น ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นหนึ่งในสี่รองนายกรัฐมนตรีของจีน นอกจากนี้ นิตยสารฟอบส์ (Forbes) จัดให้เป็นสตรีที่ทรงอำนาจอันดับสองของโลก ทั้งในปี พ.ศ. 2547 และ พ.ศ. 2548 (รองจากกอนโดลีซซา ไรซ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สหรัฐอเมริกา) เมื่อเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอู๋ อี๋ · ดูเพิ่มเติม »

อู๋ซี

อู๋ซี (อังกฤษ: Wuxi) เป็นเมืองอุตสาหกรรมเก่าในมณฑลเจียงซู สาธารณรัฐประชาชนจีน บริเวณที่ลุ่มปากแม่น้ำแยงซี มีทะเลสาบไท่หูพาดผ่านแบ่งเมืองออกเป็นสองส่วน ทางทิศจะวันตกมีอาณาเขตติดกับฉางโจว และทางทิศตะวันออกติดกับซูโจว เนื่องจากเป็นเมืองที่ได้รับการพัฒนาเมื่อไม่นานมานี้ จึงถูกขนานนามว่า "เซี่ยงไฮ้น้อย" มีชื่อเสียงในฐานะที่เป็นหนึ่งในเมืองต้นกำเนิดอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจสมัยใหม่ของจีน และยังเป็นบ้านเกิดของนักธุรกิจที่มีชื่อเสียงหลายคนในสมัยศตวรรษที่ 20 ที่มีส่วนสร้างเมืองเซี่ยงไฮ้ให้เป็นเมืองเศรษฐกิจสมัยใหม่อีกด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอู๋ซี · ดูเพิ่มเติม »

อู๋เหล่ย

อู๋เหล่ย (กลุ่มภาษาจีน: 吴磊;พินอิน:Wú Lěi; ภาษาอังกฤษ:Leo Wu) เป็นนักแสดงชาวจีน เกิดวันที่ 26 ธันวาคม..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอู๋เหล่ย · ดูเพิ่มเติม »

อีวีเอแอร์

ำนักงานใหญ่อีวีเอแอร์ แอร์บัส เอ 330-200ในลวดลายการ์ตูนคิตตี้ของอีวีเอแอร์ '''ตราสัญลักษณ์สายการบิน อีวีเอแอร์''' อีวีเอแอร์ (จีน: 長榮航空 Chángróng Hángkōng อังกฤษ: EVA Air อ่าน "อี-วี-เอ-แอร์") เป็นสายการบินสัญชาติไต้หวัน บริหารงานโดยเอเวอร์กรีนกรุ๊ป ซึ่งเป็นกลุ่มธุรกิจขนส่งขนาดใหญ่ของไต้หวัน ให้บริการเที่ยวบินโดยสาร และเที่ยวบินขนส่งสินค้าในชื่อ อีวีเอแอร์ คาร์โก จากท่าอากาศยานหลักที่ไต้หวันเถาหยวน นอกจากนี้ยังมีสายการบินลูก ยูนิแอร์ ให้บริการเส้นทางท้องถิ่น และมีสายการบินอย่างไชน่าแอร์ไลน์เป็นคู่แข่งสำคัญ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอีวีเอแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อี้ จงเทียน

อี้ จงเทียน (เกิด 2490) เป็นนักเขียน, นักประวัติศาสตร์, นักปราชญ์ชาวจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอี้ จงเทียน · ดูเพิ่มเติม »

องค์กรนักข่าวไร้พรมแดน

องค์กรนักข่าวไร้พรมแดน (ฝรั่งเศส: Reporters sans frontières, RSF; อังกฤษ: Reporters Without Borders, RWB) เป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรเอกชนนานาชาติซึ่งสนับสนุนและปกป้องเสรีภาพสื่อและเสรีภาพข้อมูลข่าวสาร องค์กรมีฐานดำเนินงานอยู่ที่ปารีส และมีสถานะที่ปรึกษาในสหประชาชาติ ก่อตั้งโดย โรแบร์ เมนาร์ องค์กรนักข่าวไร้พรมแดนมีสองกิจกรรมหลัก อย่างแรกคือการมุ่งด้านการเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ตและสื่อใหม่ และอีกอย่างคือการจัดหาเครื่องมือ งบประมาน และความช่วยเหลือทางจิตใจแก่นักข่าวที่ถูกส่งไปในพื้นที่อันตราย, Reporters Without Borders, 16 April 2012, retrieved 21 March 2013 โดยมีพันธกิจดังนี้.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและองค์กรนักข่าวไร้พรมแดน · ดูเพิ่มเติม »

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

องค์หญิงกำมะลอ

องค์หญิงกำมะลอ (จีน: 還珠格格 พินอิน: Huán zhū gégé -หวนจูเก๋อเก๋อ, อังกฤษ: Princess Pearl หรือ Princess Returning Pearl หรือเรียกโดยย่อว่า "HZGG" ซึ่งมาจากการการย่อของการสะกดพินอิน) เป็นละครชุดของไต้หวัน ในภาคหนึ่ง และ ภาคสอง นำแสดงโดย เจ้าเวย, หลินซินหยู, ซู โหย่วเผิง (蘇有朋) และ โจวเจี๋ย และภาคสองมีนักแสดงอีกคนคือWang Yan(周杰) และสำหรับภาคสามมีการเปลี่ยนตัวนำแสดงหลักเป็น หวงอี้ (黃奕), หม่าอีลี่ (馬伊琍) และ กู่จวีจี (古巨基) แต่สำหรับ โจวเจี๋ยและWang Yan นั้นไม่เปลี่ยน โดยเริ่มฉายภาคแรกในปี พ.ศ. 2541 ภาคสองฉายในปี 2542 และภาคสามฉายในปี 2546 องค์หญิงกำมะลอ เป็นที่นิยมมากในจีนแผ่นดินใหญ่ ฮ่องกง และไทย รวมถึงในไต้หวันเอง เนื้อหาของภาพยนตร์ชุดนี้มาจากนวนิยายของผู้แต่งนวนิยายหญิงชาวไต้หวัน ฉงเหยา (瓊瑤) โดยผู้แต่งได้แรงบันดาลใจจากการแต่งเรื่องนี้จากพระธิดาบุญธรรมของจักรพรรดิเฉียนหลง (乾隆) สมัยราชวงศ์ชิง และดัดแปลงมาเป็นองค์หญิงหวนจู ในประเทศไทย องค์หญิงกำมะลอ เคยออกอากาศทางช่อง 3 ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2542 ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 16.25 น. และได้นำกลับมาออกอากาศซ้ำ และออกอากาศจนถึงภาคสาม องค์หญิงกำมะลอได้กลับมาสร้างใหม่อีกครั้งในปี 2011.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและองค์หญิงกำมะลอ · ดูเพิ่มเติม »

องเมียว

องเมียวโด หรือในประเทศไทยนิยมเรียกว่า องเมียว คือ รูปแบบวิชาเวทมนตร์โบราณแขนงหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งมีรากฐานมาจากโหราศาสตร์และลัทธิเต๋าในประเทศจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและองเมียว · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล

ร.อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล จบการศึกษาระดับปริญญาตรี (เกียรตินิยม) ปริญญาโท (ภาษาบาลี) และปริญญาเอก (ภาษาไทย) จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล หรือ ดร.อนันต์ มีความรู้ ความสนใจพิเศษในภาษาตะวันออกหลายภาษา เช่น ภาษาบาลี, สันสกฤต, ภาษาจีน, ภาษาเขมร, ภาษามลายู โดยเฉพาะในส่วนที่สัมพันธ์กับภาษาไทย และมีความสนใจศึกษาถึงวัฒนธรรมของชนชาติต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย เช่น ชาวอินเดีย, ชาวไท มีผลงานด้านวิชาการที่เป็นการอธิบายศัพท์และสำนวนภาษาต่าง ๆ ซึ่งได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่นระดับชาติ ประจำปี พ.ศ. 2547 ในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2551 ดร.อนันต์เป็นหนึ่งในคณาจารย์ที่คัดค้านการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ก่อนการรัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ไม่นาน ดร.อนันต์เป็นผู้นำนักวิชาการหลายคนเข้าพบ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี ที่บ้านสี่เสาเทเวศน์ เพื่อเยี่ยมคารวะให้กำลังใจและขอคำปรึกษาในการแก้ไขวิกฤตปัญหาบ้านเมือง ในการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 ดร.อนันต์ขึ้นเวทีปราศรัยในฐานะเป็นวิทยากรรับเชิญของ "รายการรู้ทันประเทศไทย" ของ ร.ดร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอนันต์ เหล่าเลิศวรกุล · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ

มิได้ลงนาม Col-end อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of all Forms of Discrimination against Women หรือย่อว่า CEDAW) เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศฉบับหนึ่งซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติมีมติเห็นชอบในปี 2522 และสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศพัฒนาแล้วประเทศเดียวที่ลงนามในอนุสัญญานี้แล้วแต่มิยอมให้สัตยาบัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย

อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการห้ามใช้ มีไว้ครอบครอง ผลิต ขนย้าย และกักตุนซึ่งอาวุธยุทธภัณฑ์ประเภทระเบิดลูกปราย (cluster bomb หรือ cluster monition) โดยได้รับสัตยาบันจากประเทศหนึ่งร้อยสิบเก้าประเทศในการประชุมที่กรุงดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2551 และจะได้มีการให้ปฏิญญาอย่างเป็นทางการที่กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ ในเดือนธันวาคม ปีเดียวกัน ประเทศที่ให้สัตยาบันในการประชุมที่กรุงดับลินจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ทุกกรณี, การประชุมหารือทางการทูตเพื่อการกำหนดใช้อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย, 30 พฤษภาคม 2551.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย · ดูเพิ่มเติม »

อเวจี

''อเวจี'' ตามคติญี่ปุ่น อเวจี หรือ อวิจี (บาลี, สันสกฤต อวีจิ; 無間地獄 ตรงกับ むげんじごく และ 阿鼻地獄 ตรงกับ あびじごく) คือ ชื่อของนรกซึ่งเป็นหนึ่งใน มหานรก 8 ขุม มีปรากฏเป็นบันทึกในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา โดยอเวจีมหานรกนั้น เป็นนรกขุมลึกที่สุด ตามรากศัพท์ภาษาบาลีและสันสกฤต "อวีจิ" แปลว่า "ปราศจากคลื่น"หรือ"ไม่มีการหยุดพัก" (ลงโทษไม่มีการพัก) เป็นนรกขุมที่ต่ำที่สุดที่ผู้กระทำอนันตริยกรรมจะไปเกิด อนันตริยกรรมหรือคุรุกรรมที่ทำให้เกิดในนรกภูมินี้ ได้แก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและอเวจี · ดูเพิ่มเติม »

ฮกเกี้ยน

กเกี้ยน สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและฮกเกี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

ฮั่น

ั่น ในภาษาจีนอาจหมายถึง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและฮั่น · ดูเพิ่มเติม »

ฮู่ต้ง

ู่ต้ง (互动在线,, Hudong) เป็นเครือข่ายสังคมแสวงหาผลกำไรในจีน รวมทั้งเว็บไซต์สารานุกรม/ข่าวภาษาจีนที่ใหญ่ที่สุดของโลก แต่ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ใหม่โดยเสรี เป็นเว็บไซต์วิกิขนาดใหญ่ที่สุดของจีน โดยมีการโฆษณาที่ได้รับค่าตอบแทน, 10 December 2007 มีบทความมากกว่า 5 ล้านบทความและอาสาสมัครมากกว่า 2.5 ล้านคน จนถึงเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและฮู่ต้ง · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่องกง

องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

ผมชื่อ แมคดัล

ผมชื่อแมคดัล (ภาษาจีน:麥兜故事) ออกฉายในปี 2001 กำกับโดย Toe Yuen.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและผมชื่อ แมคดัล · ดูเพิ่มเติม »

จริยธรรมทางธุรกิจ

ริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics) เป็นรูปแบบของการปรับใช้หลักจริยธรรม (ethics) กับการบริหารงานและการประกอบกิจกรรมทางธุรกิจ กล่าวคือเมื่อการดำเนินธุรกิจเพื่อเป้าหมายสูงสุดคือการแสวงหากำไร การประกอบการดังกล่าวมักต้องประสบกับคำถามทางจริยธรรม เช่น ปัญหาเรื่องค่าแรง ปัญหาสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ทำให้องค์กรธุรกิจต้องมีการประเมินว่าจะตัดสินใจอย่างไรระหว่างต้นทุนและค่าใช้จ่ายอื่นๆ หรือกล่าวว่าธุรกิจจะต้องคำนึงถึงปัจจัยแวดล้อมอื่นนอกจากการแสวงหากำไรและรับผิดชอบต่อผลสะเทือน (impact) ที่เกิดมาจากการตัดสินใจนั้น จริยธรรมทางธุรกิจจึงเป็นการนำเรื่องของคุณค่าเชิงปทัสถาน (normative value) เข้าไปพิจารณาร่วมกับการตัดสินใจทางธุรกิจที่เน้นการแสวงหากำไร (Kurian, 2011: 521-524).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจริยธรรมทางธุรกิจ · ดูเพิ่มเติม »

จอมคนผงาดโลก

อมคนผงาดโลก (Fearless, Jet Li's Fearless, 霍元甲, พินอิน: Huò Yuán Jiǎ (ฮั่ว หยวนเจี๋ย)) ภาพยนตร์กำลังภายในสัญชาติฮ่องกง ในปี ค.ศ. 2006 นำแสดงโดย หลี่ เหลียนเจี๋ย, ซุนลี่, ชิโด นากามูระ, นาธาน โจนส์, สมรักษ์ คำสิงห์ (นักแสดงรับเชิญ) กำกับการแสดงโดย รอนนี่ หยู.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจอมคนผงาดโลก · ดูเพิ่มเติม »

จอมโหด ห้าอสรพิษ

อมโหด ห้าอสรพิษ (อังกฤษ: Five Deadly Venoms, Five Venoms จีน: 五毒) เป็นภาพยนตร์กำลังภายในที่ออกจำหน่ายในปี ค.ศ. 1978 กำกับโดย จาง เชอะ นำแสดงโดย เจียง เฉิง, กัว จุย, ซุน เฉวียน, หลอ เหมิง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจอมโหด ห้าอสรพิษ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เบาว์ริง

ซอร์จอห์น เบาว์ริง (Sir John Bowring; 17 ตุลาคม พ.ศ. 2335 – 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2415) เป็นเจ้าเมืองฮ่องกง (ค.ศ. 1848-1857) พ่อค้า นักการทูต นักเศรษฐศาสตร์การเมือง นักการศาสนา นักแต่งเพลงสวด กวี นักประพันธ์ บรรณาธิการ และนักภาษาศาสตร์ (โดยรู้ถึง 10 ภาษาหลัก ๆ ทั้งหมด ในยุโรป รวมทั้งภาษาจีน) ตลอดจนถึงเป็นราชทูตที่ได้รับการแต่งตั้งจาก สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งอังกฤษ เพื่อเข้ามาเจริญพระราชไมตรีและเจรจาทำสนธิสัญญากับราชสำนักไทย ในปี พ.ศ. 2398 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในที่สุดก็มีการลงนามในสนธิสัญญาเบาริง เมื่อวันที่ 18 เมษายนปีเดียวกัน สนธิสัญญาฉบับนี้มีผลให้สยามต้องเสียอำนาจอธิปไตยทางการศาลและคนในบังคับอังกฤษมีสิทธิสภาพนอกอาณาเขตในสยาม นอกจากนี้ สนธิสัญญาดังกล่าวเป็นการเปิดการค้าเสรีกับต่างประเทศ ถือเป็นการสิ้นสุดของการผูกขาดการค้ากับต่างประเทศโดยกรมพระคลังสินค้าของสยาม สนธิสัญญานี้มีผลใช้บังคับอยู่นานกว่า 70 ปี ท้ายที่สุดสมัยปลายรัชกาลที่ 4 และต้นรัชกาลที่ 5 ท่านได้รับแต่งตั้งเป็นอัครราชทูตไทยประจำกรุงลอนดอนและทวีปยุโรป ถือได้ว่าเป็น “ตัวแทนประจำคนแรกของไทย” ก็ว่าได้ มีบรรดาศักดิ์เป็น “พระยาสยามมานุกูลกิจ สยามมิตรมหายศ”.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจอห์น เบาว์ริง · ดูเพิ่มเติม »

จับกัง

ับกัง ((แต้จิ๋ว)) เป็นคำไทยที่มีรากเค้ามาจากภาษาจีน มีความหมายคือ ผู้ที่สามารถทำงานได้หลายอย่าง, แต่มักเน้นงานที่ต้องใช้กำลังกาย หรืองานช่าง ปัจจุบันมักเข้าใจว่า จับกัง เป็นกรรมกรแบกหาม เท่านั้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจับกัง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง

หวียนฮุ่ยจง (25 พฤษภาคม ค.ศ. 1320 – 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1370) หรือ ถั่วฮฺวัน เทียมู่เอ่อร์ (Toghon Temür) เสด็จสวรรคตแล้วจึงได้พระนามว่า ยฺเหวียนชุ่นตี้ เป็นจักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หยวน (ยฺเหวียน) ใน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิยงเจิ้ง

มเด็จพระจักรพรรดิยงเจิ้ง ทรงพระราชสมภพเมื่อ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2221 (คังซีปีที่ 17) เป็นพระโอรสลำดับที่ 4 ในจักรพรรดิคังซี มีพระนามเดิมว่า อิ้นเจิน, อิ้นเจวิน (ภาษาจีน: 胤禛) เล่ากันว่า พระองค์ร่วมวางแผนกับหลงเคอตัว ปลอมแปลงลายพระหัตถ์ของจักรพรรดิคังซีจากคำว่าองค์ชาย 14 (十四) เป็นคำว่าให้กับองค์ชาย 4 (于四) องค์ชาย 4 ขึ้นครองราชย์สืบต่อ อันเนื่องจากเหตุการณ์ความวุ่นวายในการแย่งชิงราชสมบัติกันเองระหว่างพี่น้อง ปลายรัชสมัยจักรพรรดิคังซี แต่เรื่องนี้เป็นเพียงความเชื่อที่บอกต่อกันมา ไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ยืนยันแต่ประการใด แต่นั่นก็ทำให้พระองค์ได้ฉายาว่าเป็น "จักรพรรดิบัลลังก์เลือด" หรือ "จักรพรรดิทรราช" (ซึ่งความตรงนี้นักประวัติศาสตร์ยุคปัจจุบันมีความเห็นว่าเป็นไปไม่ได้ เพราะพินัยกรรมของจักรพรรดิคังซีแม้จะเปลี่ยนแปลงก็เปลี่ยนได้เฉพาะฉบับที่เป็นตัวอักษรฮั่นเท่านั้น แต่ฉบับอักษรแมนจูที่มีการเขียนคู่กันด้วยไม่สามารถแก้ไขได้ อีกทั้งอักษร 于 นั้นเป็นการเขียนอย่างย่อ ซึ่งปกติจะไม่ใช้ในเอกสารราชการ) เมื่อจักรพรรดิยงเจิ้งขึ้นครองราชย์ สิ่งแรกที่พระองค์กระทำคือ การเปลี่ยนแปลงวิธีการแต่งตั้งองค์รัชทายาทจากการแต่งตั้งโดยเปิดเผยอันเป็นสิ่งปฏิบัติมาแต่อดีตเป็นแต่งตั้งโดยเป็นความลับโดยเงยพระพักตร์ขึ้นทอดพระเนตรเพดานท้องพระโรงและจารึกพระนามขององค์รัชทายาทใช้หลังป้ายแผ่นหนึ่งที่มีชื่อเรียกว่า เจิ้งต้ากวางหมิง (正大光明) 2 ชุด ชุดแรกเก็บไว้กับตัวพระองค์เองอีกชุดนึงเก็บไว้ซึ่งเก็บไว้ในหีบลับปิดผนึกแล้ววางไว้ที่ป้ายโลหะหน้าท้องพระโรง และให้เปิดทั้ง 2 ป้ายนี้อ่านพร้อมกันเมื่อพระองค์สวรรคตแต่ในระหว่างที่ครองราชย์ต้องพบกับปัญหากบฏหลายต่อหลายครั้งจากบรรดาขุนนางและเหล่าองค์ชายทั้งหลายที่เป็นพี่น้องด้วยกันยงเจิ้งนับว่าเป็นจักรพรรดิที่ขยันขันแข็งมากและได้ปฏิรูปรูปแบบการปกครองการบริหารเอาไว้หลายด้านกิจวัตรของพระองค์ที่ปฏิบัติเป็นประจำคือ ตื่นบรรทมแต่ก่อนรุ่ง เข้าบรรทมในยามดึกเพราะอ่านฎีกาจนดึกดื่น รวบอำนาจ จัดสรรระบบภาษี การเงินการคลัง และขจัดการฉ้อราษฎร์บังหลวงจนถือว่าเป็นช่วงสืบทอดยุคความรุ่งเรืองต่อมาใน 3 รัชกาลนี้ (คังซี-ยงเจิ้ง-เฉียนหลง) จนสามารถยังผลให้ประเทศจีนรุ่งเรืองถึงขีดสุดในยุคของจักรพรรดิเฉียนหลง พระโอรสของพระองค์ที่ครองราชสมบัติต่อ ซึ่งในส่วนของเหตุการณ์แย่งชิงราชสมบัติระหว่างพี่น้องด้วยกันเองนั้น ที่เรียกกันว่า "ศึกสายเลือด" ได้ถูกเล่าขานสืบมาจนปัจจุบัน และนำไปเสริมเติมแต่งเพื่อสร้างเป็นละครโทรทัศน์หรือภาพยนตร์หลายต่อหลายครั้ง จักรพรรดิย่งเจิ้งสิ้นพระชนม์อย่างกะทันหัน ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2278 ภายหลังจากการสิ้นพระชนม์อย่างกะทันหัน โดยมีสาเหตุคล้ายกับการสิ้นพระชนม์ของจิ๋นซีอ่องเต้ รัชทายาทที่สืบทอดบัลลังก์ต่อ คือ องค์ชายลำดับที่ 4 คือ เจ้าชายหงลี่ ซึ่งพระนามเมื่อครั้งขึ้นครองราชย์ คือ จักรพรรดิเฉียนหลง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจักรพรรดิยงเจิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหยวนเหวินจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิหยวนเหวินจง หรือ จายาตู ข่าน (16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1304-2 กันยายน ค.ศ. 1332) จักรพรรดิองค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์หยวน เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ในจักรพรรดิหยวนหวู่จง เมื่อจักรพรรดิเทียนซุนตี้สวรรคตลงในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจักรพรรดิหยวนเหวินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหนูเอ่อร์ฮาชื่อ

หนูเอ่อร์ฮาชื่อ(แมนจู: 1 30px;; 21 กุมภาพันธ์ 1559 – 30 กันยายน 1626) หรืออ้ายซินเจว๋หลัวหนูเอ่อร์ฮาชื่อ(Chinese: Aixin-Jueluo Nǔ'ěrhāchì 愛新覺羅努爾哈赤)หรือสมเด็จพระจักรพรรดิชิงไท่จู่ เป็นปฐมจักรพรรดิราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจักรพรรดิหนูเอ่อร์ฮาชื่อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคังซี

ักรพรรดิคังซี (Enkh Amgalan Khaan) หรือพระนามเต็ม อ้ายซินเจฺว๋หลัวเสฺวียนเย่ (愛新覺羅玄燁 Àixīn-Juéluó Xuányè) จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์ชิง เป็นพระโอรสของจักรพรรดิซุ่นจื้อ จักรพรรดิองค์ที่ 3 ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมายุเพียง 8 พรรษา ในปี พ.ศ. 2204 (ค.ศ. 1661) ภายหลังการสวรรคตของพระราชบิดา จักรพรรดิคังซีมีพระปรีชาสามารถตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ทรงฉายแววความเป็นผู้นำมาตั้งแต่เด็ก โดยโปรดการเรียนรู้ศิลปะ วิทยาการต่าง ๆ ทั้งของในประเทศ และนอกประเทศ โดยพระองค์อยู่ภายใต้การอุปการะดูแลของไท่หวงไทเฮา ผู้เป็นพระอัยยิกาของพระองค์ ในรัชสมัยซุ่นจื่อปีที่ 18 เกิดโรคฝีดาษระบาดที่กรุงปักกิ่ง ได้ระบาดมาในนครต้องห้าม ช่วงนั้นองค์ซุนจื่อ ติดโรคร้ายนี้สวรรคต ก่อนสวรรคตได้ตั้งพระราชโอรสองค์ที่3 เสฺวียนเย เป็นองค์รัชทายาทและได้ตั้งองคมนตรี สี่คนซึ่งเป็นขุนนางที่ไว้ใจที่สุด สี่องคมนตรีได้แก่ เอ๋าไป้ สั่วหนี ซัวเค่อซ่าฮ่า เอ่อปี๋หลง เมื่อพระองค์ทรงออกว่าราชการเองเมื่อพระชนมายุได้ 13 พรรษา เมื่อพระชนมายุได้ 19 พรรษา สั่วหนี ประธานองคมนตรีได้ถึงแก่กรรม เอ๋าไป้ (鳌拜) ซึ่งเป็นขุนนางที่รับราชการมาแต่ครั้งจักรพรรดิไท่จง จักรพรรดิองค์ที่ 2 ของราชวงศ์ชิง เอ๋าไป้ เป็นขุนนางที่สำคัญตนว่าเป็นผู้นำองคมนตรีในตอนนั้นมีผู้ให้การยอมรับนับถือจำนานมาก จึงได้กระทำการอย่างไม่เหมาะสมทั้งต่อหน้าและลับหลังพระองค์หลายครั้ง จนในที่สุดก็ก่อการกบฏขึ้น แต่แผนการทั้งหมดได้ถูกทำลายลงโดย อู๋หลิวยิ สั่วเอ๋อถู และกลุ่มขุนนางภักดี รัชสมัยของจักรพรรดิคังซีนับเป็นระยะเวลาวิกฤตของราชวงศ์ชิง เพราะมีการต่อสู้ระหว่างชาวฮั่นที่ต้องการกู้ราชวงศ์หมิง รวมถึงชนเผ่าอื่น ๆ ที่ต้องการก่อกบฏ จักรพรรดิคังซีทำสงครามภายในประเทศยาวนานถึง 8 ปี จึงพิชิตแคว้นต่าง ๆ ได้ราบคาบ ก่อนที่พระองค์จะมีพระชนมายุ 30 พรรษา ทั้งขยายอาณาเขตถึงมองโกเลียและทิเบต หนึ่งในนโยบายสร้างความมั่นคงก็คือ สร้างสัมพันธ์กับชาวแมนจูที่อาศัยทางเหนือแต่เดิมให้แข็งแกร่ง ส่งอาวุธและกำลังพลไปรักษาชายแดนแถบนี้บ่อยครั้งเพื่อป้องกันการรุกรานจากชนเผ่าอื่น อีกทั้งยังทรงออกทัพเอง และได้ทำสงครามกับรัสเซียในยุคสมัยของพระเจ้าปีเตอร์มหาราช และได้รับชัยชนะด้วย ซึ่งสงครามได้จบลงที่การสร้างสัมพันธไมตรีต่อกัน รวมถึงการยกทัพบุกพม่า ทำให้จีนในยุคนี้เข้มแข็งและยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ริ้วขบวนบางส่วนของจักรพรรดิคังซีเสด็จนิวัติกรุงปักกิ่ง หลังจากเสด็จประพาสแดนใต้ ขณะเดียวกันเสด็จประพาสดินแดนทางใต้ถึง 6 ครั้ง เพื่อทอดพระเนตรความเจริญ รุ่งเรืองด้านศิลปะและวิชาการของแดนใต้ และสำรวจปัญหาน้ำท่วมไร่นาของชาวนา ซึ่งต่อมาทรงส่งเสริม การสร้างเขื่อนและให้ความช่วยเหลือด้านการเกษตรกับชาวนา จักรพรรดิคังซีฉลองพระองค์เครื่องแบบทหาร จักรพรรดิคังซีนับเป็นอัจฉริยบุคคล ทรงศึกษาความผิดพลาดของพวกมองโกล ช่วงที่ปกครองชาวฮั่น จึงเปลี่ยนจากวิธีการใช้ไม้แข็งเป็นไม้อ่อน เกลี้ยกล่อมให้เหล่าปราชญ์ราชบัณฑิตที่หนีภัยยุคต้นราชวงศ์สิ้นอำนาจกลับมารับราชการใหม่ ทรงสถาปนากรมจิตรกรรมที่รู้จักในนาม สถาบันจิตรกรรมหัวหยวน คล้ายที่เคยมีในสมัยราชวงศ์ซ่ง นอกจากนี้ทรงดูแลเหล่าปราชญ์และศิลปินอย่างเกษมสำราญ มอบหมายงานให้ทำอย่างเต็มที่ ไม่ว่าด้านสถาปัตยกรรมหรือประวัติศาสตร์ โดยชิ้นที่สำคัญที่สุด คือการจัดทำ พจนานุกรมรวบรวมภาษาจีน ที่เรียกกันว่า พจนานุกรมคังซี ชีวิตส่วนพระองค์ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นจักรพรรดินักรักพระองค์หนึ่ง มีพระสนมราว 35 คน พระโอรสและพระธิดาราว 55 องค์ จนปลายรัชสมัยเกิดการชิงบัลลังก์เป็นที่วุ่นวาย ผลสุดท้ายองค์ชาย 4 ได้ขึ้นครองบัลลังก์เป็นจักรพรรดิหย่งเจิ้งในเวลาต่อมา รัชสมัยของจักพรรดิคังซีตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชและราชวงศ์บ้านพลูหลวงของอาณาจักรอยุธยา จักรพรรดิคังซีสวรรคตในปี พ.ศ. 2265 (ค.ศ. 1722) รวมระยะเวลาครองราชย์ยาวนานถึง 61 ปี นับเป็นจักรพรรดิที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดพระองค์หนึ่งในประวัติศาตร์จีน ในยุคสมัยของพระองค์มีเรื่องการเกิดขึ้นต่าง ๆ มากมายเช่น ในนวนิยายต่างๆ ระบุว่าพระองค์นั้นสวรรคตจากการปลงพระชนม์ขององค์ชายสี่ หรือหย่งเจิ้น แต่ปัจจุบันมีการสันนิษฐานว่าพระองค์สวรรคตจากชราภาพเอง เป็นที่เลื่องลือจนถึงปัจจุบัน มีวรรณกรรมต่าง ๆ มากมายที่บอกเล่าถึงยุคสมัยนี้ ไม่ว่าจะเป็น นิยาย ละครโทรทัศน์ หรือ ภาพยนตร์ ที่มีการจัดสร้างหลายต่อหลายครั้งแม้ในปัจจุบัน เรื่องที่มีชื่อเสียงมากคือ นิยายกำลังภายในอิงประวัติศาสตร์ของ กิมย้ง เรื่อง อุ้ยเสี่ยวป้อ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจักรพรรดิคังซี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซุ่นจื้อ

มเด็จพระจักรพรรดิซุ่นจื้อ จักรพรรดิองค์ที่ 3 ของราชวงศ์ชิง แต่ในบางครั้งจะนับพระองค์เป็น ปฐมจักรพรรดิ ของราชวงศ์ชิง ด้วยทรงเป็นจักรพรรดิแมนจูพระองค์แรกที่ได้ประทับในพระราชวังต้องห้ามที่กรุงปักกิ่ง และราชวงศ์หมิงถึงกาลสิ้นสุดอย่างแท้จริง มีพระนามเดิมว่า อ้ายซินเจี๋ยว์หลอ ฝูหลิน (爱新觉罗福临) ซึ่งเป็นพระโอรสคนที่ 9 ของหวงไท่จี๋ ทรงขึ้นครองราชย์เพียงพระชนมพรรษา 6 ขวบ ในปี พ.ศ. 2186 (ค.ศ. 1643) หลังการสวรรคตของจักรพรรดิหวงไถจี๋ พระราชบิดา และ เซี่ยวจวงก็เลื่อนศักดิ์ขึ้นมาเป็นไทเฮา โดยมีตัวเอ่อกุ่นที่มีศักดิ์เป็นพระปิตุลาเป็นผู้สำเร็จราชการ (摄政王) และมีเจิ้งชินหวัง (郑亲王) คอยให้การช่วยเหลือ ตั่วเอ่อกุ่นได้พยายามยึดกุมอำนาจปกครองอันแท้จริงเอาไว้ อีกทั้งยังตั้งตนเองเป็นพระราชบิดา ควบคุมกองทัพกองธงไว้ถึง 3 กองธง ในขณะที่ฮ่องเต้ปกครองอยู่เพียง 2 กองธง พระองค์ต้องอยู่ใต้การสำเร็จราชการแผ่นดินของตั่วเอ่อกุ่น พระอนุชาต่างพระมารดาของพระราชบิดา ซึ่งตั่วเอ่อกุ่นนับว่าเป็นบุคคลที่มีอิทธิพลอย่างมาก อีกทั้งยังมีสิทธิ์ที่จะได้ขึ้นครองราชย์อีกด้วย ตั่วเอ่อกุ่นได้กระทำการหลายอย่างที่จะไม่ให้พระองค์เจริญชันษามาด้วยความปรีชาสามารถ เช่น ไม่สนับสนุนให้ทรงเล่าเรียน เป็นต้น แต่ทว่า อำนาจของตั่วเอ่อกุ่นก็ถูกคานจาก พระนางเสี้ยวจวงไทเฮา (孝庄太后)พระมารดา กระทั่งปี..1650 เมื่อตัวเอ่อกุ่นเสียชีวิตลง ซุ่นจื้อที่เริ่มหลุดจากการเป็นหุ่นเชิด ได้ประกาศราชโองการยกเลิกตำแหน่ง บรรดาศักดิ์ และริบทรัพย์ทั้งหมดของตัวเอ่อกุ่นเป็นการลงโทษในข้อหาใช้อำนาจบาตรใหญ่ในขณะที่มีชีวิตอยู่ นอกจากนั้นยังลือกันว่ามีการขุดศพของตัวเอ่อกุ่นขึ้นมาทำการตีด้วยไม้และโบยด้วยแส้อีกด้วย หลังจากนั้น เพื่อให้อำนาจกลับคืนสู่ฮ่องเต้อย่างแท้จริง ซุ่นจื้อยังได้ทำการปลดองค์ชายและเชื้อพระวงศ์หลายคนที่เคยดูแลหน้าที่ในกระทรวงต่างๆ อีกทั้งเพื่อลดความขัดแย้งระหว่างชนชาติ จึงทรงมีรับสั่งให้มีการหยุดการเวนคืนที่ดินจากประชาชน ผ่อนปรนกฎหมายคนหลบหนี ผลักดันวัฒนธรรมชาวฮั่น ซึ่งการยกย่องวัฒนธรรมของชาวฮั่นกับความคิดในการปฏิรูปเพื่อให้แมนจูกับชาวฮั่นสามารถอยู่ร่วมกันของซุ่นจื้อ ได้ก่อให้เกิดความขัดแย้งกับขุนนางใหญ่จำนวนไม่น้อย ความผิดหวังในทางการเมือง ได้ทำให้ซุ่นจื้อหันมาทุ่มเทให้กับความรักให้กับพระมเหสีต่งเอ้อ พระสนมต่งเอ้อ โดยเล่าขานกันว่า พระมเหสีต่งเอ้อเดิมเป็นน้องสะใภ้ของซุ่นจื้อ เป็นภรรยาของป๋อมู่ป๋อกั่วเอ่อ (博穆博果尔) แต่มีความสนิทสนมใกล้ชิดกับซุ่นจื้อมาก หลังป๋อกั่วเอ่อเสียชีวิตในปีซุ่นจื้อที่ 13 ฮ่องเต้ซุ่นจื้อจึงได้แต่งตั้งนางให้เป็นพระสนมของตน หลังจากเป็นสนมของซุ่นจื้อได้หนึ่งปี พระมเหสีต่งเอ้อก็ได้ให้กำเนิดพระโอรส ซึ่งเดิมจะได้รับการแต่งตั้งเป็นรัชทายาท ทว่าพระโอรสพระองค์นี้กลับเสียชีวิตไปเมื่ออายุได้เพียง 3 เดือน ทำให้พระมเหสีต่งเอ้อตรอมใจจนสิ้นพระชนม์ และได้รับการอวยยศตามหลังจากเซี่ยวจวงฮองไทเฮา ให้เป็นเสี้ยวเซี่ยนตวนจิ้งฮองเฮา จักรพรรดิซุ่นจื้อครองราชย์ถึงปีที่ 18 (ค.ศ. 1661) ก็สวรรคตไปด้วยพระชนมายุเพียง 24 พรรษา ทว่าการสวรรคตของพระองค์กลับเป็นปริศนาถูกกล่าวขานไว้หลายรูปแบบ โดยบ้างระบุว่าพระองค์เสียพระทัยกับการสูญเสียพระสนมและพระโอรส ทำให้ร่างกายและจิตใจได้รับความกระทบกระเทือน และสิ้นพระชนม์ด้วยโรคฝีดาษ (ไข้ทรพิษ)ในปี พ.ศ. 2204 (ค.ศ. 1661) ในขณะที่บันทึกของชาวบ้านกลับระบุว่า พระองค์ทรงมีความฝักใฝ่ในพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า สุดท้ายเมื่อสูญเสียพระสนมอันเป็นที่รัก จึงได้ออกผนวช ณ เขาอู่ไถ (五台山) และต่อมาพระโอรสลำดับที่ 3 ของพระองค์ ที่ประสูติแต่ พระมเหสีคัง คือ องค์ชายเสวียนเยว่ (玄燁) พระชนมายุเพียง 8 พรรษา ได้ขึ้นครองราชย์เป็นฮ่องเต้คังซีตามพระพินัยกรรมของซุ่นจื้อในนาม จักรพรรดิคังซี ซึ่งต่อมาทรงเป็นจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่ของราชวงศ์ชิง และพระนางเสี้ยวจวงก็เป็นผู้อุปการะพระองค์มาโดยตลอด และได้เลื่อนพระอิสริยยศเป็นไท่หวงไท.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจักรพรรดิซุ่นจื้อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมย็องซ็อง

ักรพรรดินีมย็องซ็องแห่งเกาหลี (มย็องซ็องฮวังฮู; 19 ตุลาคม 1851 – 8 ตุลาคม 1895) เป็นพระมเหสีของจักรพรรดิควางมูแห่งจักรวรรดิเกาหลี (พระเจ้าโกจง) พระจักรพรรดินีมย็องซ็องทรงมีบทบาทอย่างมากในการปกครองและปฏิรูปประเทศในช่วยปลายสมัยราชวงศ์โชซอน และเรื่องราวของพระนางยังคงเป็นประวัติศาสตร์หน้าสำคัญทั้งในด้านการต่อสู้ของวีรสตรีผู้รักชาติ และประวัติศาสตร์อันเป็นที่ถกเถียงในหมู่นักประวัติศาสตร์และนักอาชญวิทยาต่าง ๆ ที่ต่างพยายามค้นหาหลักฐานการสวรรคตที่แท้จริงของพระนาง ซึ่งทั้งฝ่ายเกาหลีเองหรือฝ่ายญี่ปุ่นปิดบังตลอดม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจักรพรรดินีมย็องซ็อง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีหลงยฺวี่ พระพันปีหลวง

มเด็จพระจักรพรรดินีเสี้ยวติ้งจิ่ง (จีน:孝定景皇后叶赫那拉氏) พระองค์ทรงเป็นที่รู้จักในพระนาม สมเด็จพระพันปีหลงยฺวี่ (จีน:隆裕皇后) (พระนามเดิม:จิงเฟิน 靜芬) (พ.ศ. 2406 - พ.ศ. 2456) พระนางหลงยฺวี่เป็นพระอัครมเหสีในจักรพรรดิกวางซวีแห่งจีน สมัยราชวงศ์ชิง พระนางทรงมาจากเผ่าแมนจูเยเฮ่อน่าลา และพระองค์ยังเป็นพระญาติกับจักรพรรดิกวางซวี ผู้ซึ่งครองราชสมบัติตั้งแต่ พ.ศ. 2418 ถึง พ.ศ. 2451 พระนางเป็นพระนัดดาในซูสีไทเฮา พระนางไม่มีพระโอรสธิดา และทรงเป็นที่รู้จัก เนื่องจากได้ลงพระนามาภิไธยในพระราชโองการแทนจักรพรรดิผู่อี๋ประกาศสละราชบัลลังก์ใน พ.ศ. 2454 นับเป็นการสิ้นสุดระบอบกษัตริย์ในประเทศจีนที่ยืนยาวมากว่า 2,000 ปี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจักรพรรดินีหลงยฺวี่ พระพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีคี

มเด็จพระจักรพรรดินีตระกูลคี หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีตระกูลฉี (ภาษาจีน: 奇皇后; ภาษาเกาหลี: 기황후; ค.ศ. 1315 - ค.ศ. 1369) หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีโอลชีคูตูค (ภาษาจีน: 完者忽都; ภาษามองโกล: Ölǰei Khutugh) เป็นพระจักรพรรดินีในพระจักรพรรดิหยวนฮุ่ยจง (ภาษาจีน: 惠宗 Huizong) ทอคอนเตมูร์ (ภาษามองโกล: toγan temür) มีพื้นเพเดิมเป็นชาวเกาหลีในสมัยอาณาจักรโครยอ เป็นสตรีที่ทรงอำนาจของจีนในสมัยราชวงศ์หยวนตอนปลาย นางสาวคีเกิดที่เมืองแฮงจู (ภาษาเกาหลี: Haengju; ปัจจุบันอยู่ทางตอนเหนือของโซล) ในค.ศ. 1315 เป็นบุตรสาวของคีจาโอ (ภาษาเกาหลี: Ki Ja-o 奇子敖) ขุนนางฝ่ายทหารคนหนึ่งของอาณาจักรโครยอ ไม่ปรากฏว่านางสาวคีนั้นมีชื่อเดิมเป็นภาษาเกาหลีว่าอย่างไร นางสาวคีมีพี่ชายชื่อว่า คี ชอล (ภาษาเกาหลี: Ki Cheol 奇轍) ในค.ศ. 1332 ทางฝ่ายราชวงศ์หยวนมีพระจักรพรรดิพระองค์ใหม่ขึ้นครองราชย์คือ พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ นางสาวคีอายุสิบเจ็ดปีได้รับการคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในบรรดาสาวดรุณีที่ราชสำนักโครยอต้องส่งมอบให้แก่ราชสำนักหยวนเป็นบรรณาการ นางสาวคีจึงจำต้องจากบ้านเกิดของตนเองไปยังกรุงต้าตู (Dadu) อันเป็นราชธานีของราชวงศ์หยวน หรือปักกิ่งในปัจจุบัน เพื่อเป็นนางในคอยปรนนิบัติรับใช้พระจักรพรรดิโทคนเตมือร์ ด้วยความช่วยเหลือของโคยงโบ (ภาษาเกาหลี: Go Yongbo 고용보) ขันทีชาวเกาหลีในราชสำนักหยวน ทำให้นางในคีได้มีโอกาสทำหน้าที่ถวายเครื่องดื่มและน้ำชาแด่พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์อย่างใกล้ชิด จนเป็นที่ต้องพระเนตรของจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ ในค.ศ. 1340 พระสนมตระกูลคีได้ให้กำเนิดพระโอรสองค์แรกแด่พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ คือ เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ (ภาษามองโกล: Ayushiridara) พระสนมตระกูลคีจึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระจักรพรรดินีตระกูลคี หรือ พระจักรพรรดินีโอลชีคูตูค แม้ว่าในขณะนั้นพระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์จะทรงมีพระจักรพรรดินีอยู่แล้วก็ตามคือ พระจักรพรรดินี บายันคูตูค (ภาษามองโกล: Bayan Khutugh) เท่ากับว่าในเวลานั้นราชวงศ์หยวนมีพระจักรพรรดินีในเวลาเดียวกันสองพระองค์ พระจักรพรรดินีดีทรงมีขันทีชาวเกาหลีคนสนิทคือ พัคบุลฮวา (ภาษาเกาหลี: Bak Bulhwa 박불화) ที่คอบรับใช้พระจักรพรรดินีทำงานต่างๆ ในค.ศ. 1353 พระจักรพรรดินีคีวางแผนร่วมกับพัคบุลฮวา และขุนนางมองโกลชื่อว่าฮามา (Hama) ทำการโน้มน้าวให้พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์แต่งตั้งเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์พระโอรสของพระนางเป็นไท่จื่อหรือเจ้าชายรัชทายาท แต่แผนการนี้ถูกอัครเสนาบดีทอคตอค (Toghtogha) คัดค้าน พระจักรพรรดินีคีจึงทรงกำจัดทอคตอคด้วยการสร้างข้อกล่าวทุจริตฉ้อฉลแก่โทคตา เป็นเหตุให้ทอคตอคถูกปลดจากตำแหน่งและเนรเทศออกไปในค.ศ. 1354 และเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าชายรัชทายาทในปีเดียวกัน ด้วยฐานะพระจักรพรรดินีแห่งหยวน ทำให้ตระกูลคีของพระนางเรืองอำนาจอยู่ในอาณาจักรโครยอบ้านเกิด พระเชษฐาคีชอลกลายเป็นผู้กุมอำนาจการปกครองที่แท้จริงและมีชื่อเสียงในด้านความทุจริตฉ้อฉล เป็นตัวแทนของมองโกลคอยกำกับดูแลให้ราชสำนักโครยอปฏิบัติตามนโยบายของหยวน แม้แต่พระมารดาของจักรพรรดินีคีนั้นก็มีศักดิ์สูงกว่าพระเจ้าคงมินแห่งโครยอ (Gongmin of Goryeo) จนกษัตริย์เกาหลีต้องทรงทำความเคารพมารดาของพระนาง พระเจ้าคงมินทรงตัดสินพระทัยนำทัพเข้ายึดอำนาจจากตระกูลคี สังหารคีชอลรวมทั้งมารดาและสมาชิกครอบครัวคีไปจนหมดสิ้นในค.ศ. 1356 สร้างความพิโรธแค้นให้แก่จักรพรรดินีคีเป็นอย่างมากจึงส่งทัพบุกไปยังอาณาจักรโครยอเพื่อปลดพระเจ้าคงมินจากบัลลังก์แล้วตั้งเจ้าชายทัชเตมูร์ (Tash Temür) เป็นกษัตริย์เกาหลีพระองค์ใหม่ แต่ทัพมองโกลก็ได้ถูกทัพเกาหลีตีแตกพ่ายไป ในค.ศ. 1364 เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์เจริญชันษาขึ้นมาจึงคิดชิงราชบัลลังก์หยวนจากพระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์พระบิดา แต่ทว่าแผนการล่วงรู้ไปถึงพอดลัดเตมูร์ (Bolad Temür) ผู้เป็นพระบิดาของพระจักรพรรดินีบายันคูตูค พอดลัดเตมูร์จึงนำกองกำลังเข้ายึดเมืองต้าตูข่านบาลิกเป็นเหตุให้เจ้าชายรัชทายาทต้องเสด็จหนีออกจากเมือง พอดลัดเตมูร์จับองค์จักรพรรดินีคีไว้เป็นตัวประกันและสังหารขันทีพัคบุลฮวา เมื่อทราบว่าเจ้าชายอายูร์ชีรีดาด้วยการสนับสนุนของโคเกเตมูร์ (Köke Temür) หมายจะยกทัพเข้ามายึดเมืองคืน พอดลัดเตมูร์จึงได้บังคับให้พระจักรพรรดินีดีออกพระราชเสาวนีย์เรียกให้พระโอรสมาเข้าเฝ้าตัวเปล่า แต่เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ก็มิได้ทำตาม ยกทัพเข้ายึดเมืองต้าตูคืนได้สำเร็จ พอดลัดเตมูร์ถูกลอบสังหารโดยคนที่พระจักรพรรดิทรงส่งมา พระจักรพรรดินีคีและเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ประสงค์จะให้พระจักรพรรดิโทคนเตมือร์สละราชบัลลังก์ ซึ่งพระจักรพรรดิไม่ทรงยอมแต่มอบตำแหน่งทางทหารให้แก่พระโอรสจนเป็นที่พอพระทัย ในค.ศ. 1365 พระจักรพรรดินีบายันคูตูคสิ้นพระชนม์ พระจักรพรรดินีคีจึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระจักรพรรดินีเพียงหนึ่งเดียวของราชวงศ์หยวน อีกเพียงสามปีต่อมาค.ศ. 1368เมืองต้าตูข่านบาลิกเสียให้แก่พระจักรพรรดิหงหวู่ (Hongwu Emperor) จูหยวนจาง (ภาษาจีน: 朱元璋 Zhu Yuanzhang) แห่งราชวงศ์หมิง พระจักรพรรดิตอคอนเตมูร์พร้อมทั้งพระจักรพรรดินีคีและพระโอรสเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ทั้งสามพระองค์เสด็จหนีไปยังเมืองซ่างตู (ภาษาจีน: 上都 Shangdu ปัจจุบันอยู่ในเขตมองโกเลียใน) ต่อมาค.ศ. 1370 เมืองซ่างตูเสียให้แก่ราชวงศ์หมิง ทั้งสามพระองค์จึงเสด็จหนีต่อไปยังเมืองอิงชาง (ภาษาจีน: 應昌 Yingchang) ซึ่งพระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ประชวรสวรรคตที่นั่น ในปีเดียวกันทัพราชวงศ์หมิงตามมาถึงเมืองอิงชาง พระจักรพรรดินีคีพร้อมพระโอรสจึงเสด็จหนีต่อไปยังเมืองคาราโครุม (Karakorum) หลังจากที่เสด็จหนีไปยังมองโกเลียแล้วไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับพระจักรพรรดินีคีอีกเลย นักประวัติศาสตร์คาดการณ์ว่าหลังจากที่เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ทรงก่อตั้งราชวงศ์หยวนเหนือ ขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิหยวนเจ้าจง (ภาษาจีน: 昭宗 Zhaozong) พระจักรพรรดินีคีน่าจะดำรงตำแหน่งเป็นไทเฮาอยู่ช่วงเวลาหนึ่ง ก่อนจะสิ้นพระชนม์ไปโดยที่ไม่ทราบว่าเป็นปีใ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจักรพรรดินีคี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเจียชิ่ง

มเด็จพระจักรพรรดิเจียชิ่ง (จักรพรรดิชิงเหรินจง) (13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2303 – 2 กันยายน พ.ศ. 2363) เป็นโอรสองค์ที่ 15 ของจักรพรรดิเฉียนหลง เดิมมีพระนามว่า หย่งเยี๋ยน (顒琰) เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 2339 (ค.ศ. 1796) เมื่อพระชนมายุได้ 37 พรรษา ภายหลังการสละราชสมบัติของจักรพรรดิเฉียนหลง พระราชบิดา แต่อำนาจในการปกครองแผ่นดินแท้จริงยังอยู่ในจักรพรรดิเฉียนหลง เมื่อจนถึงปีที่ 3 ที่ทรงครองราชย์ พ.ศ. 2342 (ค.ศ. 1799) จักรพรรดิเฉียนหลงได้สวรรคต และพระองค์จึงได้อำนาจในการปกครองอย่างแท้จริง เมื่อทรงได้อำนาจเต็มแล้ว ทรงได้กำจัดเหอเซิน ที่เป็นขุนนางกังฉิน โกงกินชาติ ซึ่งเป็นคนสนิทของจักรพรรดิเฉียนหลง ทรงรวบรวมขุนนางและบรรดาผู้ที่จงรักภักดีเพื่อกำจัดเหอเซิน โดยบุคคลสำคัญผู้หนึ่งที่มีบทบาทในการครั้งนี้คือ อ๋องเฉิน ซึ่งเป็นพระเชษฐา (พี่ชาย) ของพระองค์และเป็นพระโอรสลำดับที่ 11 ของจักรพรรดิเฉียนหลง เมื่อได้ยึดทรัพย์เหอเซินแล้ว พบว่าเงินจำนวนที่เหอเซินยักยอกไว้นั้นมีมูลค่าเท่ากับรายได้ประเทศชาติถึง 10 ปี แต่เมื่อจับกุมเหอเซินได้แล้วกลับลังเลพระทัยที่จะประหารชีวิต เนื่องจากทรงเคยรับคำพระราชบิดา จักรพรรดิเฉียนหลงเอาไว้ว่าจะไว้ชีวิตเหอเซิน เมื่อพระองค์สวรรคต แต่ได้ถูกอ๋องเฉินและบรรดาขุนนางทูลทัดทาน จึงได้ตัดสินพระทัยบังคับให้เหอเซินผูกคอตาย ตลอดรัชสมัย ทรงพบกับการก่อกบฏและเรื่องทางความมั่นคงมากมาย เช่น กบฏพรรคบัวขาว, กบฏโจรสลัดไต้หวัน กบฏพรรคเที่ยงธรรม เป็นต้น ซึ่งกบฏเหล่านี้ส่วนใหญ่ เป็นกบฏชาวฮั่นที่รวบรวมคนไว้เพื่อโค่นล้มราชวงศ์ชิงกอบกู้ราชวงศ์หมิงนั่นเอง มีพระโอรส 3 พระองค์ พระโอรสองค์โตเกิดจากพระอัครมเหสีฮีตียา ซึ่งเป็นพระอัครมเหสีที่ทรงรักยิ่ง แต่พระนางสิ้นพระชนม์ไปก่อนเมื่ออายุยังน้อย และพระโอรสอีก 2 พระองค์ ที่เกิดจากพระมเหสีหนิวฮูลู่ พระอัครมเหสีองค์ใหม่ที่ทรงแต่งตั้งขึ้นมาจากการเป็นพระมเหสี ซึ่งพระองค์ไม่เคยโปรดพระนางเลย แต่ต้องทรงสถาปนาเนื่องจากเหตุผลทางการเมือง ด้วยต้องการให้เหล่าขุนนางและประชาราษฎร์เห็นถึงพระทัยเมตตาของพระองค์ เหตุที่ไม่โปรดพระมเหสีหนิวฮูลู่ นี้ เพราะพระนางเป็นบุตรสาวของขุนนางที่เคยเป็นพรรคพวกเหอเซินมาก่อน จึงไม่ไว้วางพระทัย ในรัชสมัยของจักรพรรดิเจี่ยชิ่ง ปรากฏกรณีที่กระทบต่อความมั่นคงของชาติมาตลอด เช่น เกิดกบฏต่างๆ การที่เวียดนามขอแยกออกไปเป็นประเทศเอกราช เป็นต้น ซึ่งพระองค์ทรงใช้ทั้งนโยบายที่ผ่อนปรนและแข็งกร้าวสลับกันไป เช่น การห้ามชาวแมนจูแต่งงานกับชาวฮั่นเด็ดขาด หรือ การห้ามชาวคริสต์เผยแพร่ศาสนาเด็ดขาด รวมทั้งการห้ามราษฎรสูบฝิ่นด้วย เป็นต้น ซึ่งสิ่งทั้งหมดเหล่านี้จะส่งผลต่อความมั่นคงตามมาในภายหลัง ในปลายรัชสมัย มีพระพลานามัยอ่อนแอ ด้วยทรงสูงพระชันษาประกอบกับการกลัดกลุ้มพระทัยอยู่บ่อยครั้งเกี่ยวกับราชภารกิจ สวรรคตในปี พ.ศ. 2363 (ค.ศ. 1820) พระชนมายุ 61 พรรษา รวมระยะเวลาที่ได้ทรงครองราชย์ 24 ปี และผู้ที่ครองราชย์สืบต่อมาคือ องค์ชายเหมี่ยนหนิง ภายหลังขึ้นครองราชย์ทรงพระนามว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเต้ากวง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจักรพรรดิเจียชิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเฉียนหลง

มเด็จพระจักรพรรดิเฉียนหลง (จักรพรรดิชิงเกาจง) (เฉียนหลง) จักรพรรดิองค์ที่ 6 ของราชวงศ์ชิง ประสูติเมื่อ ปี พ.ศ. 2254 (ค.ศ. 1711) เดิมมีพระนามว่าหงลี่ (ภาษาจีน: 弘曆) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิยงเจิ้ง และเป็นพระราชนัดดาองค์โปรดของจักรพรรดิคังซี เพราะมีความเฉลียวฉลาดมาแต่ยังเด็ก จักรพรรดิเฉียนหลงขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. 2278 (ค.ศ. 1735) ขณะมีพระชนมายุได้ 25 พรรษา ทรงพระนามว่า ชิงเกาจงฮ่องเต้ และใช้ชื่อศักราชว่า เฉียนหลง จักรพรรดิเฉียนหลงได้สร้างความเจริญมากมายให้กับประเทศจีน โดยเฉพาะการจัดทำสารานุกรม ซื่อคู่เฉวียนซู ขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2316 (ค.ศ. 1773) - พ.ศ. 2325 (ค.ศ. 1782) ถือเป็นมรดกโลกที่สำคัญชิ้นหนึ่ง รัชสมัยของจักรพรรดิเฉียนหลงมีเรื่องราวที่เป็นสีสัน เล่าขาน เป็นตำนานต่าง ๆ มากมาย ทั้งเรื่องที่ลือกันว่าแท้ที่จริงแล้วมิได้เป็นพระโอรสของจักรพรรดิหย่งเจิ้น หรือเรื่องราวที่ชอบแปลงตนเองเป็นสามัญชนท่องเที่ยวไปในสถานที่ต่าง ๆ จนได้ฉายาว่า "จักรพรรดิเจ้าสำราญ" ส่วนเรื่องคำกล่าวที่ว่าสมเด็จพระพันปีหลวงซึ่งเป็นพระราชมารดาของสมเด็จพระจักรพรรดิเฉียนหลงไม่โปรดพระมเหสีหรง ถึงขั้นสั่งประหาร ก็ไม่เป็นความจริงเช่นกัน เพราะสมเด็จพระพันปีหลวงเสด็จสู่สวรรคาลัยไปก่อนพระมเหสีหรงเฟยถึง11ปี ฉะนั้น สมเด็จพระพันปีหลวงจึงมาสั่งประหารไม่ได้แน่นอน จักรพรรดิเฉียนหลงมีคนสนิทที่ทรงใกล้ชิดอยู่คนหนึ่ง ชื่อ เหอเซิน ที่มักคอยเอาอกเอาใจอยู่ตลอด และมักชวนจักรพรรดิเฉียนหลงเสเพลอยู่เสมอ ๆ จักรพรรดิเฉียนหลงโปรดเหอเซินมากถึงขนาดยกพระธิดาองค์หนึ่งให้เป็นคู่หมั้นของลูกชายเหอเซินตั้งแต่ยังเด็ก ทำให้เหอเซินเหิมเกริม กระทำการทุจริตต่าง ๆ นานา ยิ่งโดยเฉพาะในปลายรัชสมัยมีการจับจ่ายใช้เงินทองจำนวนมากเพื่อความสำราญของคนในพระราชวัง กล่าวว่า นี่เป็นส่วนหนึ่งของความอ่อนแอลงเรื่อย ๆ ของราชวงศ์ชิงด้วย หลังจากรัชสมัยของจักรพรรดิเฉียนหลงแล้ว จักรพรรดิเฉียนหลงมีพระโอรสที่ปรีชาสามารถมากคือเจ้าชายหย่งฉี พระโอรสองค์ที่ 5 ซึ่งประสูติแต่พระชายาหยู (愉貴妃) เจ้าชายหย่งฉีเป็นผู้ที่ปรีชาสามารถทั้งบุ๋นและบู๊ เป็นความหวังว่าจะได้ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระองค์ แต่กลับสิ้นพระชนม์เสียก่อนตั้งแต่ยังหนุ่ม ในปี พ.ศ. 2338 (ค.ศ. 1795) ปีที่ 60 ที่ทรงครองราชย์จักรพรรดิเฉียนหลงได้สละราชสมบัติให้พระโอรสที่ชื่อ หย่งเยี๋ยน พระโอรสองค์ที่ 15 ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิเจี่ยชิ่ง ด้วยไม่ทรงปรารถนาจะครองราชย์ยาวนานเกินกว่าจักรพรรดิคังซีผู้เป็นพระอัยกา (ปู่) อย่างไรก็ตามแม้จะสละราชบัลลังก์แล้วแต่อำนาจที่แท้จริงยังคงอยู่กับพระองค์ โดยทรงขึ้นดำรงตำแหน่งเป็น พระบิดาหลวง หรือ จักพรรดิสูงสุด (ไท่ซั่งหวง, 太上皇帝) ในปี พ.ศ. 2342 (ค.ศ. 1799) จักรพรรดิเฉียนหลงเสด็จสวรรคต จักรพรรดิเจี่ยชิ่งจึงได้ครองราชย์อย่างแท้จริง และพระองค์ก็เริ่มกำจัดเหอเซินทันที และบังคับให้เขาฆ่าตัวตาย หลังสิ้นสุดยุคของจักรพรรดิเฉียนหลงแล้ว จักรพรรดิองค์ต่อ ๆ มาของราชวงศ์ชิงต่างไม่มีองค์ไหนมีความสามารถโดดเด่น ทำให้ราชวงศ์ชิงอ่อนแอลงเรื่อยๆ และประเทศจีนเริ่มถูกต่างชาติเข้าแทรกแซงยึดครอง ตลอดยุคสมัยที่ยาวนานกว่า 60 ปี ของจักรพรรดิเฉียนหลงเต็มไปด้วยเรื่องราวที่มีสีสันจนเลื่องลือมาถึงปัจจุบัน มีวรรณกรรมมากมายที่บอกเล่าถึงยุคสมัยของพระองค์ รวมทั้งภาพยนตร์ และละครโทรทัศน์ ที่จัดสร้างหลายครั้งหลายหนกล่าวถึงเนื้อหาต่างๆ เช่น เรื่องที่เล่าลือกันว่า พระองค์แท้ที่จริงมิใช่พระโอรสของจักรพรรดิหย่งเจิ้น แต่เป็นบุตรชายของอำมาตย์คนหนึ่ง เมื่อพระมเหสีของจักรพรรดิหย่งเจิ้นให้ประสูติกาลบุตรออกมาเป็นบุตรสาว จึงสลับลูกกันกับอำมาตย์ผู้นี้ ดังที่ปรากฏในเรื่อง จอมใจจอมยุทธ์และ เรื่องราวในรัชสมัยพระองค์ยังถูกนำมาแสดงเป็นภาพยนตร์เรื่อง องค์หญิงกำมะลอ ซึ่งเป็นเรื่องขององค์หญิงหวนจู ซึ่งดัดแปลงมาจากพระธิดาบุญธรรมขององค์จักรพรรดิมาเป็นองค์หญิงหวนจู.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจักรพรรดิเฉียนหลง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเซี่ยจิงจง

ักรพรรดิเซี่ยจิงจง (ค.ศ. 1003–1048) ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์เซี่ยตะวันตก ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจักรพรรดิเซี่ยจิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)

ักรวรรดิจีน (Empire of China) เป็นการปกครองซึ่งดำรงอยู่ในช่วงสั้น ๆ ในประเทศจีนตั้งแต่ปล..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916) · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดจันทบุรี

ังหวัดจันทบุรี เป็นจังหวัดทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 6,388 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิประเทศประกอบไปด้วยป่าไม้ ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มน้ำ และที่ราบชายฝั่งทะเล ในส่วนของพื้นที่ป่าไม้มีประมาณ 3 ใน 10 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา และสระแก้วทางทิศเหนือ ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดตราดและประเทศกัมพูชา ทิศใต้ติดกับอ่าวไทย และทิศตะวันตกติดกับจังหวัดระยองและชลบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 238 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดจันทบุรีอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัด โดยอาชีพที่ประชากรในจังหวัดนิยมประกอบอาชีพมากที่สุดคือเกษตรกรรมและประมง และศาสนาที่มีการนับถือมากที่สุดในจังหวัดคือศาสนาพุท.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจังหวัดจันทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนราธิวาส

นราธิวาส เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นจังหวัดชายแดนใต้สุดของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลตะวันออกของแหลมมลายู ห่างจากกรุงเทพฯ ทางรถยนต์ประมาณ 1,149 กิโลเมตร โดยมีเนื้อที่ประมาณ 4,475.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,797,143.75 ไร่ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดปัตตานีในเขตอำเภอสายบุรี อำเภอไม้แก่น และอ่าวไทย ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทยและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดยะลาในเขตอำเภอบันนังสตา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้และภูเขา 2 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งหมด มีป่าพรุประมาณ 361,860 ไร่ ทางแถบทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดทิวเขาสันกาลาคีรีซึ่งเป็นแนวกั้นพรมแดนไทย-มาเลเซีย ลักษณะพื้นที่จะมีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศตะวันออก พื้นที่ราบส่วนใหญ่อยู่บริเวณติดกับอ่าวไทยและที่ราบลุ่มบริเวณแม่น้ำ 4 สาย คือ แม่น้ำบางนรา แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำตากใบ และแม่น้ำโก-ลก มีประชากรจำนวน 796,239 คน แยกเป็นชาย 393,837 คน หญิง 402,402 คน โดยจังหวัดนราธิวาสมีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการอุตสาหกรรมอยู่ที่อำเภอสุไหงโก-ลก ซึ่งเป็นอำเภอที่มีขนาดใหญ่และมีความเจริญกว่าตัวจังหวัดมาก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจังหวัดนราธิวาส · ดูเพิ่มเติม »

จันทน์แดง

ันทน์แดง หรือ รักตจันทน์ อยู่ในวงศ์ถั่ว เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง เปลือกต้นสีน้ำตาลดำ ยางสีแดงเข้ม ใบประกอบ ไม่มีหูใบ ก้านใบมีขนนุ่ม เนื้อใบคล้ายแผ่นหนัง ดอกช่อ สีเหลือง ผลรูปกลมแบนมีปีก เมล็ดเกลี้ยง สีน้ำตาลแดง พบเฉพาะในรัฐอานธรประเทศ และบริเวณใกล้เคียงเมืองมัทราสและไมซอร์ ปัจจุบันเป็นพืชปลูกในศรีลังกา อินเดีย ฟิลิปปิน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจันทน์แดง · ดูเพิ่มเติม »

จาง อี้โหมว

ง อี้โหมว (จีน: 张艺谋, พินอิน: Zhāng Yìmóu) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2494 -) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวจีน ที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ เขาเริ่มเข้าสู่วงการ ด้วยการสร้างภาพยนตร์เรื่อง Red Sorghum งานของเขามักมีจุดเด่นในเรื่องของอารมณ์ความรู้สึกต่อการใช้สี ดังที่เห็นได้ในภาพยนตร์ไตรภาคเรื่องแรกๆ เช่น Raise the Red Lantern หรือในหนังศิลปะการต่อสู้ เช่น Hero และ House of Flying Daggers ในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจาง อี้โหมว · ดูเพิ่มเติม »

จาตุมหาราชิกา

วาดจตุโลกบาลหรือจตุมหาราชทั้ง 4 ศิลปะพม่า (จากซ้าย) ท้าวธตรฐ ท้าววิรุฬหก ท้าววิรูปักษ์ และท้าวกุเวร ตามคติจักรวาลวิทยาในศาสนาพุทธ จาตุมหาราชิกา (Cātummahārājika, จาตุมฺมหาราชิก; Cāturmahārājikakāyika, จาตุรฺมหาราชิกกายิก) เป็นชื่อสวรรค์ชั้นแรกและเป็นชั้นล่างที่สุดในฉกามาพจร (สวรรค์ในกามภูมิตามคติไตรภูมิ) เรียกสั้น ๆ ว่า ชั้นจาตุม ก็มี มีที่ตั้งอยู่บริเวณเชิงเขาพระสุเมรุ จาตุมหาราชิกา โดยศัพท์แปลว่า "แห่งมหาราชทั้งสี่" เมื่อแปลแบบเอาความจึงหมายถึง "แดนเป็นที่อยู่ของท้าวมหาราชทั้งสี่" หรือ "อาณาจักรของท้าวมหาราช 4 องค์" กล่าวคือ สวรรค์ชั้นนี้เป็นดินแดนที่จอมเทพ 4 องค์ผู้รักษาคุ้มครองโลกใน 4 ทิศ ซึ่งเรียกว่า ท้าวโลกบาล ท้าวจตุโลกบาล หรือ ท้าวจาตุมหาราช หรือ สี่ปวงผี ปกครองอยู่องค์ละทิศ เทวดาชั้นจาตุมหาราชิกามีอายุ 500 ปีทิพย์ (30 วันเป็น 1 เดือน 12 เดือนเป็น 1 ปี) โดย 1 วันและ 1 คืนของสวรรค์ชั้นนี้ เท่ากับ 50 ปีของโลกมนุษย์ คำนวณเป็นปีโลกมนุษย์ได้ 9,000,000 ปีโลกมนุษย์ (บางแห่งกล่าวว่าเท่ากับ 90,000 ปีโลกมนุษย์).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจาตุมหาราชิกา · ดูเพิ่มเติม »

จิง

ง (京族; Kinh tộc) เป็นชนกลุ่มน้อยในประเทศจีน อาศัยอยู่บริเวณเกาะทางภาคใต้ของจีน คือ เกาะว่านเหว่ย เกาะวูโถวและเกาะซานซิน มีประชากรประมาณ 2 หมื่นคน มีภาษาจิง และการแต่งกายมีเสื้อประจำชนชาติ ส่วนใหญ่เป็นชาวประมง และมีการค้าขายระหว่างชายแดนจีนกับเวียดนาม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจิง · ดูเพิ่มเติม »

จิตต์สุภา ฉิน

ตต์สุภา ฉิน (Jitsupa Chin) ผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ทางวอยซ์ทีวี, คอลัมนิสต์เชิงเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจำนิตยสารข่าวมติชนสุดสัปดาห์ และนักแปล เนื่องจากเธอสามารถสื่อสาร ได้ทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน จิตต์สุภา เกิดเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2526 ที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นบุตรสาวของภูเบศ เจ้าของร้านค้าปลีก สินค้าเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์แอนด์วิดีโอแล็บ ในอำเภอหาดใหญ่ เธอจบการศึกษา ระดับปริญญาบัณฑิตสาขาการเงิน จากคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ แล้วเดินทางไปศึกษาต่อภาษาจีนที่ มหาวิทยาลัยปักกิ่ง ภาคปกติ (Beijing Normal University) ที่กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นเวลา 1 ปี โดยเธอเริ่มทำงานที่แอปเปิลประเทศไทย ก่อนจะเป็นผู้สื่อข่าวต่างประเทศกับวอยซ์ทีวี ปัจจุบัน จิตต์สุภาเป็นบรรณาธิการฝ่ายวิถีชีวิต (Lifestyle Editor) ของวอยซ์ทีวี และผู้ดำเนินรายการ ดีวาส์คาเฟ, เทคฟิกซ์ (Tech_Fix) ที่ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น คูลเทค (Cool Tech), เดอะ เบรกดาวน์ (The Breakdown) คู่กับอดัม แบรดชอว์ (Adam Bradshaw) และทอล์กกิงไทยแลนด์ (Talking Thailand) โดยก่อนหน้านี้ เธอยังเป็นผู้ดำเนินรายการ ของวอยซ์ทีวียุคบุกเบิกด้วย เช่น บล็อกบัฟเฟต์ (Blog Buffet), เอเชีย อินสไปรส์ (Asia Inspires) และ ไลฟ์ (Life) เป็นต้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจิตต์สุภา ฉิน · ดูเพิ่มเติม »

จื๋อโนม

ื๋อโนม (chữ Nôm, 字喃/𡨸喃/𡦂喃) เป็นระบบอักษรที่ใช้เขียนภาษาเวียดนาม ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว จื๋อโนมประกอบด้วยอักษรจีน ("ฮั่นจื้อ" เรียกเป็นภาษาเวียดนามว่า "ฮ้านตึ" - Hán tự) และอักขระที่ประดิษฐ์ขึ้นตามแบบอักษรจีน ตัวอย่างที่เก่าที่สุดอยู่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 มักนิยมใช้เฉพาะในหมู่ชนชั้นสูงของเวียดนาม โดยส่วนใหญ่ใช้บันทึกวรรณคดีเวียดนาม (งานเขียนที่เป็นทางการส่วนใหญ่จะใช้ภาษาจีนแบบแผน ไม่ใช่ภาษาเวียดนาม) ปัจจุบันถือว่าถูกแทนที่โดยสมบูรณ์ด้วยจื๋อโกว๊กหงือซึ่งดัดแปลงจากอักษรละติน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจื๋อโนม · ดูเพิ่มเติม »

จู้อิน

ู้อินพื้นฐาน เทียบกับพินอิน จู้อิน หรือ จู้อินฝูเฮ่า (แปลว่า เครื่องหมายกำกับเสียง) เป็นระบบสัทอักษรสำหรับการถอดเสียงในภาษาจีน โดยเฉพาะภาษาจีนกลาง เป็นระบบกึ่งพยางค์ที่มีใช้อย่างกว้างขวางในสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ประกอบด้วยอักษร 37 ตัวและวรรณยุกต์ 4 ตัว ซึ่งเพียงพอที่จะใช้ถอดเสียงที่เป็นไปได้ในภาษาจีนกลาง ถึงแม้ว่าจู้อินจะถูกจัดว่าเป็นชุดตัวอักษร (alphabet) อย่างหนึ่ง ระบบนี้ก็ไม่ได้ประกอบด้วยพยัญชนะกับสระ แต่ประกอบด้วยต้นพยางค์ (syllable onset) กับสัมผัสพยางค์ (syllable rime) ระบบนี้มีพื้นฐานจากตารางสัมผัส (rime table) ของภาษาจีน แต่ใช้เครื่องหมายเสริมสัทอักษร (diacritics) แทนเสียงวรรณยุกต์แยกออกจากเสียงสัมผัส ในฐานะชุดตัวอักษร พยัญชนะต้นพยางค์มีอักษรใช้แทน 21 ตัว ที่เหลือเป็นสระเดี่ยว สระประสม และสระที่มีพยัญชนะสะกดซึ่งใช้อักษรแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น luan จะเขียนเป็น ㄌㄨㄢ (l-u-an) ซึ่งอักษรตัวสุดท้ายใช้แทนสระที่มีพยัญชนะสะกด -an ทั้งชุด เป็นต้น (อย่างไรก็ตาม พยัญชนะสะกด -p, -t, -k ไม่มีการใช้ในภาษาจีนกลาง แต่มีในสำเนียงอื่น สามารถเขียนเป็นตัวห้อยของพยัญชนะเหล่านี้หลังเสียงสระแทน) ในภาษาพูดทุกวันนี้ จู้อินมักถูกเรียกว่า ปอพอมอฟอ (ㄅㄆㄇㄈ: bopomofo) ซึ่งเป็นอักษรชุดแรกในระบบนี้ เอกสารอย่างเป็นทางการในบางโอกาสจะเรียกว่า Mandarin Phonetic Symbols I (國語注音符號第一式) หรือย่อเป็น MPS I (注音一式) ซึ่งชื่อนี้ไม่ค่อยปรากฏการใช้ในภาษาอื่น เลขโรมันที่ปรากฏหลังชื่อมีไว้เพื่อแยกแยะออกจากระบบ MPS II ที่คิดค้นขึ้นในยุคเดียวกันแต่ไม่มีการใช้งานแล้วในปัจจุบัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจู้อิน · ดูเพิ่มเติม »

จีน (แก้ความกำกวม)

ีน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจีน (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

จีนโพ้นทะเล

วจีนโพ้นทะเล (อังกฤษ: Overseas Chinese; จีน: 華僑 huáqiáo หัวเฉียว, 華胞 huábāo หัวเปา, 僑胞 qiáobāo เฉียวเปา, 華裔 huáyì หัวอี้) คือ กลุ่มคนเชื้อสายจีนที่อาศัยอยู่ภายนอกประเทศจีน คำว่าประเทศจีนในที่นี้ หมายความได้ถึง จีนแผ่นดินใหญ่ รวมทั้งดินแดนภายใต้การปกครองของรัฐบาล สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งได้แก่ ฮ่องกง มาเก๊า และ ไต้หวัน (สาธารณรัฐประชาชนจีน ถือว่า ไต้หวัน เป็นเพียงมณฑลหนึ่งของตน และปัจจุบัน สหประชาชาติ มิได้รับรองฐานะไต้หวันให้เป็นสาธารณรัฐจีนแต่อย่างใ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจีนโพ้นทะเล · ดูเพิ่มเติม »

จีนโนสยามวารศัพท์

ีนโนสยามวารศัพท์ เป็นหนังสือพิมพ์จีนรายวันในสยามประเทศ เริ่มออกฉบับภาษาสยาม เมื่อวันที่ 15 เมษายน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจีนโนสยามวารศัพท์ · ดูเพิ่มเติม »

จ๊กก๊ก

กก๊ก หรือ สู่ฮั่น (พินอิน: Shǔ Hàn) เป็นหนึ่งในอาณาจักรสามก๊ก สถาปนาโดยพระเจ้าเล่าปี่ เชื้อพระวงศ์แห่งราชวงศ์ฮั่น ปกครองในระหว่างปี พ.ศ. 764 - พ.ศ. 806 (ปี ค.ศ. 221-263) จ๊กก๊กครอบครองพื้นที่ทางภาคตะวันตกของประเทศจีน บริเวณมณฑลเสฉวน มีแม่น้ำทั้งหกสายไหลผ่าน จ๊กก๊กปกครองอาณาจักรโดยจักรพรรดิสืบต่อกันมาทั้งหมด 2 พระองค์ ได้แก่ราชวงศ์ฮั่น, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจ๊กก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

จ้วง

้วง หรือ ปู้จ้วง (จ้วง: Bouчcueŋь/Bouxcuengh) เป็นกลุ่มชนในกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได มีประชากรมากที่สุด ราว 18 ล้านคน แต่พวกเขาเพิ่งยอมรับคำว่า จ้วง เป็นชื่อชนชาติ เมื่อทางการจีนใช้คำเขียนใหม่ที่มีความหมายในทางที่ดีขึ้น เพราะในสมัยราชวงศ์ซ้อง คำว่า จ้วง (僮) ใช้เรียกทหารที่เป็นจ้วง สมัยราชวงศ์หยวน ใช้ตัวอักษรจีน ที่แปลว่า ปะทะ สมัยราชวงศ์หมิง ราชวงศ์ชิง จนถึงสมัยก๊กมินตั๋ง เปลี่ยนอักษรตัวแรกเป็นความหมายว่า "สัตว์" (獞) จนถึง พ.ศ. 2508 จึงเปลี่ยนเป็นตัวที่มีความหมายว่า เติบโต และแข็งแรง (壯/壮).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและจ้วง · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมกาย

รรมกาย (धर्म काय ธรฺมกาย, จีน: 法身, พินอิน: fǎshēn) คือพระนามหนึ่งของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในความหมายของพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท และคือพระกายหนึ่งของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าปรากฏอยู่ในทั้งนิกายเถรวาทและมหายาน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและธรรมกาย · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมจักรสูตร

ในสารบบของพระไตรปิฎกภาษาจีน ปรากฏพระสูตรที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องหรือเหมือนกับธัมมจักกัปปวัตนสูตรอยู่เป็นจำนวนมาก มีทั้งพากย์ภาษาสันสกฤตและภาษาจีน เนื้อหามีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมด หรือเป็นเพียงส่วนหนึ่ง ส่วนใหญ่แล้วมักอ้างถึงพระสูตรในหมวดอาคมะ หรือหมวดอาคม ซึ่งเป็นการรวบรวมพระสูตรฝ่ายเถรวาทไว้ แต่ก็ปรากฏในพระสูตรมหายานหมวดอื่นๆ เช่นกัน แต่โดยรวมแล้วเมื่อจะเอ่ยถึงธัมมจักกัปปวัตนสูตรในพระไตรปิฎกภาษาจีนจะใช้คำว่า 转法轮经.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและธรรมจักรสูตร · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ

รรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ (Rome Statute of the International Criminal Court) หรือเรียกโดยย่อว่า ธรรมนูญกรุงโรม (Rome Statute) เป็นสนธิสัญญาซึ่งมีเนื้อหาสาระเป็นการจัดตั้งและจัดเขตอำนาจศาลอาญาระหว่างประเทศ ธรรมนูญนี้ได้รับความเห็นชอบจากรัฐต่าง ๆ ณ การประชุมทางการทูตที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2541 และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2545 โดยในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเกาหลีใต้

งชาติสาธารณรัฐเกาหลี หรือ ธงชาติเกาหลีใต้ มีชื่อเรียกเฉพาะว่า แทกึกกี มีลักษณะเป็นธงพื้นสีขาว กลางธงมีรูปวงกลม "แทกึก" สีแดง-น้ำเงิน ล้อมข้างด้วยขีดสามเส้นรูปต่างๆ ตามคัมภีร์อี้จิงของจีน 4 รูปตามแต่ละมุมของธง ธงนี้ออกแบบโดยปัก ยอง ฮโย (Bak Yeong-hyo) ราชทูตเกาหลีประจำประเทศญี่ปุ่น ซึ่งต้องการให้มีธงเพื่อแสดงความเป็นชาติให้ญี่ปุ่นซึ่งกำลังรุกรานเกาหลีในเวลานั้นได้เห็น พระเจ้าโกจงแห่งราชวงศ์โชซ็อนได้มีพระบรมราชโองการประกาศใช้เป็นธงชาติเกาหลีเมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2426.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและธงชาติเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ธนินท์ เจียรวนนท์

นินท์ เจียรวนนท์ เป็นประธานอาวุโส เครือเจริญโภคภัณฑ์ และมหาเศรษฐีอันดับที่ 1 ของประเทศไทยจากการจัดอันดับของนิตยสารฟอร์บ โดยข้อมูลกุมภาพันธ์ ปี 2018 มีทรัพย์สิน 9.377 แสนล้านบาท ติดอันดับ 95 ของโลก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและธนินท์ เจียรวนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ถัง กั๋วเฉียง

กบท ขงเบ้ง ถัง กั๋วเฉียง (Tang Guoqiang, จีน: 唐国强, พินอิน: Táng Guóqiáng) นักแสดงชาวจีน ผู้รู้จักบทบาทดีจากการรับบท ขงเบ้ง ในสามก๊กฉบับละครโทรทัศน์ของ CCTV เกิดเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1952 ในครอบครัวที่เป็นแพทย์ ที่เมืองชิงเต่า มณฑลซานตง เริ่มต้นอาชีพนักแสดงในปี ค.ศ. 1970 หลังสำเร็จการศึกษาระดับมัธยม ถัง กั๋วเฉียง มีบทบาทที่รู้จักดีจากการรับบทเป็น ขงเบ้ง จากสามก๊กฉบับละครโทรทัศน์ของ CCTV และจากการรับทเป็น จักรพรรดิหย่งเจิ้น, จักรพรรดิหลี่ซื่อหมิน และ รับบท เหมาเจ๋อตุง หลายต่อหลายครั้ง เช่น The Founding Of A Republic ในปี ค.ศ. 2009 เป็นต้น ชีวิตส่วนตัว เคยผ่านการสมรสมาแล้ว 2 ครั้ง โดยมีลูกสาวเกิดกับภรรยาคนแรก และลูกชายกับภรรยาคนที่สอง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและถัง กั๋วเฉียง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพม่า

นนพม่าและถนนเลโด เมื่อ พ.ศ. 2487 ถนน 24 โค้ง (25.821725°N, 105.202600°E) ซึ่งมักเข้าใจผิดว่าอยู่บนถนนพม่า แต่ที่จริงอยู่ที่กุ้ยโจว ระหว่างสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง ยุทธปัจจัยส่งไปยังคุนหมิงผ่านถนนพม่า แล้วส่งต่อไปยังจุงกิงโดยผ่านถนน 24 โค้ง แล้วจึงไปถึงทหารในสนามรบ แรงงานชาวพม่าและชาวจีนที่ใช้เครื่องมือสร้างถนนพม่า ถนนพม่า (Burma Road; ภาษาจีน: 滇缅公路) เป็นถนนที่เชื่อมระหว่างพม่ากับภาคตะวันตกเฉียงใต้ของจีน โดยเริ่มจากเมืองล่าโช่ในพม่าไปจนถึงเมืองคุนหมิงในยูนนาน สร้างขึ้นเมื่อพม่าเป็นอาณานิคมของอังกฤษเพื่อส่งความช่วยเหลือให้จีนระหว่างสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 2 การป้องกันการลำเลียงผ่านถนนสายนี้ทำให้ญี่ปุ่นต้องเข้าไปยึดครองพม่าใน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและถนนพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 5

นนพระรามที่ 5 (Thanon Rama V) เป็นถนนในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนลูกหลวง แขวงสวนจิตรลดา บริเวณด้านข้างทำเนียบรัฐบาล เลียบคลองเปรมประชากรไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพิษณุโลกที่สี่แยกพาณิชยการ ตัดกับถนนศรีอยุธยาที่สี่แยกวัดเบญจฯ ตัดกับถนนราชวิถีที่สี่แยกราชวิถี ตัดกับถนนสุโขทัยที่สี่แยกสุโขทัย ข้ามคลองสามเสนเข้าสู่พื้นที่แขวงถนนนครไชยศรี ตัดกับถนนนครไชยศรีที่สี่แยกราชวัตร ตัดกับถนนอำนวยสงครามและถนนเศรษฐศิริที่สี่แยกเกษะโกมล และสิ้นสุดเมื่อไปตัดกับถนนทหารที่สี่แยกสะพานแดง (ถนนสายที่ตรงต่อเนื่องไปคือถนนเตชะวณิช) ถนนพระรามที่ 5 เดิมชื่อ "ถนนลก" เป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นถนนในโครงการถนนอำเภอดุสิต โดยได้ทรงริเริ่มขึ้นพร้อมกับการสร้างพระราชวังดุสิตใน พ.ศ. 2441 ชื่อถนนลกเป็นภาษาจีนมาจากชื่อภาพเครื่องลายครามที่มีภาพลก คือ เทพเจ้าจีนใส่หมวกมีใบพัด 2 ข้าง หรือกวางอยู่ด้วย กวางกับหมวกนั้นมีความหมายว่าเกียรติยศนั่นเอง ครั้นเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2462 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อถนนลก ตั้งแต่ถนนลูกหลวงถึงถนนเตชะวณิชเป็น "ถนนพระรามที่ 5" เพราะมีประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังดุสิตและถนนสายนี้ขึ้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและถนนพระรามที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

ทวารกานาถ โกฏณีส

thumb ทวารกานาถ โกฎณีส (จีน:柯棣华, พินอิน:Kē Dìhuá เคอ ตี้หัว, เทวนาครี:द्वारकानाथ कोटणीस ทวารกานาถ โกฎณีส, อังกฤษ:Dwarkanath Kotnis) หรือชื่อจริงคือ ทวารกานาถ ศำตาราม โกฎณีส (เทวนาครี:द्वारकानाथ शांताराम कोटणीस) เกิดเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2453 หนึ่งในห้าของแพทย์ชาวอินเดียที่เข้ามาในประเทศจีน โดยคำสั่งของยวาหระลาล เนห์รู ในช่วงสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง ในช่วงปี ค.ศ. 1938 เขาได้อุทิศตนในการรักษา และเป็นการสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีระหว่างจีนและอินเดีย เป็นแพทย์ประจำตัวของ เหมาเจ๋อตุง และพรรคคอมมิวนิสต์จีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและทวารกานาถ โกฏณีส · ดูเพิ่มเติม »

ทะไลลามะที่ 14

ทนซิน เกียตโซ ทะไลลามะที่ 14 (ภาษาทิเบต: བསྟན་འཛིན་རྒྱ་མཚོ་; Bstan-'dzin Rgya-mtsho; ภาษาจีน: 第十四世达赖喇嘛; His Holiness the 14th Dalai Lama, 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2478 - ปัจจุบัน) คือองค์ทะไลลามะ องค์ที่ 14 แห่งทิเบต เป็นผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพเมื่อปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) และเป็นผู้นำจิตวิญญาณและผู้นำสูงสุดของชาวทิเบต ถึงแม้ว่าทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีนจะไม่ยินยอมก็ตาม พระองค์ทรงเป็นประมุขแห่งพุทธศาสนานิกายมหายานแบบทิเบตเกลุก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและทะไลลามะที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบคานาส

ทะเลสาบคานาส (Kanas Lake, Kanasi Lake.) หรือ คานาซือ (喀纳斯, พินอิน: Kānàsī Hú) หรือ ฮานาซือ (哈纳斯) ในภาษาจีน เป็นทะเลสาบน้ำจืดที่อยู่ท่ามกลางวงโอบล้อมของเทือกเขาอัลไต มีพื้นที่กว่า 2,000 ตารางกิโลเมตร โดยอยู่บริเวณตอนเหนือสุดของเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ อยู่ระหว่างพรมแดนจีนกับคาซัคสถาน โดยคำว่า "คานาส" เป็นภาษามองโกล แปลว่า "ทะเลสาบท่ามกลางขุนเขา" ทะเลสาบคานาสเป็นทะเลสาบทรงรีอยู่เหนือระดับน้ำทะเลถึง 1,370 เมตร มีโค้งใหญ่ ๆ รวม 6 แห่ง ยาวรวมทั้งสิ้น 24 กิโลเมตร นอกจากนี้แล้ว ทะเลสาบคานาสยังถือว่าเป็นทะเลสาบน้ำจืดที่มีความลึกที่สุดในโลกอีกด้วย โดยจุดที่ลึกที่สุดนั้นอยู่บริเวณโค้งที่ 2 มีความลึกราว 188 เมตร หรือเทียบเท่ากับตึกราว 60 ชั้น ทะเลสาบแห่งนี้ มีฉายาว่า "ทะเลสาบเปลี่ยนสี" ด้วยเหตุที่เมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง สีของน้ำในทะเลสาบก็จะเปลี่ยนตาม กล่าวคือ ในวันท้องฟ้าสดใสน้ำในทะเลสาบแห่งนี้จะเป็นสีเขียวครามเข้ม ในวันครึ้มฟ้าครึ้มฝน น้ำในทะเลสาบจะเปลี่ยนเป็นสีเขียวเทา และในช่วงฤดูร้อนที่อุณหภูมิเพิ่มขึ้นสูงน้ำในทะเลสาบก็จะสะท้อนออกมาเป็นสีเขียวครามขุ่น นอกจากนี้แล้ว รอบ ๆ ทะเลสาบคานาสยังได้ขึ้นทะเบียนเป็นเขตอนุรักษ์ธรรมชาติ ด้วยมีความหลากหลายของพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์มากมาย มีสัตว์หายากหลายชนิดที่อาศัยอยู่บริเวณนี้ เช่น หมีสีน้ำตาล (Ursus arctos), แมวป่าลิงซ์ยูเรเซีย (Lynx lynx), เสือดาวหิมะ (Uncia uncia) เป็นต้น ทะเลสาบคานาสยังเป็นสถานที่ ๆ มีตำนานเล่าขานเกี่ยวกับสัตว์ประหลาดที่อาศัยอยู่ในห้วงลึกสุดของทะเลสาบเช่นเดียวกับ สัตว์ประหลาดล็อกเนสส์ ของทะเลสาบเนสส์ ในสก็อตแลนด์อีกด้วย โดยเป็นความเชื่อของชาวถูหว่าซึ่งเป็นชนพื้นเมืองที่นั่น ที่เชื่อว่า สัตว์ประหลาดตัวนี้ คือ ปลาไทแมน (Hucho taimen) ปลาจำพวกแซลมอนขนาดใหญ่ ที่มีสีแดงก่ำ แต่ก็เชื่อว่าสัตว์ประหลาดแห่งทะเลสาบนี้ได้ลากเอาสัตว์เลี้ยงจำพวก วัว ควาย แพะ แกะและม้า ของชาวบ้านลงไปกินในน้ำด้วย ด้วยการสำรวจของนักสำรวจกลุ่มหนึ่งในช่วงทศวรรษที่ 80 พบโครงกระดูกที่สมบูรณ์ของสัตว์เหล่านี้ที่ก้นทะเลสาบ ซึ่งต่อมาได้มีการพิสูจน์ความจริงโดยสถานีโทรทัศน์ CCTV ของจีน ด้วยการจับภาพ พบว่าเป็นฝูงปลาไทแมนขนาดใหญ่ แต่ถึงอย่างไรความเชื่อในเรื่องสัตว์ประหลาดนี้ก็ยังคงมีอยู.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและทะเลสาบคานาส · ดูเพิ่มเติม »

ทาเกชิ คาเนชิโระ

ทาเกชิ คาเนชิโระ หรือ จินเฉิง อู่ ในภาษาจีน (จีนและญี่ปุ่น: 金城武, อังกฤษ: Takeshi Kaneshiro, พินอิน: Jīnchéng Wǔ) เป็นนักแสดงและนายแบบลูกครึ่งไต้หวัน-ญี่ปุ่น โดยมารดาเป็นชาวไต้หวันส่วนบิดาเป็นชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและทาเกชิ คาเนชิโระ · ดูเพิ่มเติม »

ทิเบต

ทิเบต (ภาษาทิเบต: བོད་ เป้อ, ภาษาจีน: 西藏 xīzàng ซีจ้าง) เป็นเขตที่ราบสูงในทวีปเอเชีย ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเทือกเขาหิมาลัย เป็นที่อยู่ของชาวทิเบต และกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ และปัจจุบันมีชาวฮั่นและหุยมาอยู่อาศัยด้วยเป็นจำนวนมาก ทิเบตเป็นบริเวณที่สูงที่สุดในโลก มีระดับความสูงเฉลี่ย 4,900 เมตร หมวดหมู่:เอเชียกลาง หมวดหมู่:เอเชียตะวันออก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ฮั่น

ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ฮั่น (จีน: 武漢天河國際機場, พินอิน: Wǔhàn Tiānhé Guójì Jīchǎng) เป็นสนามบินพาณิชย์ในอู่ฮั่น ประเทศจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและท่าอากาศยานนานาชาติอู่ฮั่น · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง

ท่าอากาศยานนานาชาติเซี่ยงไฮ้ผู่ตง (จีนตัวย่อ: 上海浦东国际机场, จีน: 上海浦東國際機場, พินอิน: Shànghǎi Pǔdōng Guójì Jīchǎng) ตั้งอยู่ทางตะวันออกของผู่ตง ในเขตเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นประตูหลักสู่ประเทศจีน รองรับผู้โดยสารระหว่างประเทศกว่า 17 ล้านคน ในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวสักกะ

การดำเนินตามทางสายกลางน่าจะเป็นทางที่จะทำให้ตรัสรู้ได้มากกว่าการทรมานตนเอง สักกะ (สกฺก) หรือ ศักระ (शक्र ศกฺร; ความหมาย: ผู้องอาจ ผู้สามารถ) เป็นชื่อของเทพผู้ปกครองสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ในจักรวาลวิทยาของศาสนาพุทธ ปรากฏนามในภาษาบาลีว่า สกฺโก เทวานํ อินฺโท (शक्रो देवानं इन्द्रः ศกฺโร เทวานํ อินฺทฺรห์) หมายถึง "สักกะผู้เป็นใหญ่เหนือทวยเทพทั้งหลาย" ในคัมภีร์ทางศาสนาพุทธ คำว่า "สักกะ" ถือเป็นวิสามานยนาม ไม่อาจใช้เรียกเทพองค์อื่นได้ ในทางตรงกันข้าม คำว่า อินฺท (ภาษาบาลี) หรือ อินฺทฺร (ภาษาสันสกฤต) ซึ่งมีความหมายว่า "ผู้เป็นใหญ่" ใช้หมายถึงท้าวสักกะอยู่บ่อยครั้ง เทพสักกะมักเรียกขานว่า "ท้าวสักกเทวราช" หรือย่อว่า "ท้าวสักกะ" ในวัฒนธรรมเอเชียตะวันออก ท้าวสักกะเป็นที่รู้จักในนาม "ตี้ซื่อเทียน" (帝釋天) หรือ "ซื่อถีหฺวันอิน" (釋提桓因) ในภาษาจีน และ "ไทชะกุเท็น" (帝釈天) ในภาษาญี่ปุ่น สำหรับในประเทศจีนแล้ว บางครั้งมีการเปรียบเทียบว่าท้าวสักกะคือเง็กเซียนฮ่องเต้ (玉皇大帝) หรือจักรพรรดิหยกในลัทธิเต๋า ด้วยถือว่าเทพทั้งสององค์นี้มีวันประสูติเป็นวันเดียวกัน คือ ในวันที่ 9 เดือนที่ 1 ตามปฏิทินจันทรคติจีน (โดยปกติจะอยู่ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ตามปฏิทินสุริยคติ) ในฤคเวท อันเป็นวรรณคดีภาษาสันสกฤตในศาสนาฮินดู คำว่า "ศักระ" อันเป็นนามของท้าวสักกะในภาษาสันสกฤตนั้น ใช้แทนตัวเทพอินทระหรือพระอินทร์อยู่บ่อยครั้ง แต่ในศาสนาพุทธ ตำนานและบุคลิกลักษณะของท้าวสักกะแตกต่างไปจากพระอินทร์ในพระเวทอย่างสิ้นเชิง สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ซึ่งเป็นที่สถิตของท้าวสักกะตั้งอยู่เหนือยอดเขาพระสุเมรุ ซึ่งตามคติเรื่องไตรภูมิ ถือว่าภูเขาแห่งนี้เป็นศูนย์กลางของโลก อันมีพระอาทิตย์และพระจันทร์เวียนโคจรโดยรอบ สวรรค์ชั้นนี้นับเป็นสวรรค์ชั้นที่สูงที่สุดที่เชื่อมต่อกับมนุสสภูมิ (โลกมนุษย์) โดยตรง ท้าวสักกะมีชีวิตที่ยาวนานเช่นเดียวกับเทพทั้งหลาย หากแต่ก็มีวาระที่จะหมดอายุขัยตามแรงบุญของตนเองเช่นกัน ในยามที่ท้าวสักกะจะต้องจุติ (ตาย) เมื่อจิตดับไปแล้ว จะบังเกิดท้าวสักกะองค์ใหม่ (ซึ่งอาจเป็นเทพองค์อื่น) ขึ้นแทนที่ท้าวสักกะองค์เดิมทันที เรื่องราวของท้าวสักกะในทางพระพุทธศาสนาทั้งไม่ว่าจะในอดีตหรือในปัจจุบัน (ในช่วงที่บันทึกพระไตรปิฎก) ปรากฏอยู่ในชาดกและพระสูตรต่าง ๆ ซึ่งโดยมากจะอยู่ในหมวดสังยุตตนิกาย ชื่อท้าวสักกะปรากฏในพระสูตรหลายตอน และมักมีบทบาทเป็นผู้กราบทูลขอคำปรึกษาจากพระโคดมพุทธเจ้าในปัญหาธรรมต่าง ๆ ถือกันว่าพระองค์เป็นธรรมบาล (ผู้คุ้มครองธรรม) ในพุทธศาสนาร่วมกับเหล่าพรหมทั้งหล.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและท้าวสักกะ · ดูเพิ่มเติม »

ขมังเวทล่าสังหาร

มังเวทล่าสังหาร (獵命師傳奇, Fate Hunter) เป็น นิยายแฟนตาซี แต่งโดยกิดเดนส์ นักเขียนชาวไต้หวัน ตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ไกอา ทั้งชุดมีทั้งหมด 20 เล่ม เล่มสุดท้ายวางจำหน่ายเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ปี 2013 ฉบับภาษาไทยตั้งแต่เล่ม 1-5 แปลโดยโจอี้ ตงฟาง ตั้งแต่เล่ม 6 เป็นต้นไป แปลโดยเฉินอี้หลิว ตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์มติชน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและขมังเวทล่าสังหาร · ดูเพิ่มเติม »

ขันที

หลี่เสียน ค.ศ. 706 ขันที คือ ชายที่ถูกตอน บางประเทศทางเอเชียสมัยโบราณใช้สำหรับควบคุมฝ่ายใน ในภาษาจีนเรียกว่า ไท้เจี๋ยน หรือไท้ก๋ำ (ฮกเกี้ยน:太監,ไท้ก่ำ) ในภาษาละตินและอาหรับเรียกว่ายูนุก (Eunuch) โดยมีรากศัพท์มาจากภาษากรีกคำว่า ยูโนคอส (eunouchos) แปลว่าผู้ดูแลรักษาเตียง ส่วนชนชาติมอญเรียกขันทีว่า กมนุย (อ่านว่า ก็อมนอย) แปลว่า ขันทีที่ปราศจากความรู้สึกทาง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและขันที · ดูเพิ่มเติม »

ขุนส่า

นส่า (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477 - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2550) มีชื่อจริงว่า จาง ซีฟู (จีน: 张奇夫; พินอิน: Zhāng Qífú จาง ฉีฝู) และมีชื่อไทยว่า จันทร์ จางตระกูล เป็นอดีตผู้นำกองทัพเมิงไตซึ่งต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชให้แก่ชนกลุ่มน้อยชาวไทใหญ่ในพม่า และเป็นผู้ผลิตและค้าเฮโรอีนและฝิ่นรายใหญ่ของโลก โดยมีที่มั่นอยู่บริเวณสามเหลี่ยมทองคำ มีอิทธิพลอยู่ในเขตรัฐฉานและว้า ขุนส่ามีบิดาเป็นชาวจีน และมีมารดาเป็นชาวไทใหญ่ ชื่อนางแสงคำ ขุนส่าเคยตั้งกองกำลังใหญ่อยู่ที่บ้านหินแตก ในเขตตำบลเทอดไทย อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ตั้งแต..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและขุนส่า · ดูเพิ่มเติม »

ขนมเข่ง

หนียนเกา, เค้กข้าว, เค้กประจำปี หรือ เค้กตรุษจีน คืออาหารที่ทำจากข้าวเหนียวเพื่อบริโภคในอาหารจีน ขนมเข่งสามารถพบได้ในซุปเปอร์มาร์เก็ตของชาวเอเชีย และในร้านขายอาหารเพื่อสุขภาพ ถึงแม้ขนมเข่งจะรับประทานได้ตลอดปี แต่จะเป็นที่นิยมที่สุดในช่วงตรุษจีน คนนิยมรับประทานขนมเข่งในช่วงนี้ เพราะคำว่า เหนียนเกา ออกเสียงเหมือนคำว่า ปีที่สูงขึ้น ในภาษาจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและขนมเข่ง · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวไก่หม้อดิน

ข้าวไก่หม้อดิน (Claypot chicken rice; ภาษาจีน: 砂煲鸡饭, 瓦煲鸡饭 or 煲仔鸡饭) เป็นอาหารเย็นที่เป็นที่นิยมทางภาคใต้ของจีน มาเลเซียและสิงคโปร์ กินกับกุนเชียงและผัก ข้าวจะหุงในหม้อดินแล้วใส่ไก่และกุนเชียงลงไปทีหลัง บางที่จะใส่ซีอิ๊วดำและปลาแห้ง การทำแบบดั้งเดิมจะหุงข้าวบนเตาถ่าน หมวดหมู่:อาหารจีน หมวดหมู่:อาหารมาเลเซีย หมวดหมู่:อาหารสิงคโปร์ หมวดหมู่:อาหารประเภทข้าว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและข้าวไก่หม้อดิน · ดูเพิ่มเติม »

ข้าคือวีเซิล

้าคือวีเซิล (I Am Weasel) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกา ผลิตโดย David Feiss สังกัด Cartoon Network Studios ข้าคือวีเซิล เป็นการ์ตูนย่อยของง้องแง้งกับเงอะงะโดยจะฉาย 1 ตอนย่อยในทุกๆตอนของง้องแง้งกับเงอะงะ จากนั้นก็ได้โอกาสมาแยกเป็นการ์ตูนของตัวเอง โดยใช้เพลงเปิดที่ดัดแปลงมาจากเพลงคลาสสิก Pop on the Weasel เรื่องราวหลักๆของข้าคือวีเซิล จะเป็นเรื่องราวของ วีเซิล และ ไอ.อาร.บาบูน ซึ่งทั้งสองโดยส่วนมากจะเป็นเพื่อนกัน มักจะเผชิญหน้าเหตุการณ์ต่างๆ ในแต่ละตอน โดยส่วนมาวีเซิลมักจะได้รับบทที่สูงกว่าไอ.อาร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและข้าคือวีเซิล · ดูเพิ่มเติม »

ณปภัช วัฒนากมลวุฒิ

ณปภัช วัฒนากมลวุฒิ (เกิดวันที่ สังกัดค่ายกามิกาเซ่ ในเครือบริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) จบการศึกษาอนุบาลจาก โรงเรียนยุววิทย์ จบการศึกษาประถมศึกษาจาก โรงเรียนราชินีบน จบการศึกษามัธยมศึกษาจาก โรงเรียนโยธินบูรณะ โครงการภาคภาษาอังกฤษ แผนกสาย อังกฤษ-จีน ปัจจุบันสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เมื่อ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ใช้ระยะเวลาเรียน 3 ปี 6 เดือน เคยมีผลงานทางด้านรายการโทรทัศน์ โดยเป็นพิธีกรรายการ "Teenclub" ทาง ททบ.5 และมีผลงานภาพยนตร์เรื่องแรก คือเรื่อง "Super แหบ-แสบ-สะบัด" โดยแสดงคู่กับฟิล์ม รัฐภูมิ โตคงทรัพย์ และเคยเป็นดารารับเชิญซิตคอมเรื่องบริษัทสร้างสุข ตอน เหนือดวง รับบทเป็นหญิงสาวที่คลั่งเรื่องโชคชะตาชื่อ เนย และในละครสั้น “หนังดังวันหยุด” ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 กับการร่วมงานครั้งแรกกับ ศุภวัฒน์ ชูสุวรรณ ซึ่งเป็นนักร้องนำวง เล้าโลม และผู้กำกับอย่าง อี๊ด โปงลางสะออน ต่อมาได้เป็นพิธีกรรายการ Stop Me Babe คู่กับแนนนี่(เกิร์ลลี่ เบอร์รี่) ทางช่อง “ย๊าค ทีวี” ฟรี ทีวี อันเซ็นเซอร์ สำหรับคนรุ่นใหม่ 24 ชั่วโมง รายการแรกที่สองสาวจะพาเที่ยวในแบบ เซ็กซี่ เปรี้ยว ซน ซ่าส์ แสนซน ทุกวันอาทิตย์ 22.00 น. เป็นต้นไป ต่อมามดได้อยู่โปรเจกต์พิเศษอย่าง "เซเว่นเดส์ 2" ซึ่งประกอบไปด้วย มด Sunday, จินนี่ Monday, เนย Tuesday, โบว์ Wednesday, แบม Thursday, ป๊อปปี้ Friday และ บูม Saturday โดยมดเป็นสาววันอาทิตย์ที่มี คาแร๊กเตอร์เป็น สาวที่มีความน่ารัก, ความสดใส, ชอบเต้น โดยเปิดตัวเพลงแรกของโปรเจกต์อย่างเพลง "Angry Boo" ซึ่งมีหนุ่มโทโมะจากวง เค-โอติก มาร่วมแสดงในเอ็มวีด้วย และผลงานในละครเรื่องแรกอย่าง “น้องเมีย” ซึ่งมดก็ได้รับเล่นในเรื่องนี้ด้วย ออกอากาศทางช่อง 8 อินฟินิตี้ โดยมีผู้กำกับคือเมย์ เฟื่องอารมย์ โดยเรื่องนี้ถือเป็นละครเรื่องแรกที่มดได้เข้าไปร่วมแสดงละครแบบเต็มๆทั้งเรื่องโดย มดแสดงเป็นตัวร้ายชื่อว่า"มะเฟือง" ซึ่งเมื่อออกมากระแสตอบรับดีมาก ทำให้ มด ลุยงานละคร เป็นเรื่องที่ 2 คือ "ข้าวนอกนา" แสดงเป็น "อีดำ" ซึ่งออกอากาศเมื่อต้นเดือนเมษายน พ.ศ. 2556 ปัจจุบันเป็นนักแสดงของ ช่อง 8 และปัจจุบันไปเป็นแอร์โฮสเต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและณปภัช วัฒนากมลวุฒิ · ดูเพิ่มเติม »

ดรากอนฟอร์ซ: โซลองอุลตร้าแมน

ราก้อนฟอร์ซ: โซลอง, อุลตร้าแมน เป็นภาพยนตร์แอนิเมชั่นแอกชั่นจีน ที่สร้างโดย BlueArc Animation ร่วมมือกับ Le Vision Pictures,TIGA Entertainment และUM Corporation เป็นภาพยนตร์ที่มีเค้าโครงจากมาจากซีรีส์แอนิเมชั่น 3 มิติในปี 2012 ดราก้อนฟอร์ซสร้างโดย Kazuya Hatazawa และเป็นภาคต่อจากภาพยนตร์ชื่อเรื่องเดียวกันในปี 2013 ภาพยนตร์เรื่องนี้กำกับ และอำนวยการสร้างโดย Wang Wei ภายใต้แฝงของ ทอมมี หวัง ภาพยนตร์เรื่องนี้ฉายรอบปฐมทัศน์ในจีนเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 2017.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและดรากอนฟอร์ซ: โซลองอุลตร้าแมน · ดูเพิ่มเติม »

ดราก้อน ลี

ราก้อน ลี (드래건 리; Dragon Lee) หรือที่ชาวเกาหลีใต้รู้จักกันในชื่อ กอรยง (거룡) เกิดวันที่ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและดราก้อน ลี · ดูเพิ่มเติม »

ดาวซานถี่ อุบัติการณ์สงครามล้างโลก

วซานถี่ อุบัติการณ์สงครามล้างโลก (The Three-Body Problem) เป็นนวนิยายแนวบันเทิงคดีวิทยาศาสตร์ เขียนโดยนักเขียนชาวจีนหลิวฉือซิน เป็นภาคแรกของไตรภาคชุด Remembrance of Earth's Past ชาวจีนส่วนใหญ่นิยมเรียกชื่อนวนิยายทั้งชุดนี้ตามชื่อของนิยายภาคแรก ชื่อภาษาจีนสื่อถึงปัญหาสามวัตถุในวิชากลศาสตร์วงโคจร แต่เดิมนั้นเรื่องนี้ตีพิมพ์เป็นตอนๆ ในนิตยสาร Science Fiction World ฉบับภาษาจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและดาวซานถี่ อุบัติการณ์สงครามล้างโลก · ดูเพิ่มเติม »

ดาวนักษัตรแบบจีน

วนักษัตรแบบจีน หรือเอ้อร์สือปาสิ้ว (จีน: 二十八宿, พินอิน:Èr Shí Bā Xiù) เป็นกลุ่มดาวบนท้องฟ้าลักษณะคล้ายกับดาวนักขัตฤกษ์ในโหราศาสตร์ภารตะและไทย มีทั้งหมด 28 กลุ่ม ดาวทั้ง 28 กลุ่มนี้ ถูกจัดกลุ่มให้ครองในแต่ละทิศทางทั้งสี่เป็นจำนวนเท่ากัน แต่ละทิศจะมีเทพารักษ์ทั้งสี่คอยรักษา ต่างจากในโหราศาสตร์ไทยที่ให้ดาวเคราะห์เข้าประจำเป็นเทวดารักษาฤกษ์ต่าง ๆ เนื่องจากในโหราศาสตร์ภาระตะมีดาวนักษัตรเพียง 27 กลุ่มเท่านั้น จึงทำให้มีการแทรกกลุ่มดาวชื่อ "อภิชิต" ระหว่างอุตราษาฒและศรวณะเพื่อให้ครบตามจำนวน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและดาวนักษัตรแบบจีน · ดูเพิ่มเติม »

ดาเบา

นครดาเบา (เซบัวโน: Dakbayan sa Dabaw; Lungsod ng Dabaw) เป็นเมืองในมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ศูนย์กลางของเมืองเรียกว่าเมโทรดาเบา, ดาเบาเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดอันดับสอง และเขตเมืองของดาเบาหรือเมโทรดาเบา เป็นเขตเมืองที่ประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสาม ของประเทศ เมืองที่ทำหน้าที่เป็นค้าการพาณิชย์และอุตสาหกรรมเป็นศูนย์กลางในมินดาเนาและศูนย์ภูมิภาคสำหรับเขตดาเบา เมืองดาเบาเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศฟิลิปปินส์ดูจากขนาดของพื้นที.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและดาเบา · ดูเพิ่มเติม »

ดิวโอลิงโก

วโอลิงโก (Duolingo) เป็นโปรแกรมเรียนภาษาฟรีที่ใช้ปัญหาเป็นการหาคำตอบเป็นหลัก การให้บริการของโปรแกรมนี้ถูกออกแบบมาให้ผู้ใช้ทำแบบฝึกหัดในแต่ละบทสำเร็จ ในขณะเดียวกันก็ช่วยแปลเว็บไซต์และเอกสารอื่น ๆ ไปด้วย ในวันที่ 13 ธันวาคม 2557 ดิวโอลิงโกได้ให้บริการการเรียนภาษาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาษาสเปน, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาเยอรมัน, ภาษาโปรตุเกส, ภาษาอิตาลี, ภาษาดัตช์, ภาษาไอริช, ภาษาเดนมาร์ก และภาษาสวีเดนสำหรับผู้ใช้ที่พูดภาษาอังกฤษ และภาษาอังกฤษสำหรับผู้ใช้ภาษาสเปน, ฝรั่งเศส, เยอรมัน, โปรตุเกส, อิตาลี, กรีก, ดัตช์, รัสเซีย, โปแลนด์, ตุรกี, ฮังการี, โรมาเนีย, ญี่ปุ่น, ฮินดี, อินโดนีเซีย, เกาหลี และเช็ก และยังมีคู่ภาษาอื่น ๆ อีกมากมาย สามารถใช้ได้บนเว็บ, ไอโอเอส, แอนดรอยด์ และวินโดวส์โฟน 8.1 ดิวโอลิงโกได้เริ่มต้นทดสอบระบบครั้งแรกเฉพาะเจ้าหน้าที่ในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2555 และมียอดผู้ใช้ที่รอคอยมากกว่า 300,000 คน ในวันที่ 19 มิถุนายน 2556 ดิวโอลิงโกได้เปิดตัวสู่สาธารณะเป็นครั้งแรก ในปี 2557 แอปเปิลได้เลือกให้ดิวโอลิงโกเป็นแอปพลิเคชันประจำปี เป็นครั้งแรกที่รางวัลนี้ได้ถูกมอบแก่แอปพลิเคชันทางการศึกษา ดิวโอลิงโกชนะการประกวดแอปพลิเคชันใหม่ที่ดีที่สุดในงาน 2014 Crunchies, และเป็นแอปพลิเคชันทางการศึกษาที่มียอดดาวน์โหลดสูงที่สุดในกูเกิลเพลย์ ปี 2556 และ 2557 ในเดือนมกราคม 2557 ดิวโอลิงโกมียอดผู้ใช้งานรวม 60 ล้านคน ซึ่งมี 20 ล้านคนที่ยังคงใช้งานอยู.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและดิวโอลิงโก · ดูเพิ่มเติม »

ดิสคัส!

ัส! (Discuz!) เป็นกระดานสนทนาบนอินเทอร์เน็ต เขียนจากภาษา PHP พัฒนาโดย บริษัท Comsenz Technology จำกัด.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและดิสคัส! · ดูเพิ่มเติม »

ดิสนีย์จูเนียร์เอเชีย

นีย์จูเนียร์เอเชีย (Disney Junior Asia) เป็นช่องสถานีโทรทัศน์ ที่ออกฉายในเอเชีย และเป็นช่องสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมที่ออกอากาศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีต้นแบบมาจากช่องดิสนีย์จูเนียร์ ของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและดิสนีย์จูเนียร์เอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ดิสนีย์แชนแนลเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

นีย์แชนแนลเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Disney Channel Southeast Asia) เป็นช่องสถานีโทรทัศน์ ที่ออกฉายในประเทศไทย จีน เกาหลีใต้ ฮ่องกง เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ บรูไน กัมพูชา และปาเลา โดยมีต้นแบบมาจากช่องดิสนีย์แชนแนล ของสหรัฐอเมริกา ในประเทศไทย ช่องดิสนีย์แชนแนลเอเชีย ออกฉายทางทรูวิชั่นส์ ช่อง 447/91.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและดิสนีย์แชนแนลเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 14

อะเมซิ่ง เรซ 14 (The Amazing Race 14) เป็นฤดูกาลที่ 14 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 เวลา 20 นาฬิกา ซึ่งยังคงเป็นคืนวันอาทิตย์ เช่นเดิม และเริ่มออกอากาศในประเทศไทยทางช่อง เอเอ็กซ์เอ็น ทาง ทรูวิชั่นส์ ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 เวลา 21 นาฬิก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและดิอะเมซิ่งเรซ 14 · ดูเพิ่มเติม »

ดินสอพองในปล้องไม้

นสอพองในปล้องไม้ (Tabasheer (ภาษาฮินดูสตานี: तबाशीर หรือ طباشیر) หรือ Banslochan (बंसलोचन, بنسلوچن)) บางครั้งสะกดเป็น Tabachir หรือTabashir) เป็นตัวยาที่ใช้ในยาแผนโบราณ ลักษณะเป็นแผ่นหรือผงสีขาว องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นซิลิกอนออกไซด์ พบในปล้องไม้ไผ่ เช่น ไผ่ป่า (Bambusa arundinacea) ภาษาจีนเรียกเทียนจุ๊หวาง ใช้เป็นยาแก้ชักในเด็ก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและดินสอพองในปล้องไม้ · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงปารีส

วามตกลงปารีส (Paris Agreement) เป็นความตกลงตามกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ยูเอ็นเอฟซีซีซี) เพื่อกำหนดมาตรการลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ตั้งแต..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและความตกลงปารีส · ดูเพิ่มเติม »

คอมมานด์ & คองเคอร์

อมมานด์ & คอนเคอร์ (Command & Conquer หรือ C&C) คือชื่อของเกมคอมพิวเตอร์แนวเกมวางแผนการรบเรียลไทม์ และ เฟิร์ตเพอร์เซินชูตเตอร์ พัฒนาครั้งแรกโดยบริษัท เวสท์วูด สตูดิโอ ระหว่างปี 1985 จนถึง 2003 ร่วมพัฒนากับบริษัท อิเลคโทรนิค อาร์ต โดยเกมแรกได้วางแผงทั่วโลกใน วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2538 ใช้ ชื่อว่า Command & Conquer โดยได้รับความนิยมทั่วโลก ตลาดที่ขายดีที่สุดได้แก่ อเมริกาเหนือ, ยุโรป และ ออสเตรเลีย และได้มีการแปลเป็นภาษาอื่นๆ ได้แก่ ภาษาเยอรมัน, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาสเปน, ภาษาเกาหลี และ ภาษาจีน พัฒนาลงบนเครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) เล่นผ่าน ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และยังได้พอร์ตลงเครื่อง คอนโซล และเครื่อง แมคอินทอช อีกด้วย เกม คอมมานด์ & คอนเคอร์ 3: ไทบีเรียมวอร์ส และ คอมมานด์ & คอนเคอร์ 3: เคนแรธ เป็นเกมที่พอร์ทลงเครื่องคอนโซล ซึ่งพอร์ตลงในเครื่อง เอกซ์บอกซ์ 360 และเกม คอมมานด์ & คอนเคอร์: เรด-อเลิร์ท 3 ก็ได้มีการพัฒนาลงเครื่อง พีซี เอกซ์บอกซ์ 360 และ เพลย์สเตชัน 3 ด้วยเช่นกัน ในปี 1999 บริษัท อิเลคโทรนิค อาร์ต ได้ซื้อบริษัท เวสท์วูด สตูดิโอ และต่อมาได้ปิดตัวลงในปี 2002 และรวมเข้ากับ อีเอ ลอสแอนเจลิส ซึ่งมีพนักงานเก่าของเวสท์วูดทำงานอยู่ แต่บางคนก็แยกตัวไปทำงานสตูดิโอใหม่ คือ Petroglyph Games ในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2003 ซีรีส์เกม คอมมานด์ & คองเคอร์ มียอดจำหน่ายทั่วโลกรวมแล้วมากกว่า 21 ล้านชุด และในปี 2008 เกมในซีรีส์นี้รวมแล้วมีทั้งหมด 8 ภาคหลัก และภาคเสริมอีกมากมาย โดย เกมที่วางจำหน่ายล่าสุดคือเกม คอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ท 3 และประกาศล่าสุดของเกมภาคสุดท้ายของซีรีส์ ไทบีเรียน ในชื่อว่า "คอมมานด์ & คองเคอร์ 4: ไทบีเรียน ทไวไลท์".

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและคอมมานด์ & คองเคอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คอสมิกเกิลส์

อสมิกเกิลส์ (เกาหลี: 우주소녀(อูจูโซนยอ), จีน: 宇宙少女, อังกฤษ: Cosmic Girls ชื่อย่อ WJSN) เป็นวงดนตรีหญิงล้วนสัญชาติเกาหลีใต้และจีน สังกัด Starship Entertainment และ สังกัด Yuehua Entertainment เปิดตัวเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2016 เพลงเปิดตัวคือ "MOMOMO" ปัจจุบันมีสมาชิก 13 คน โดยเริ่มจากการโปรโหมดสาวๆทั้ง 12 คน คือ ซอลอา ซอนอี ซูบิน เอ็กซี ดาวอน โบนา ลูดา อึนซอ ซองโซ มิกิ ยอรึม ดายอง และได้เพิ่มยูยอนจอง เป็นสมาชิกคนที่ 13 ชื่อแฟนคลับอย่างเป็นทางการ UJUNG (우정) แปลไทย: มิตร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและคอสมิกเกิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

คันจิ

ันจิ เป็นอักษรจีนที่ใช้ในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบัน จัดอยู่ในประเภทอักษรคำ (Logograms) ใช้ร่วมกับตัวอักษร อีก 4 ประเภท ได้แก่ ฮิรางานะ (ひらがな, 平仮名 Hiragana) คะตาคานะ (カタカナ, 片仮名 Katakana) โรมะจิ (ローマ字 Rōmaji) และตัวเลขอารบิก คำว่า "คันจิ" หากอ่านตามเสียงภาษาจีนกลางจะอ่านว่า "ฮั่นจื้อ" มีความหมายว่า ตัวอักษรของชาวฮั่น อันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศจีน คำว่าภาษาจีนในภาษาจีนเอง ก็เรียกว่า ภาษาฮั่น (ภาษาจีนกลาง: 漢語, hànyǔ) เช่นกัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและคันจิ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ทไรเดอร์

KartRider หรือชื่อเต็ม CrazyRacing KartRider(ภาษาเกาหลี 크레이지레이싱 카트라이더)เป็นเกมออนไลน์ของประเทศเกาหลีใต้ เป็นเกมประเภท Multiplayer racing game ถูกพัฒนาโดยบริษัท Nexon และ Lodumani และในอดีต Mplay ก็พัฒนาเช่นกัน เกมKartRider เปิดตัวในไทยในช่วงทดสอบเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2551 เวลา 12.30 น. และ OpenBeta วันที่ 16 ตุลาคม 2551 เวลา 10.00 และยุติการให้บริการในไทยวันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 ซึ่งเกมนี้เป็นเกมที่พัฒนาต่อจาก Crazy Arcade (BnB) และเป็นภาคแรกในตระกูล CrazyRacing เกมนี้ถูกเริ่มพัฒนาในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและคาร์ทไรเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คาเรน ม็อก

รน ม็อก (Karen Mok) หรือ ม่อ เหวิน เหว่ย (จีน: 莫文蔚, พินอิน: Mò Wénwèi) เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน ค.ศ. 1970 เป็น ดารานักร้องที่ประสบความสำเร็จตั้งแต่ปี 1993 โดยเริ่มจากเป็นนักแสดง คาเรนเริ่มมีผลงานเพลงและได้รับรางวัลศิลปินหญิงยอดเยี่ยมจากรางวัลโกลเด้น เมโลดี้ ในไต้หวัน (เทียบเท่าแกรมมี่อวอร์ดของวงการเพลงจีน)รางวัลจาก MTV China, CCTV-MTV Music Honors ในปี 2000 และ 2003 และรางวัล SMG-MTV Style Gala 2004 ส่วนในปี 2005 เธอเป็นดาราเอเชียคนแรกที่ได้รับบทเด่นในละครบรอดเวย์เรื่อง Rent ภาพยนตร์ที่เธอแสดง ได้แก่ เส้าหลิน ซอคเกอร์, The God of Cookery และ So Close และภาพยนตร์เรื่อง Fallen Angels ของหว่อง คาไว ทำให้เธอได้รับรางวัลดาราสมทบหญิงยอดเยี่ยม จากเวที Hong Kong Film Award และ Golden Bauhinia Awards รวมทั้งผลงานเรื่อง The Coffin ด้วย นอกจากนี้เธอยังได้เป็นพิธีกรในงานเอ็มทีวี เอเชีย อวอร์ดส 2008 ที่มาเลเซียด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและคาเรน ม็อก · ดูเพิ่มเติม »

คำยืม

ำยืม หมายถึงคำที่ยืมมาจากภาษาของผู้ให้ และผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของภาษาของผู้รับ การยืมนี้ไม่เหมือนความหมายทั่วไปเนื่องจากไม่มีการคืนกลับสู่ภาษาของผู้ให้ แต่เปรียบได้กับ "การยืมความคิด" มาใช้ คำยืมอาจไม่ได้เป็นคำเดียวเสมอไป อาจเป็นกลุ่มคำก็ได้อย่างเช่น déjà vu ซึ่งภาษาอังกฤษยืมมาจากภาษาฝรั่งเศส จะใช้ควบคู่กันไปเสมือนคำเดียว คำยืมอาจมีการเขียน การอ่าน และความหมาย ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมก็ได้ คำในภาษาของผู้ให้โดยทั่วไปเข้าสู่ภาษาของผู้รับในลักษณะศัพท์เฉพาะทางเนื่องจากการเปิดรับวัฒนธรรมต่างชาติ จุดอ้างอิงโดยเฉพาะอาจเป็นวัฒนธรรมต่างชาตินั้นเองหรือขอบข่ายของกิจกรรมของวัฒนธรรมต่างชาติที่ต้องการครอบงำ วัฒนธรรมต่างชาติซึมซับเข้าสู่วัฒนธรรมท้องถิ่นผ่านทางการเผยแผ่ศาสนา ปรัชญา การค้าขาย ศิลปะ วิทยาการ และการอพยพจากคนต่างถิ่น รวมไปถึงความสัมพันธ์ทางการทูต ภาษาไทยมีคำยืมภาษาต่างประเทศหลายภาษาอาทิ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร กลุ่มภาษาจีน (ภาษาแต้จิ๋ว, ภาษาฮกเกี้ยน และ ภาษาจีนกลาง) ภาษามอญ ภาษามลายู ภาษาโปรตุเกส ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ฯลฯ แม้แต่ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงก็ยังปรากฏคำยืมภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร เข้ามาปะปน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและคำยืม · ดูเพิ่มเติม »

คำปฏิญาณโอลิมปิก

การกล่าวคำปฏิญาณตนในพิธีเปิดกีฬาโอลิมปิก เป็นการปฏิญาณตนในพิธีเปิดโอลิมปิกโดยนักกีฬา, ผู้ตัดสิน, เจ้าหน้าที่จำนวนหนึ่งคน พร้อมกับผู้ฝึกสอนอีกจำนวนหนึ่งคนยืนอยู่ข้างตัว ผู้กล่าวคำปฏิญาณตนจะเป็นคนจากประเทศเจ้าภาพในปีนั้น ผู้กล่าวคำปฏิญาณตนจะปฏิญาณตนในนามของนักกีฬา, เจ้าหน้าที่ หรือผู้ฝึกสอนในพิธีเปิดโอลิมปิกทั้งหมดโดยจะมีผู้ช่วยถือธงโอลิมปิกอยู่ตรงหัวมุมเสมอ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและคำปฏิญาณโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

คุมอง

มอง เป็นศูนย์กวดวิชาที่สอนทางด้านวิชาคณิตศาสตร์และภาษาที่มีเครือข่ายมากที่สุดในโลก โดยในปี พ.ศ. 2552 มีนักเรียนคุมองทั่วโลกกว่า 4 ล้านคนและมีศูนย์คุมองอยู่ประมาณ 26,000 ศูนย์ใน 46 ประเท.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและคุมอง · ดูเพิ่มเติม »

คู่ใหญ่สั่งมาฟัด

ู่ใหญ่สั่งมาฟัด เป็นภาพยนตร์แอคชั่นที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและคู่ใหญ่สั่งมาฟัด · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

ณะศิลปศาสตร์ (Faculty of Liberal Arts) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คนค้นผี

นค้นผี (Rule #1, Rule No.; จีน: 第一誡; พินอิน: Dì Yī Jiè) ภาพยนตร์แนวสยองขวัญเหนือธรรมชาติสัญชาติฮ่องกง ออกฉายในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและคนค้นผี · ดูเพิ่มเติม »

ง่อก๊ก

ง่อก๊ก หรือ ตั้งอู๋ (東吳) เป็นหนึ่งในอาณาจักรสามก๊ก ปกครองโดยพระเจ้าซุนกวน ในระหว่างปี พ.ศ. 765 - พ.ศ. 823 (ปี ค.ศ. 222-280) ง่อก๊กครอบครองพื้นที่ทางด้านตะวันออกของประเทศจีน ทางบริเวณตอนใต้ของแม่น้ำแยงซี ซึ่งคือพื้นที่บริเวณรอบ ๆ เมืองหนานจิงในปัจจุบัน ง่อก๊กปกครองอาณาจักรโดยจักรพรรดิสืบต่อกันมาทั้งหมด 4 พระองค์ ได้แก่ราชวงศ์ซุน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและง่อก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต

แผนที่แสดงการแพร่กระจายของภาษากลุ่มจีน-ทิเบต (สีแดง) ตระกูลภาษาจีน – ทิเบต เป็นตระกูลของภาษาที่รวมภาษาจีนและตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า มีสมาชิกทั้งสิ้น 250 ภาษา ส่วนใหญ่เป็นภาษาในเอเชียตะวันออกมีจำนวนผู้พูดเป็นอันดับสองของโลกรองจากภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียน ภาษาในตระกูลนี้มีลักษณะร่วมกันคือมีเสียงวรรณยุกต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและตระกูลภาษาจีน-ทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาไท-กะได

ตระกูลภาษาไท-กะได (Tai–Kadai languages) หรือรู้จักกันในนาม กะได (Kadai), ขร้าไท (Kradai) หรือ ขร้า-ไท (Kra–Dai) เป็นตระกูลภาษาของภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และตอนใต้ของประเทศจีน ในช่วงแรก ตระกูลภาษาไท-กะไดเคยถูกกำหนดให้เป็นอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต แต่ปัจจุบันได้แยกมาเป็นอีกตระกูลภาษาหนึ่ง และยังมีผู้เห็นว่าตระกูลภาษาไท-กะไดนี้มีความสัมพันธ์กับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน โดยอยู่ในกลุ่มภาษาที่เรียกว่า "ออสโตร-ไท" หรือจัดเป็นตระกูลภาษาใหญ่ออสตริก รอเจอร์ เบลนช์ (Roger Blench) ได้กล่าวว่า ถ้าข้อจำกัดของความเชื่อมต่อของตระกูลภาษาออสโตร-ไทมีความสำคัญมาก แสดงว่าความสัมพันธ์ทั้งสองตระกูลอาจไม่ใช่ภาษาที่เป็นพี่น้องกัน กลุ่มภาษากะไดอาจเป็นสาขาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนที่อพยพจากฟิลิปปินส์ไปสู่เกาะไหหลำ แล้วแพร่สู่จีนแผ่นดินใหญ่ ในขณะที่สาขาไดของภาษากลุ่มกะไดมีการปรับโครงสร้างใหม่โดยได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาม้ง-เมี่ยนและภาษาจีน โลร็อง ซาการ์ (Laurent Sagart) ได้เสนอว่า ภาษาไท-กะไดดั้งเดิมได้เกิดขึ้นในยุคต้นของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนที่อาจจะอพยพกลับจากทางตะวันตกเฉียงเหนือของไต้หวันไปยังชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หรือจากจีนไปไต้หวันและเกิดการพัฒนาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนบนเกาะนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนและไท-กะไดอาจจะอธิบายได้จากคำศัพท์ที่ใกล้เคียงกัน คำยืมในยุคก่อนประวัติศาสตร์และอื่น ๆ ที่ยังไม่รู้ นอกจากนั้นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนอาจจะมีความสัมพันธ์กับตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ซึ่งมีจุดเริ่มต้นในบริเวณชายฝั่งของจีนภาคเหนือและภาคตะวันออก ความหลากหลายของตระกูลภาษาไท-กะไดในทางตอนใต้ของประเทศจีนบ่งบอกถึงมีความสัมพันธ์กับถิ่นกำเนิดของภาษา ผู้พูดภาษาสาขาไทอพยพจากตอนใต้ของจีนลงทางใต้เข้าสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แต่ครั้งโบราณ เข้าสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยและลาวบริเวณนี้เป็นบริเวณที่พบผู้พูดภาษาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ชื่อ "ไท-กะได" มาจากการจัดแบ่งตระกูลภาษาออกเป็นสองสาขาคือ "ไท" และ "กะได" ซึ่งเลิกใช้แล้ว เนื่องจากกะไดจะเป็นกลุ่มภาษาที่เป็นไปได้ก็ต่อเมื่อมีกลุ่มภาษาไทรวมอยู่ด้วย ในบางบริบทคำว่ากะไดจึงใช้เรียกตระกูลภาษาไท-กะไดทั้งตระกูล แต่บางบริบทก็จำกัดการใช้คำนี้ให้แคบลง โดยหมายถึงกลุ่มภาษาขร้าที่เป็นส่วนหนึ่งของตระกูลภาษานี้.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและตระกูลภาษาไท-กะได · ดูเพิ่มเติม »

ตราประจำเขตบริหารพิเศษฮ่องกง

ตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ตราประจำเขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน เริ่มใช้มาตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 หลังการส่งมอบอำนาจอธิปไตยเหนือเกาะฮ่องกง จากสหราชอาณาจักรกลับคืนสู่สาธารณรัฐประชาชนจีน ลักษณะของตราเป็นตราวงกลมพื้นสีแดง ภายในเป็นรูปดอกชงโคสีขาว มีดาวแดงห้าแฉกในใจกลางแต่ละกลีบ อย่างเดียวกับที่ปรากฏในธงประจำเขตบริหารพิเศษฮ่องกง ซ้อนอยู่บนวงกลมพื้นสีขาวขอบสีแดง พื้นสีขาวรอบวงกลมแดงนั้นมีอักษรบอกนามเขตการปกครองเป็นอักษรจีนตัวเต็มว่า "中華人民共和國香港特別行政區" และชื่ออย่างย่อในภาษาอังกฤษว่า "Hong Kong".

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและตราประจำเขตบริหารพิเศษฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของมาเก๊า

ตราแผ่นดินของมาเก๊า เริ่มใช้..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและตราแผ่นดินของมาเก๊า · ดูเพิ่มเติม »

ตะพาบยักษ์แยงซีเกียง

ตะพาบยักษ์แยงซีเกียง หรือ ตะพาบเซี่ยงไฮ้ (จีน: 斑鳖, พินอิน: Bān Bīe; ตรึงเวียด: Rùa mai mềm Thượng Hải) ตะพาบขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งที่ใกล้จะสูญพันธุ์มาก ๆ แล้วชนิดหนึ่งของโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rafetus swinhoei (มีชื่อวิทยาศาสตร์อีกชื่อหนึ่งเป็นชื่อพ้อง โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวเวียดนามตั้งให้ว่า Rafetus leloii เพื่อเป็นเกียรติแด่จักรพรรดิเลเลย) พบในแม่น้ำแยงซีเกียง ในประเทศจีน และมณฑลยูนนาน นอกจากนี้ยังพบได้ที่แม่น้ำแดง ในประเทศเวียดนามด้วย เป็นตะพาบที่มีขนาดใหญ่มาก และเป็นหนึ่งในเต่าน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีส่วนหัว ที่มีจมูกและปากคล้ายหมู ขนาดโตเต็มที่สามารถมีน้ำหนักมากถึง 136 กิโลกรัม ถึง 200 กิโลกรัม ยาวถึง 0.9144 เมตร และมีชีวิตอยู่ได้นานกว่า 100 ปี สถานะในธรรมชาติใกล้สูญพันธุ์มาก ๆ แล้ว ในสถานที่เลี้ยงปัจจุบันมีเพียง 5 ตัวใน 2 ที่เท่านั้น คือที่สวนสัตว์ในประเทศจีน 4 ตัว และที่ทะเลสาบคืนดาบที่เมืองฮานอย 1 ตัว ปัจจุบันตะพาบน้ำแยงซีเกียงในทะเลสาบคืนดาบยังมีชีวิตอยู่ แต่น้ำในทะเลสาบกลับมีสภาพที่ย่ำแย่ ทั้งยังมีการปล่อยสิ่งปฏิกูลรวมไปถึงเต่าชนิดอื่นเข้าไปทำลายระบบนิเวศของทะเลสาบ ทำให้ตะพาบเกิดบาดแผลที่หัวและขาของมัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและตะพาบยักษ์แยงซีเกียง · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเลขจีน

ลขจีน คืออักษรจีนที่ใช้สำหรับเขียนแทนจำนวนในภาษาจีน ในทุกวันนี้ผู้พูดภาษาจีนใช้ระบบเลขสามแบบ คือ เลขอารบิกสมัยใหม่ และเลขจีนโบราณอีกสองระบบ การเขียนและการอ่านเลขจีนเขียนคล้ายจำนวนในภาษาไทย คือมีเลขโดดและค่าประจำหลัก แต่ก็มีหลักเกณฑ์บางอย่างที่ต่างออกไป.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและตัวเลขจีน · ดูเพิ่มเติม »

ติมอร์เชื้อสายจีน

วติมอร์เชื้อสายจีน เป็นชนกลุ่มน้อยที่มีความสำคัญมากกลุ่มหนึ่งในประเทศติมอร์-เลสเตทางด้านเศรษฐกิจ รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างติมอร์กับจีนที่มีมาอย่างยาวนาน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและติมอร์เชื้อสายจีน · ดูเพิ่มเติม »

ต้นชา

''Camellia sinensis'' ต้นชาเป็นพืชที่นำใบและยอดอ่อนไปผลิตเป็นชาจีน อยู่ในสกุล Camellia (ภาษาจีน: 茶花; พินอิน: Cháhuā, ตรงตัว: "ดอกชา") และอยู่ในวงศ์ Theaceae ชาขาว ชาเขียว ชาอูหลง และชาดำถูกเก็บเกี่ยวจากพืชสปีชีส์นี้ทั้งหมด แต่กระบวนการผลิตต่างกัน ทำให้มีระดับของปฏิกิริยาออกซิเดชันต่างกัน กูกิชะ (Kukicha)ทำมาจากต้นชาชนิดเดียวกันแต่ใช้กิ่งและก้านแทนใบ มีสองสายพันธุ์คือ ชาจีน (Camellia sinensis var. sinensis) และชาอัสสัม (Camellia sinensis var. assamica).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและต้นชา · ดูเพิ่มเติม »

ซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์

การ์ดแค็ปเตอร์ซากุระ หรือที่รู้จักกันในชื่อภาษาอังกฤษว่า Cardcaptor Sakura โดยมักเขียนในรูปอักษรย่อว่า CCS เป็นเรื่องราวของเด็กหญิงที่มีพลังพิเศษ ผลงานของกลุ่มนักเขียน แคลมป์ การ์ตูนเรื่องนี้จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ โคดันฉะ ความยาวทั้งหมด 12 เล่มจบ และยังมีมังงะภาคต่อใช้ชื่อว่า "ภาคเคลียร์การ์ด" ทางด้านการ์ตูนอะนิเมะ (ออกอากาศเมื่อปี ค.ศ. 1998 - ค.ศ. 2000) มีพื้นเรื่องมาจากหนังสือการ์ตูนประกอบไปด้วยตอนทั้งหมด 70 ตอน ตอนละครึ่งชั่วโมง และกับอีก 2 ตอนพิเศษ แต่เมื่อปี 2017 ได้ทำอะนิเมะในรูปแบบ OVA ที่เป็นตอนจบตามมังงะ และหลังจากนี้ในปี 2018 ได้มีการทำอะนิเมะภาคต่อใช้ชื่อว่า "ภาคเคลียร์การ์ด" เรื่องราวของเรื่องเริ่มต้นจากความฝันที่จะบอกถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อจากนี้ คล้ายกับเรื่อง เมจิกไนท์ เรย์เอิร์ธ ผลงานก่อนหน้าของกลุ่มแคลมป์ ถึงแม้เนื้อหาของ การ์ดแค็ปเตอร์ซากุระ จะเปลี่ยนไป แต่ก็ยังจัดอยู่ในการ์ตูนประเภทเดียวกัน ทางด้านตัวละครของเรื่องแล้ว การ์ดแค็ปเตอร์ซากุระ จัดได้ว่าได้รับความนิยมจากผู้ที่ชื่นชอบบนอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกลุ่มประเภทของ ยาโออิ, โชโจะ, ยูริ,โลลิค่อน และ โมเอะ ตัวละครส่วนใหญ่ในเรื่อง การ์ดแค็ปเตอร์ซากุระ จะไปปรากฏอยู่ในหนังสือการ์ตูนอีกเรื่องหนึ่งของทีมแคลมป์ นั่นคือ สึบาสะ สงครามเทพข้ามมิต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์ · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไร

ซามูไรในชุดเกราะ ถ่ายในช่วงทศวรรษที่ 1860 โดย เฟรีเช บีอาโต ซามูไร แปลเป็นภาษาไทยว่าทหาร คำว่า ซามูไร มีต้นกำเนิดจากคำว่า ซะบุระอุ ซึ่งเป็นคำกริยาในภาษาญี่ปุ่นโบราณ ที่มีความหมายว่า รับใช้ ฉะนั้น ซามูไรก็คือคนรับใช้นั่นเอง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและซามูไร · ดูเพิ่มเติม »

ซาตา

ซาตา (Sata; ภาษาจีน: 沙爹) เป็นอาหารพื้นเมืองของรัฐตรังกานู ประเทศมาเลเซีย เป็นเนื้อปลารสเผ็ด ห่อด้วยใบตองแล้วย่างให้สุก มีลักษณะคล้ายโอตัก-โอตัก เครื่องปรุงหลักประกอบด้วยมะพร้าว ปลาซาร์ดีน ขิง หัวหอม และพริก เป็นอาหารคนละชนิดกับสะเต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและซาตา · ดูเพิ่มเติม »

ซิงเสียนเยอะเป้า

ซิงเสียนเยอะเป้า (Sing Sian Yer Pao) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาจีนที่มียอดขายมากที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2493 ที่นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ทั้งด้าน สังคม และลีลาชีวิต บริหารงานโดยบริษัท ซิงเสียนเยอะเป้า จำกัด สำนักงานตั้งอยู่บนถนนเจริญกรุง อาคารเก่าของห้างเอ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและซิงเสียนเยอะเป้า · ดูเพิ่มเติม »

ซินเหวิน หลิ่วสรือ เฟิน

ซินเหวิน หลิ่วสรือ เฟิน(จีน:新闻60分)เป็นรายการของซีซีทีวี 4 ที่มีสถานะเทียบเท่าข่าวภาคเช้า ออกอากาศทุกวัน เวลา 07:00-08:00 น. และยุติการออกอากาศลงเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2552 เนื่องจากคำสั่งถอดกลางคัน เพื่อนำเวลาไปทำข่าวภาคสาย ของจงกั๋วซินเหวิน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและซินเหวิน หลิ่วสรือ เฟิน · ดูเพิ่มเติม »

ซือซื่อสือซือสื่อ

ซือซื่อสือซือสื่อ (จีนตัวย่อ: 施氏食狮史; จีนตัวเต็ม: 施氏食獅史; พินอิน: Shī Shì shí shī shǐ) หรือที่รู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า Lion-Eating Poet in the Stone Den เป็นตัวอย่างคำในภาษาจีนที่มีชื่อเสียง แต่งขึ้นโดย หยวน เริน เจ้า ประกอบด้วยตัวอักษร 92 ตัว ซึ่งทุกตัวออกเสียงว่า ซือ แต่มีเสียงวรรณยุกต์แตกต่างกัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและซือซื่อสือซือสื่อ · ดูเพิ่มเติม »

ซูโจว

ซูโจว (จีนตัวเต็ม: 蘇州; จีนตัวย่อ: 苏州) เป็นเมืองสำคัญทางตะวันออกเฉียงใต้ของมณฑลเจียงซู ซึ่งอยู่ทางภาคตะวันออกของประเทศจีน อยู่ติดกับเขตการปกครองพิเศษเซี่ยงไฮ้ ตั้งอยู่บริเวณพื้นที่ตอนปลายของแม่น้ำแยงซี ริมฝั่งทะเลสาบไท่หรือไท่หู (อังกฤษ: Lake Tai or Tai Hu; จีนตัวย่อ: 太湖) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำแยงซี เป็นเขตการปกครองระดับจังหวัดที่มีประชากรอาศัยอยู่มากกว่า 4 ล้านคนในเขตเมือง และมีประชากรรวมกว่า 10 ล้านคนในพื้นที่เขตปกครองทั้งหมด เมืองซูโจวยังถือได้ว่าเป็นเมืองที่ร่ำรวยที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศจีน เป็นศูนย์กลางด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม ศูนย์กลางการค้า และการขนส่ง นอกจากนี้ซูโจวยังเป็นเมืองสำคัญด้านวัฒนธรรม การศึกษา ศิลปะ และการคมนาคม เมืองซูโจวเริ่มก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อ 514 ปี ก่อนคริสตกาล มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 2,500 ปี ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ในสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก หรือเมื่อประมาณ 100 ปี ก่อนคริสตกาล เมืองซูโจวเป็นหนึ่งในสิบเมืองใหญ่ที่สุดในโลกเนื่องจากมีผู้คนอพยพเข้ามาอยู่จำนวนมาก และในศตวรรษที่ 10 สมัยราชวงศ์ซ่ง เมืองซูโจวเคยเป็นเมืองศูนย์กลางด้านพาณิชย์ที่สำคัญของประเทศ ต่อมาในสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง จนถึงช่วงกบฏไท่ผิง (Taiping Rebellion) ในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและซูโจว · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์แดนเซอร์ออนไลน์

ซูเปอร์แดนเซอร์ออนไลน์ (อังกฤษ: Super Dancer Online) หรือ SDO เป็นเกมส์ออนไลน์ประเภทเกมดนตรี ผลิตโดยบริษัทไนน์ยู (อังกฤษ: 9you) ประเทศจีน และออกจำหน่ายโดย บริษัท วินเนอร์ ออนไลน์ จำกัด และเป็นเกมออนไลน์ที่ให้ดาวน์โหลดได้โดยไม่ต้องเสียเงิน และมีวิธีเล่นที่คล้ายกับเกม แดนซ์ แดนซ์ เรโวลูชัน อย่างมาก เพียงแต่นำมาเล่นแบบออนไลน์เท่านั้น รูปแบบการเล่นของเกมนี้ในประเทศจีนได้พัฒนาไปมากเพื่อให้ตอบรับกับผู้เล่นที่หลากหลาย (จีนเป็นซีซั่น 3) เช่น โหมดการเล่นแบบเกมโอทูแจม โหมดการเล่นแบบลูกศรกลับฝั่ง (แบบตรง ไม่ใช่แบบเฉียงเหมือนในโหมดริเวอร์ โน้ต) การแก้ไขรูปตึกสำหรับให้ผู้เล่นได้ทำกิจกรรมต่างๆ (Community Street) ให้คล้ายกับเกมออดิชั่นอีกด้วย วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2552 ในประเทศไทยเกมนี้ได้เปลี่ยนเวอร์ชันเป็น ฤดูกาลที่ 2 หรือ ซีซั่น 2 ซึ่งได้รับระบบและวิธีการเล่นใหม่ๆ มาจากจีนให้มีความหลากหลายมากขึ้นด้วยอีกเช่นกัน เช่นโหมดตีกลองคล้ายกับเกมอาร์เคด ไทโกะ มาสเตอร์ (ไทโกะ โน ทาสึจิน) และการเล่นในโหมดลูกศรเหมือนเกมออดิชั่น โหมดการเล่นในลักษณะที่คล้ายกับเกมมูพอัพ มีฉากใหม่ เปลี่ยนห้องส่วนตัวของผู้เล่นใหม่ สัตว์เลี้ยง พร้อมกับเพิ่มไอเทมต่างๆ ช่องทางการแจกจ่ายเกมในเวอร์ชันใหม่นี้ (ซีซัน 2) ได้แก่การให้ผู้เล่นขอรับดีวีดีตัวไฟล์เกม (Client) ล่วงหน้าในวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2551 และดาวน์โหลดผ่านทางเว็บไซต์ล่วงหน้าในวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2552 และเปิดให้ทดลองเล่นในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2552 วันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ในประเทศฮ่องกง ทางทีมงาน Gamania Digital ได้ออกมาประกาศหน้าเว็บไซต์หลักถึงการปิดเซิร์ฟเวอร์ Dance Online (ซูเปอร์แดนเซอร์ออนไลน์) ซึ่งทางทีมงานจะเปิดให้ซื้อไอเทมมอลล์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย จนถึงวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ถึงจะทำการปิดเซิฟเวอร์เกม ในประเทศฮ่องกง ส่วนในสหรัฐอเมริกา เกมนี้ใช้ชื่อว่า Dance! Online นำเข้าโดยบริษัท Acclaim Games.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและซูเปอร์แดนเซอร์ออนไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีรี

ซีรี (Siri) เป็นซอฟต์แวร์ผู้ช่วยอัจฉริยะ (intelligent software assistant) และผู้นำร่องความรู้ (knowledge navigator) ซึ่งทำหน้าที่เสมือนแอปพลิเคชันช่วยส่วนบุคคลสำหรับอุปกรณ์iOS แอปพลิเคชันนี้ใช้อินเตอร์เฟซผู้ใช้ภาษาธรรมชาติในการตอบคำถาม เสนอคำแนะนำ และดำเนินการปฏิบัติตามคำขอซึ่งได้รับมอบหมายไปยังชุดบริการเว็บ แอปเปิลอ้างว่าซอฟต์แวร์นี้ปรับให้เข้ากับความพึงใจส่วนตัวของผู้ใช้เมื่อเวลาผ่านไป และให้ผลเป็นของตัว เช่นเดียวกับการบรรลุภารกิจ เช่น การหาคำแนะนำร้านอาหารละแวกใกล้เคียง หรือถามทาง ซีรีเดิมเริ่มแรกเป็นแอปพลิเคชัน iOS ที่สามารถหาได้ใน App Store ซีรีตกเป็นกรรมสิทธิของบริษัทแอปเปิลเมื่อวันที่ 28 เมษายน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและซีรี · ดูเพิ่มเติม »

ซีซีทีวี กอล์ฟ & เทนนิส

ซีซีทีวี กอล์ฟ & เทนนิส เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก จัดตั้งโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งประเทศจีน ออกอากาศ 24 ชั่วโมง และออกอากาศรายการประเภทถ่ายทอดสดการแข่งขันกอล์ฟ และ เทนนิส หมวดหมู่:ซีซีทีวี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและซีซีทีวี กอล์ฟ & เทนนิส · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรศาสตร์กัมพูชา

รวมของประชากรในประเทศกัมพูชาในด้านความหนาแน่นของประชากร กลุ่มชาติพันธุ์ ระดับการศึกษา ภาพรวมด้านสาธารณสุข สถานะทางเศรษฐกิจ ศาสนา และอื่นๆ เป็นดังนี้.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและประชากรศาสตร์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประพจน์ อัศววิรุฬหการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประพจน์ อัศววิรุฬหการ หนือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประพจน์ อัศววิรุฬหการ เกิดที่จังหวัดอุทัยธานี เป็นนักภาษาศาสตร์และนักอักษรศาสตร์ชาวไทย เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาและวรรณคดีบาลีและภาษาสันสกฤต พระไตรปิฎกฉบับภาษาจีน และพระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เคยดำรงตำแหน่งเป็นคณบดีคณะอักษรศาสตร์คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็น กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและประพจน์ อัศววิรุฬหการ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติพระพุทธเจ้า

ประวัติพระพุทธเจ้า (The Life of Buddha) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชัน 2 มิติ ที่เล่าเรื่องราวประวัติของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดำเนินการผลิตโดย ดร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและประวัติพระพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติรุ่นของแอนดรอยด์

การใช้แอนดรอยด์ของแต่ละรุ่นตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2552 โดยเดือนกันยายน พ.ศ. 2556 แอนดรอยด์ 4.1 และ 4.2 และ 4.3 เจลลีบีน เป็นรุ่นที่นิยมใช้พฤศจิกายนสุด 52% ทั่วโลก ประวัติรุ่นของแอนดรอยด์ เริ่มตั้งแต่การเผยแพร่รุ่นทดลองในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและประวัติรุ่นของแอนดรอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์รัฐชัมมูและกัษมีระ

ประวัติศาสตร์รัฐชัมมูและกัษมีระ มีความเป็นมายาวนาน รัฐชัมมูและกัษมีระเคยเป็นดินแดนที่เป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนา ต่อมาได้เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม เคยอยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิดุรรานีในอัฟกานิสถาน จักรวรรดิโมกุล ในอินเดีย และเคยอยู่ภายใต้การปกครองของชาวสิกข์ ภายหลังขับไล่ชาวสิกข์ออกไปได้ ในยุคที่อังกฤษเข้ามา กษัตริย์ของชัมมูและกัษมีระช่วยอังกฤษรบกับชาวสิกข์และได้เป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษ เมื่ออังกฤษให้เอกราชแก่อินเดียและมีการแบ่งเป็นอินเดียและปากีสถาน รัฐชัมมูและกัษมีระกลายเป็นกรณีพิพาทของทั้งสองประเทศจวบจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและประวัติศาสตร์รัฐชัมมูและกัษมีระ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เวียดนาม

วียดนาม เรียกชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มีเนื้อที่ทั้งหมด 337,912 ตารางกิโลเมตร มีประชากรร่วม 89 ล้านคน (พ.ศ. 2554) เมืองหลวงคือ ฮานอย ประชากรส่วนใหญ่ของชาวเวียดนาม คือ ชาวเวียดนาม มีอยู่ประมาณร้อยละ 86 นอกจากนี้ยังมีชนกลุ่มน้อยอีก ได้แก่ โท้ ไต ม้ง เขมร และอื่นๆ ภาษาราชการ คือ ภาษาเวียดนาม ส่วนภาษาอื่นๆที่นิยมใช้ คือ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาของแต่ละชนชาติ ประวัติความเป็นมาของเวียดนามสามารถสืบย้อนกลับไปได้มากกว่า 4000 ปีก่อน การค้นพบทางโบราณคดีจากปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและประวัติศาสตร์เวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาพุทธ

นาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน นิกายมหายานได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเสื่อมลง พุทธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมตามไปด้วย ยังคงเหลือในจีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม ส่วนนิกายเถรวาทได้เฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งในศรีลังกา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังโลกตะวันตกตั้งแต่ครั้งโบราณ แต่ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและประวัติศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและประเทศไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนามเหนือ

วียดนามเหนือ หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (Việt Nam Dân Chủ Cộng Hòa) คือประเทศที่เกิดจากการรวมของแคว้นตังเกี๋ยและแคว้นอันนัมของฝรั่งเศส ประกาศก่อตั้งเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) โดยประธานาธิบดีโฮจิมินห์ ตั้งอยู่บริเวณครึ่งบนของประเทศเวียดนามในปัจจุบัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและประเทศเวียดนามเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ปรากฏการณ์แม็คเกอร์ก

ปรากฏการณ์แม็คเกอร์ก (McGurk effect) เป็นปรากฏการณ์หลอกการรับรู้คำพูด ที่แสดง (คือเกิดจาก) การทำงานร่วมกันระหว่างการได้ยินและการเห็นในการรับรู้คำพูด การรับรู้คำพูดที่ผิดไปจากเสียงที่ได้ยินเกิดขึ้นเมื่อมีการจับคู่เสียงของคำพูดพยางค์หนึ่ง กับการเห็นการออกเสียงคำพูดอีกพยางค์หนึ่ง ซึ่งก่อให้เกิดการรับรู้เสียงเป็นพยางค์ที่สามNath, A.R. & Beauchamp, M.S. (2011).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและปรากฏการณ์แม็คเกอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอินทรีบั้ง

ปลาอินทรีบั้ง (Narrow-barred Spanish mackerel) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง จำพวกปลาอินทรี ในวงศ์ปลาอินทรี หรือปลาทูน่า (Scombridae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาอินทรีชนิดอื่น หรือปลาอินทรีจุด (S. guttatus) ซึ่งเป็นปลาอินทรีอีกชนิดหนึ่งที่พบได้ในเขตน่านน้ำประเทศไทย แต่มีลำตัวค่อนข้างกลมและหนากว่า ด้านข้างลำตัวจะมีแถบสีดำหรือเทาเข้มเป็นบั้ง ๆ ขวางลำตัวเริ่มจากแนวฐานครีบหูหรือครีบอกเรื่อยออกไปเกือบจรดโคนครีบหาง จะเห็นบั้งได้ชัดตรงบริเวณแนวเส้นข้างตัว ปลาอินทรีบั้งตัวโตจะมีบั้งมากกว่าตัวเล็ก กินปลาและสัตว์น้ำที่อาศัยอยู่ตามผิวน้ำเป็นอาหาร เช่น ปลากะตัก, ปลาหลังเขียว และหมึก ขนาดที่พบทั่วไปมักมีความยาว 30-70 เซนติเมตร ขนาดใหญ่ที่สุดยาวถึง 1 เมตร (พบใหญ่ที่สุด 2 เมตร น้ำหนัก 70 กิโลกรัม ที่ออสเตรเลีย) พบทั่วไปในอ่าวไทยทั้งฝั่งตะวันออกและตะวันตก และทางฝั่งทะเลอันดามัน ในต่างประเทศพบได้ทั้งทั่วชายฝั่งทวีปแอฟริกา, ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน, ทะเลแดง, อ่าวเปอร์เซีย, มหาสมุทรอินเดีย จนถึงออสเตรเลียและนิวกินี เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญชนิดหนึ่ง นิยมใช้ปรุงอาหาร ปรุงสุด และทำปลาเค็ม ชาวจีนเรียกว่าปลาเค็มที่ทำจากปลาอินทรีบั้งว่า "ปลาเบกา" หรือ "เบกาฮื้อ" (จีน: 土魠魚) ในภาษาแต้จิ๋ว อีกทั้งเป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่นิยมตกกันเป็นเกมกีฬ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและปลาอินทรีบั้ง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอินทรีจุด

ปลาอินทรีจุด หรือ ปลาอินทรีดอก หรือ ปลาอินทรีข้าวตอก (Indo-Pacific king mackerel, Spotted seerfish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง จำพวกปลาอินทรี ในวงศ์ปลาอินทรี หรือปลาทูน่า (Scombridae) เนื้อปลาอินทรีจุดหั่นทอด หรือ "เบกาฮื้อ" จัดเป็นปลาอินทรีขนาดเล็กกว่าปลาอินทรีชนิดอื่น นับเป็นปลาอินทรีอีกชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย นอกจากปลาอินทรีบั้ง (S. commerson) มีรูปร่างลำตัวค่อนข้างกลม และเรียวยาว ด้านข้างลำตัวครึ่งบนมีแต้มด้วยจุดสีดำหรือสีเทาคล้ายลายข้าวตอก ส่วนปากมีมุมปากยาว ปากอ้าได้กว้าง จะงอยปากแหลม ภายในปากมีฟันแหลมคม ครีบหลังแบ่งเป็น 2 ส่วน ก้านครีบด้านหน้าเป็นก้านครีบแข็ง ส่วนก้านครีบหลังมีลักษณะเหมือนกับก้านครีบก้นที่ประกอบด้วยก้านครีบอ่อน และถัดมาจะเป็นครีบฝอย ส่วนครีบหูหรือครีบอกมีขนาดเล็ก ครีบท้องมีขนาดเล็กสุด ครีบหางมีขนาดใหญ่ ลักษณะครีบเว้าลึก เป็นรูปวงเดือย มักอยู่รวมกันเป็นฝูง ว่ายน้ำรวดเร็ว ลำตัวยาวประมาณ 40-55 เซนติเมตร นิยมนำมาปรุงอาหารต่าง ๆ และแปรรูปเป็นปลาเค็มหรือหั่นเป็นชิ้นทอด ที่ภาษาแต้จิ๋วเรียก "เบกาฮื้อ" (จีน: 土魠魚) รวมถึงตกเป็นเกมกีฬ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและปลาอินทรีจุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอินซีเน็ต

ปลาอินซีเน็ต หรือ ปลาอินซิกนิส (Flagtail characins, Flannel-mouth characins.; Jaraqui.) เป็นปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Semaprochilodus (/ซี-มา-โพร-ชิ-โล-ดัส/) ในวงศ์ปลาอินซีเน็ต (Prochilodontidae) ในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายปลาในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มาก ดวงตากลมโต ริมฝีปากหนาและใหญ่ และปากขยับไปมาตลอดเวลา เกล็ดมีขนาดเล็กมีสีเงินแวววาว เมื่อยังเล็กจะมีลายแถบและจุดสีดำกระจายอยู่บริเวณลำตัวค่อนไปทางโคนหาง โคนหางคอดเล็ก ครีบหลังมีขนาดใหญ่และตั้งชี้ขึ้น ครีบหางเป็น 2 แฉก เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น และมีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยจะนิยมเลี้ยงไว้เพื่อทำความสะอาดภายในตู้เลี้ยง เพราะเป็นปลาที่เก็บเศษอาหารกินทำให้ตู้เลี้ยงสะอาดได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังมีความเชื่ออีกว่า เมื่อเลี้ยงคู่กับปลาอะโรวาน่าหรือปลามังกรด้วยแล้ว จะถือเป็นมงคล เหมือนหงส์คู่มังกร เพราะปลาสกุลนี้มีชื่อสามัญเรียกในภาษาจีนว่า "เฟยหง" (จีนตัวเต็ม: 飛鳳) แปลว่า "ปลาหงส์".

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและปลาอินซีเน็ต · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอินซีเน็ตหางแดง

ปลาอินซีเน็ตหางแดง หรือ ปลาหงส์หางแดง (Flagtail prochilodus, Silver prochilodus, Flagtail characin; Jaraqui (ในบราซิล)) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาอินซีเน็ต (Prochilodontidae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายปลาในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มาก ดวงตากลมโต ริมฝีปากหนาและใหญ่ และปากขยับไปมาตลอดเวลา เกล็ดมีขนาดเล็กมีสีเงินแวววาว เมื่อยังเล็กจะมีลายแถบและจุดสีดำกระจายอยู่บริเวณลำตัวค่อนไปทางโคนหาง มีเกล็ดบริเวณเส้นข้างลำตัวประมาณ 48 เกล็ด โคนหางคอดเล็ก ครีบท้องมีสีแดงสด ครีบหลังมีขนาดใหญ่และตั้งชี้ขึ้น ซึ่งครีบเหล่านี้เมื่อปลาโตขึ้นจะยิ่งชี้แหลมและสีสดยิ่งขึ้น ในบางตัวปลายครีบหลังอาจแหลมยาวคล้ายปลายผืนธง ครีบหางเป็น 2 แฉก มีขนาดใหญ่ ครีบหางและครีบก้นมีลายแถบสีดำเป็นทางตรงบนพื้นสีแดง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร อาจใหญ่ได้ถึง 35 เซนติเมตร เป็นปลาที่ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ พบกระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำอเมซอน ในทวีปอเมริกาใต้ โดยใช้ปากที่ขยับไปมาตลอดนั้นตอดอาหารจำพวกอินทรีย์วัตถุหากินตามพื้นน้ำหรือตะไคร่น้ำที่เกาะตามแก่งหินต่าง ๆ มีพฤติกรรมผสมพันธุ์หมู่และวางไข่ได้ครั้งละประมาณ 100,000 ฟอง เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น และมีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยจะนิยมเลี้ยงไว้เพื่อทำความสะอาดภายในตู้เลี้ยง เพราะเป็นปลาที่เก็บเศษอาหารกินทำให้ตู้เลี้ยงสะอาดได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังมีความเชื่ออีกว่า เมื่อเลี้ยงคู่กับปลาอะโรวาน่าหรือปลามังกรด้วยแล้ว จะถือเป็นมงคล เหมือนหงส์คู่มังกร เพราะปลาชนิดนี้มีเรียกในภาษาจีนว่า "เฟยหง" (จีนตัวเต็ม: 飛鳳) แปลว่า "ปลาหงส์" ซึ่งในราวปี พ.ศ. 2546-พ.ศ. 2547 ได้มีการบอกกล่าวกันเป็นทอด ๆ ในอินเทอร์เน็ตถึงคุณสมบัติของปลาชนิดนี้ ทำให้มีราคาขายพุ่งขึ้นไปเกือบตัวละ 1,000 บาท ในปลาขนาดเล็กขนาดไม่เกิน 5 นิ้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและปลาอินซีเน็ตหางแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแกง

ปลาแกง (Chinese mud carp fish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างคล้ายปลานวลจันทร์น้ำจืด (C. microlepis) และปลานวลจันทร์เทศ (C. cirrhosus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน มีส่วนท้องที่ป่องออก เกล็ดเล็กละเอียดมีสีเงินอมเทา ตาเล็ก ส่วนหัวมีขนาดเล็ก ปากเล็กหนาอยู่สุดปลายสุดของส่วนหัว ครีบหางเว้าลึก มีจุดกลมสีดำที่โคนครีบหาง ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 55 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ตั้งแต่ประเทศจีนจนถึงไต้หวัน และเวียดนาม, กัมพูชา, ลาวและประเทศไทย พบในภาคกลาง ภาคเหนือ และบางส่วนของภาคใต้ หากินโดยและเล็มตะไคร่น้ำและอินทรีย์สารตามพื้นท้องน้ำ โดยที่ปลาชนิดนี้นิยมรับประทานเป็นปลาเศรษฐกิจด้วยการรับประทานด้วยการปรุงสด เนื่องจากเนื้อมีรสชาติดี ในภาษาอีสานจะเรียกว่า "ปลาพอนดำ" และในภาษาเหนือจะเรียกว่า "ปลาลูกแกง" ส่วนในภาษาจีนเรียกว่า "ลิ่นฮื้อ" หรีอ "ตูลิ่นฮื้อ" (鲮).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและปลาแกง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไทเมน

ปลาไทเมน หรือ ปลาไซบีเรียนไทเมน หรือ ปลาไซบีเรียนแซลมอน (Taimen, Siberian taimen, Siberian salmon) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาแซลมอน (Salmonidae) พบในแม่น้ำวอลกาและแม่น้ำแปโชราในรัสเซีย นอกจากนี้แล้วยังพบในลุ่มแม่น้ำอามูร์, ระหว่างทะเลสาบแคสเปียนกับมหาสมุทรอาร์กติกในอนุทวีปยูเรเชีย และบางส่วนของมองโกเลีย มีสีลำตัวแตกต่างหลากหลายออกไปตามแต่ละภูมิประเทศ แต่โดยทั่วไปลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลอมเขียวมะกอก หัวมีสีคล้ำกว่า ครีบและหางสีแดงเข้ม ส่วนท้องสีขาว ตามลำตัวมีรอยจุดสีคล้ำสำหรับพรางตัวซุ่มซ่อนตามธรรมชาติ ปากกว้าง ภายในปากมีฟันที่แหลมคมเหมือนเข็มที่งองุ้มเข้ามาด้านใน และแม้แต่ลิ้นก็มีส่วนประกอบที่แหลมคมคล้ายฟัน ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ถึง 210 เซนติเมตร และมีน้ำหนักถึง 105 กิโลกรัม เป็นสถิติที่พบในรัสเซีย เมื่อปี ค.ศ. 1988 ซึ่งจัดได้ว่าปลาไทเมนเป็นปลาแซลมอนชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก แต่ปลาไทเมนไม่ใช่ปลาสองน้ำเหมือนกับปลาแซลมอนชนิดอื่น ๆ เพราะวางไข่และเติบโตหากินอยู่เฉพาะในแหล่งน้ำจืดอย่างเดียวเท่านั้น ปลาไทเมนจัดเป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่เป็นที่นิยมของนักตกปลาอีกด้วย ด้วยความที่เป็นปลาขนาดใหญ่และอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำเชี่ยวและเย็น จึงนิยมตกกันแบบฟลายฟิชชิ่ง ซึ่งต้องตกกันก่อนถึงฤดูหนาวที่น้ำจะกลายเป็นน้ำแข็ง ปลาไทเมนเป็นปลาที่ดุร้ายก้าวร้าว เคยกัดทำร้ายคนตกจนเลือดอาบได้รับบาดเจ็บที่ต้นแขนมาแล้ว มักอาศัยอยู่ในกระแสน้ำเชี่ยว โดยหลบซ่อนตัวอยู่หลังก้อนหินเพื่อรอเหยื่อให้ผ่านมาและจับกินเป็นอาหาร ซึ่งปลาไทเมนสามารถจับปลาแซลมอนหรือปลาเทราต์ซึ่งเป็นปลาจำพวกเดียวกันกินได้ นอกจากนี้แล้วยังสามารถกินงูพิษได้อีกด้วยMongolian Mauler, "River Monsters".

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและปลาไทเมน · ดูเพิ่มเติม »

ปักกิ่ง

ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ปากีสถานเชื้อสายจีน

วปากีสถานเชื้อสายจีน คือกลุ่มชนเชื้อสายจีนที่อพยพมาจากประเทศจีน โดยเข้ามาตั้งรกราก และพำนักในดินแดนปากีสถานประมาณกว่า 10,000 คน ในปี พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและปากีสถานเชื้อสายจีน · ดูเพิ่มเติม »

ปางหมอยา

ระกริ่งปวเรศ ปางหมอยา ศิลปะรัตนโกสินทร์ ออกแบบโดย ช่างสิบหมู่ ปางหมอยา เป็นพระพุทธรูปลักษณะนั่งขัดสมาธิราบ เหมือนปางมารวิชัย แต่พระหัตถ์เบื้องซ้ายถือหม้อน้ำมนต์ ประทับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ำบัวหง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและปางหมอยา · ดูเพิ่มเติม »

ปางคำ

ปางคำ (ว้า: Bangkum) หรือชื่อเดิมว่า ปางซาง เป็นเมืองหลักของตำบลปางซาง อำเภอมัตมัน รัฐฉาน ประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของรัฐฉานบริเวณโค้งน้ำข่า (Nam Hka) ตรงข้ามเขตปกครองตนเองชนชาติไท ล่าหู่ และว้า เมิ่งเหลียน จังหวัดปู้เอ่อ มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ปางคำเป็นแหล่งผลิตยาเสพติดแหล่งใหญ่ มีโรงแรม ร้านค้า ร้านสะดวกซื้อ ร้านคาราโอเกะ ลานโบลิ่ง และกาสิโนที่คอยให้บริการ 24 ชั่วโมง อาหารส่วนใหญ่นำเข้าจากประเทศจีน รถยนต์ส่วนใหญ่เป็นรถแลนด์โรเวอร์และรถกระบะญี่ปุ่นที่ลักลอบมาจากประเทศไท.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและปางคำ · ดูเพิ่มเติม »

ปู้อี

ชาวปู้อี เรียกตัวเองว่า ปู้ใหญ่ ปู้จ่อง และปู้หม่าน มีถิ่นที่อยู่ที่มณฑลเจียงซู รวมจ้วงเหนือแถบเขตปกครองตนเองกวางสีจ้วง มณฑลกุ้ยโจว และตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ที่มักเรียกตนเองว่าปู้อี ไม่เรียกตนเองว่าจ้วง มีประชากรราว 2,049,203 คน มีภาษาและวัฒนธรรมคล้ายจ้วง พูดภาษาไทและภาษาจีน นับถือลัทธิดั้งเดิม และบางส่วนก็หันไปนับถือคริสต์ศาสนา หมวดหมู่:ชาวไท หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศจีน หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศเวียดนาม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและปู้อี · ดูเพิ่มเติม »

นักบินอวกาศ

รูซ แมคแคนด์เลส 2 นักบินอวกาศชาวอเมริกัน ขณะทำงานอยู่นอกกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ เมื่อ พ.ศ. 2527 (ภาพจากองค์การนาซา) นักบินอวกาศ คือ บุคคลที่เดินทางไปกับยานอวกาศ ไม่ว่าจะไปในฐานะใด และไม่ว่าจะไปด้วยยานอวกาศแบบไหน ทั้งที่โคจรรอบโลก (ในระยะสูงจากพื้นราว 80-100 กิโลเมตรขึ้นไป) หรือที่เดินทางออกไปยังตำแหน่งอื่นใดนอกวงโคจรของโลก คำว่า นักบินอวกาศ ในภาษาไทย นั้น ตรงกับคำศัพท์ในภาษาอังกฤษ ว่าแอสโตรนอท (astronaut) ซึ่งมีความหมายอย่างที่กล่าวมา เป็นที่น่าสังเกตว่า คำว่า นักบินอวกาศ ไม่ได้มีความหมายเฉพาะผู้ที่เป็นนักบิน (pilot) เท่านั้น แต่มีความหมายอย่างที่อาจเข้าใจได้ง่ายๆ ว่า ลูกเรืออวกาศ นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ในภาษาไทยยังมีคำศัพท์อีกคำ ที่มีความหมายเช่นนี้ นั่นคือ มนุษย์อวกาศ คำว่า แอสโตรนอท ในภาษาอังกฤษนั้น มีที่มาจากคำศัพท์ในภาษากรีก สองคำ คือ astro หมายถึงดวงดาว และ nautes ซึ่งหมายถึง กะลาสี ปัจจุบันมีนักบินอวกาศหลายชาติ จึงมีการสร้างคำสำหรับเรียกนักบินอวกาศของแต่ละชาติต่างๆ กัน เช่น นักบินในโครงการอวกาศของรัสเซีย เรียกว่า คอสโมนอท (cosmonaut) อันเป็นการสร้างคำจากคำศัพท์จากภาษากรีกเช่นกัน โดยใช้คำว่า kosmo ที่หมายถึง อวกาศ และคำว่า nautes ที่หมายถึง กะลาสี ส่วนในยุโรป มีการสร้างศัพท์ขึ้นใหม่ ว่า สเปชันนอท (spationaut) เป็นคำประสม ระหว่าง space ในภาษาละติน (อวกาศ) และ nautes ในภาษากรีก (กะลาสี) โดยมีความหมายว่านักบินอวกาศ หรือมนุษย์อวกาศ นั่นเอง นอกจากนี้ยังมีคำว่า ไทโคนอท (Taikonaut) เป็นคำศัพท์ที่คิดขึ้นใหม่ เมื่อ เดือนพฤษภาคม ปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและนักบินอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

นักร้องเสมือน NIAONiao

นักร้องเสมือน NIAONiao (袅袅虚拟歌手/裊裊虛擬歌手, NIAONiao Virtual Singer)(อ่านว่า เนี้ยวเหนี่ยว Niǎoniǎo),เป็นโปรแกรมฟรีแวร์สังเคราะห์เสียงร้องเพลงที่สร้างขึ้นสำหรับภาษาจีน และเป็นโปรแกรมสังเคราะห์เสียงร้องเพลงรุ่นแรกที่ผลิตในประเทศจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและนักร้องเสมือน NIAONiao · ดูเพิ่มเติม »

นักซิ่งทะยานฟ้า

นักซิ่งทะยานฟ้า (戰龍四驅; GO FOR SPEED) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันการ์ตูนจีนที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในทวีปเอเชีย ซึ่งเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการแข่งรถมินิโฟร์วีล (Mini4WD) จากความนิยมดังกล่าว ส่งผลให้มีการจัดทำกิจกรรมแข่งรถมินิโฟร์วีล ที่มีส่วนช่วยเสริมทักษะด้านงานช่าง และวิศวกรรมให้กับเยาวชนในเวลาต่อม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและนักซิ่งทะยานฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีจีน

นายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (จีน: 总理; พินอิน: zǒnglǐ) คือประธานสภาประชาชนและหัวหน้ารัฐบาลกลางของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและนายกรัฐมนตรีจีน · ดูเพิ่มเติม »

นารา เทพนุภา

นารา เทพนุภา เกิดวันที่ 15 กันยายน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและนารา เทพนุภา · ดูเพิ่มเติม »

นาจา

นาจา หรือ หน่าจา (จีน: 哪吒, พินอิน: Nézhā หรือ Núozhā) เทพเจ้าตามคติความเชื่อของจีน บางตำราเชื่อว่าเป็นบุตรของเจ้าแม่กวนอิมอีกด้วย นาจาประสูติเมื่อวันที9เดือน9(ตามปฎิทินจีน).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและนาจา · ดูเพิ่มเติม »

นาธาน ลอว์

นาธาน ลอว์ เมื่อปี ค.ศ. 2015 นาธาน ลอว์ (ภาษาจีน: Category:Articles containing Chinese-language text 羅冠聰) เกิด 13 กรกฎาคม..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและนาธาน ลอว์ · ดูเพิ่มเติม »

นิชคุณ หรเวชกุล

นิชคุณ หรเวชกุล นักร้องชาวไทย เชื้อชาติไทย-จีน เป็นหนึ่งในสมาชิกในหกคน ของวงดนตรีเกาหลีใต้ "ทูพีเอ็ม" สังกัดเจวายพีเอ็นเตอร์เทนเมนท์ นอกจากนั้น ยังเป็นพิธีกรในหลายรายการโทรทัศน์ของเกาหลี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและนิชคุณ หรเวชกุล · ดูเพิ่มเติม »

นิตยสารรายการโทรทัศน์

ปกนิตยสารรายการโทรทัศน์ของ ททบ.5 ปี 2528 นิตยสารรายการโทรทัศน์ เป็นนิตยสารที่จัดทำโดยสถานีโทรทัศน์แบบไม่เสียค่าใช้จ่ายในประเทศไทย เพื่อเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการสื่อสารกับผู้ชม และยังเป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศ หรือใกล้จะแพร่ภาพทางสถานีโทรทัศน์แต่ละช่อง ตลอดจนลงพิมพ์ผังรายการไว้ในเล่มด้วย โดยนิยมจัดทำเป็นขนาด 16 หน้ายก (ขนาดเท่ากับในยุคปัจจุบัน).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและนิตยสารรายการโทรทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

นินจา

การวาดแม่แบบนินจาจากชุดสเก็ตช์ ("โฮะกุไซ มังงะ")โดย คะสึชิกะ โฮะกุไซ ภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่นบนกระดาษตอนที่ 6 ค.ศ. 1817 คุนะอิ '''คุนะอิ'''มีไว้ขุดหลุมหรือขว้างใส่ศัตรูเหมือนดาวกร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและนินจา · ดูเพิ่มเติม »

นขลิขิต

นขลิขิต หรือ วงเล็บ เป็นเครื่องหมายวรรคตอนชนิดหนึ่ง มีลักษณะโค้งเหมือนรอยเล็บ เครื่องหมายด้านซ้ายเรียกว่า วงเล็บเปิด ส่วนด้านขวาเรียกว่า วงเล็บปิด (สำหรับภาษาที่เขียนจากขวาไปซ้ายก็จะเรียกกลับกัน) ปกติใช้สำหรับคลุมข้อความที่ขยายหรืออธิบายจากข้อความอื่น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและนขลิขิต · ดูเพิ่มเติม »

น้ำอสุจิ

น้ำอสุจิ น้ำอสุจิ (Semen, seminal fluid) เป็นสารประกอบอินทรีย์เหลวที่อาจมีตัวอสุจิอยู่ ในภาษาบาลี อะ แปลว่าไม่ สุจิ หรือสุจี แปลว่าสะอาด น้ำอสุจิ จึงแปลว่า น้ำที่ไม่สะอาด เป็นน้ำที่หลั่งออกจากอวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์และจากอวัยวะทางเพศอื่น ๆ ของสัตว์เพศชาย และสามารถทำการผสมพันธุ์กับไข่ของเพศหญิงได้ ในมนุษย์ น้ำอสุจิมีองค์ประกอบอื่น ๆ นอกจากตัวอสุจิ คือมีเอนไซม์ต่าง ๆ และน้ำตาลประเภทฟรุกโทส ที่ช่วยเลี้ยงตัวอสุจิให้ดำรงรอดอยู่ได้ และเป็นสื่อเพื่อที่ตัวอสุจิจะเคลื่อนที่ หรือ "ว่ายน้ำ" ไปได้ น้ำอสุจิโดยมากเกิดจากต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ seminal vesicle ว่า "ถุงน้ำอสุจิ, ถุงพักน้ำอสุจิ" (หรือมีชื่ออื่นว่า ถุงน้ำอสุจิ, ถุงพักน้ำอสุจิ) ซึ่งเป็นอวัยวะอยู่ที่เชิงกราน แต่ว่าตัวอสุจิเองสร้างจากอัณฑะ ส่วนกระบวนการที่นำไปสู่การปล่อยน้ำอสุจิเรียกว่า การหลั่งน้ำอสุจิ ในมนุษย์ น้ำอสุจิเป็นของเหลวสีขาวข้นที่หลั่งออกโดยผู้ชาย เมื่อถึงจุดสุดยอด เมื่อมีเพศสัมพันธ์ เมื่อมีการสำเร็จความใคร่ หรือเมื่อขับออกตามธรรมชาติที่เรียกว่าฝันเปียก โดยจะมีการหลั่งน้ำอสุจิแต่ละครั้งประมาณ 3-4 ซีซี มีจำนวนตัวอสุจิเฉลี่ยประมาณ 300-500 ล้านตัว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและน้ำอสุจิ · ดูเพิ่มเติม »

แบทแมน บีกินส์

แบทแมน บีกินส์ (อังกฤษ: Batman Begins) คือ ภาพยนตร์ชุดแบทแมนลำดับที่ 5 เข้าฉายในสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2548 กำกับโดย คริสโตเฟอร์ โนแลน นำแสดงโดย คริสเตียน เบล, ไมเคิล เคน, เลียม นีสัน, แคที โฮล์มส์, แกรี โอลด์แมน, ซิลเลียน เมอร์ฟี, มอร์แกน ฟรีแมน, ทอม วิลคินสัน, Rutger Hauer และเค็ง วะตะนะเบะ เนื้อเรื่องของภาพยนตร์แบทแมนภาคนี้เป็นอิสระจากภาพยนตร์ชุดแบทแมนที่สร้างมาก่อนหน้าโดยสิ้นเชิง โดยมีโครงเรื่องที่กล่าวถึงจุดกำเนิดของตัวละครแบทแมน ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากเส้นเรื่องของหนังสือการ์ตูนชุดแบทแมนดั้งเดิม เช่น แบทแมน: เดอะแมนฮูฟอลส์ (Batman: The Man Who Falls) แบทแมน: เยียร์วัน (Batman: Year One) และ แบทแมน: เดอะลองฮัลโลวีน (Batman: The Long Halloween) ที่มาของภาพยนตร์เรื่องนี้ มาจากความคิดของคริสโตเฟอร์ โนแลน และเดวิด เอส. โกเยอร์ (ผู้เขียนบทภาพยนตร์) ที่มาร่วมงานกันเมื่อช่วงต้นปี พ.ศ. 2546 ซึ่งภาคนี้ถือเป็นภาพยนตร์แบทแมนเรื่องแรก หลังจากที่ภาค แบทแมนแอนด์โรบิน (Batman & Robin) เมื่อ พ.ศ. 2540 ได้รับคำวิจารณ์ในแง่ลบและประสบความล้มเหลวในเชิงพาณิชย์ โดยในภาคนี้ เขาทั้งสองคนได้ดัดแปลงให้มีโทนสีมืดและมีความสมจริงของเนื้อเรื่องมากกว่าที่ภาคที่ผ่านมา การถ่ายทำภาพยนตร์เรื่องนี้ ใช้วิธีการแสดงผาดโผนแบบดั้งเดิมและอาศัยการสร้างภาพด้วยคอมพิวเตอร์ไม่มากนัก โดยสถานที่ที่ใช้ในการถ่ายทำในเบื้องต้น คือ อังกฤษและชิคาโก แบทแมน บีกินส์ ได้รับกระแสที่ดีทั้งจากคำวิจารณ์และการตอบรับเชิงพาณิชย์ โดยได้มีการสร้างภาพยนตร์ภาคต่อชื่อว่า แบทแมน อัศวินรัตติกาล (The Dark Knight) ขึ้นมา ซึ่งออกฉายในปี พ.ศ. 2551 กำกับโดยคริสโตเฟอร์ โนแลน และนำแสดงโดยคริสเตียน เบล เช่นเดิม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและแบทแมน บีกินส์ · ดูเพิ่มเติม »

แมคโอเอส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและแมคโอเอส · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำอีร์ติช

อีร์ติช (Иртыш; คาซัค: Ertis / Ертiс; จีน: É'ěrqísī hé / 额尔齐斯河; มองโก: Эрчис мөрөн, "Twirl"; İrteş) เป็นแม่น้ำในไซบีเรีย ในประเทศคาซัคสถานและประเทศรัสเซีย อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศคาซัคสถาน และทางตะวันตกของรัสเซียส่วนที่อยู่ในทวีปเอเชีย ในออมสค์โอบลาสต์ ต้นน้ำเกิดจากลาดเขาด้านตะวันตกของเทือกเขาอัลไต บริเวณตอนเหนือของเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ในประเทศจีน ลงสู่ทะเลสาบไซซานและไหลต่อไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ ไปลงแม่น้ำอ็อบ แม่น้ำมีความยาว 4,248 กิโลเมตร มีเมืองสำคัญบนฝั่งแม่น้ำนี้ได้แก่ เซเมย์ ปัฟโลดาร์ ออมสค์ และโตบอลสค์ หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศจีน หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศคาซัคสถาน หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศรัสเซีย หมวดหมู่:แม่น้ำนานาชาติในทวีปเอเชีย.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและแม่น้ำอีร์ติช · ดูเพิ่มเติม »

แม็คกี้ คิว

แม็คกี้ คิว (Maggie Q) หรือ หลี่ เหม่ยฉี (จีน: 李美琪; พินอิน: Lǐ Měiqí) มีชื่อเกิดว่า Margaret Denise Quigley เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1979 ที่โฮโนลูลู ฮาวาย เป็นนักแสดง นางแบบที่มีชื่อเสียงในฮ่องกงและระดับฮอลลีวู.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและแม็คกี้ คิว · ดูเพิ่มเติม »

แหลมเทียนหยาไหเจี่ยว

ทียนหยาไหเจี่ยว (จีน: 天涯海角 หน้าผาสวรรค์จรดแหลมทะเล) คือแหล่งท่องเที่ยวอยู่ในมณฑลไหหลำทางภาคใต้ของประเทศจีน ห่างจากเมือง ซานย่า ไปทางตะวันตก 24 ก.ม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและแหลมเทียนหยาไหเจี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

แอกุกกา (จักรวรรดิเกาหลี)

"เพลงชาติจักรวรรดิเกาหลี" (literally "Korean Empire Aegukga") เป็นเพลงชาติเกาหลีฉบับแรกในช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 มีสถานะเป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีสำหรับบรรเลงในงานพระราชพิธี รัฐพิธีของราชวงศ์โชซอน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและแอกุกกา (จักรวรรดิเกาหลี) · ดูเพิ่มเติม »

แองกวิลลา

แองกวิลลา (Anguilla) เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในทะเลแคริบเบียน หนึ่งในกลุ่มเกาะที่อยู่ทางเหนือสุดของหมู่เกาะลีเวิร์ดในภูมิภาคเลสเซอร์แอนทิลลิส แองกวิลลาประกอบด้วยเกาะหลักแองกวิลลายาว 26 กิโลเมตร (16 ไมล์) กว้าง 5 กิโลเมตร (3 ไมล์) และกลุ่มเกาะเล็ก ๆ ซึ่งไม่มีคนอาศัยอย่างถาวร เมืองหลักของดินแดนแห่งนี้คือเดอะแวลลีย์ (The Valley) มีเนื้อที่รวมทั้งหมด 102 ตารางกิโลเมตร (39.4 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 13,500 คน (พ.ศ. 2549).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและแองกวิลลา · ดูเพิ่มเติม »

แองเตอร์นาซิอองนาล

เออแฌน ปอตีเย (Eugène Pottier) ผู้ประพันธ์คำร้องของเพลงแล็งแตร์นาซียอนาล แองเตอร์นาซิอองนาล (L'Internationale; แล็งแตร์นาซียอนาล, The Internationale; ดิอินเตอร์แนชนาล, Die Internationale; "ดี อินเทอร์นาโชนาล") เป็นเพลงปลุกใจที่ใช้ในการต่อสู้ของชนชั้นกรรมาชีพ มีที่มาจากบทกวีต้นฉบับภาษาฝรั่งเศสของ เออแฌน ปอตีเย (Eugène Pottier) ในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและแองเตอร์นาซิอองนาล · ดูเพิ่มเติม »

แทว็อนกุนฮึงซ็อน

แทว็อนกุนฮึงซ็อน เป็นพระราชบิดาของพระเจ้าโคจง และเป็นผู้สำเร็จราชการแทนในรัชสมัยของพระโอรส แทว็อนกุนฮึงซ็อน หรือเรียกสั้น ๆ ว่า แทว็อนกุน เป็นผู้มีบทบาทอย่างมากในการเมืองสมัยราชวงศ์โชซอนตอนปล.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและแทว็อนกุนฮึงซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

แทนคุณ จิตต์อิสระ

แทนคุณ จิตต์อิสระ มีชื่อเดิมคือ เอกชัย บูรณผานิต (แซ่ผ่าง) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เป็นอาจารย์สอนภาษาจีน เป็นสุดยอดแฟนพันธุ์แท้เรื่องความสัมพันธ์ไทย-จีน ในปี2005 และได้รับเชิญให้เป็นพิธีกรในรายการเดียวกันนี้ ในปี 2007-2008 ภายหลังได้จัดตั้ง "สถาบันฮั่นอี้ หรือ โรงเรียนนวัตกรรมภาษาและปัญญามนุษย์" ในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและแทนคุณ จิตต์อิสระ · ดูเพิ่มเติม »

แคนเซอร์ เดธมาสค์

แคนเซอร์ เดธมาสค์ ตัวละครจากการ์ตูนเรื่องเซนต์เซย่า เป็นโกลด์เซนต์ประจำราศีกรกฎ ผู้ดูแลปราสาทปูยักษ์ 1 ใน 12 ปราสาทแห่งแซงค์ทัวรี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและแคนเซอร์ เดธมาสค์ · ดูเพิ่มเติม »

แต้จิ๋ว (เมือง)

แต้จิ๋ว (潮州) หรือ เฉาโจว (ตามภาษาจีนกลาง) เป็นเมืองซึ่งตั้งอยู่ติดกับซัวเท้าทางทิศใต้ (หรือที่คนไทยรู้จักในนามซัวเถา 汕頭市) จรดเมืองกิ๊กเอี๊ยทางตะวันตกเฉียงใต้ (หรือ เจียหยางในภาษาจีนกลาง) จรดเมืองเหมยโจวทางตะวันตกเฉียงเหนือ และจรดมณฑลฝูเจี้ยน (หรือมณฑลฮกเกี้ยนในภาษาไทย) ทางทิศตะวันออก และจรดทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และแต้จิ๋วก็เป็นภาษาจีนที่ใช้ในกลุ่มของคนจีนแต้จิ๋ว หรือสำเนียงแต้จิ๋ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและแต้จิ๋ว (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

แปดกองธง

แปดกองธง (จีน: 八旗, พินอิน: baqí) เป็นกองกำลังทหารในยุคราชวงศ์ชิงในประวัติศาสตร์จีน เป็นการจัดการบริหารและวางกองกำลังต่อสู้ของราชวงศ์ชิง โดยผู้ที่สถาปนากองทัพนี้ คือ จักรพรรดินู่เอ๋อร์ฮาชื่อ (ค.ศ. 1559-ค.ศ. 1629) ปฐมจักรพรรดิของราชวงศ์ โดยมีสัญลักษณ์เป็นธงที่มีสีสันต่าง ๆ แตกต่างออกไป และเป็นกำลังสำคัญในการป้องกันเมืองหลวง คือ ปักกิ่ง ซึ่งการจัดกำลังออกเป็น 8 ส่วนนี้ จะใช้ผู้คุมกำลังเป็นผู้ที่สัมพันธ์หรือเป็นญาติกันในตระกูลอ้ายซินเจว๋หลัว ซึ่งเป็นตระกูลของจักรพรรดิและพระญาติวงศ์ในราชวงศ์ชิง ซึ่งผู้ที่เคยเป็นผู้บังคับบัญชาแปดกองธงนี้บุคคลหนึ่ง ก็คือ อาปาไห่ หรือต่อมาก็คือ จักรพรรดิหวงไถจี๋ (ค.ศ. 1592-ค.ศ. 1643) ซึ่งเป็นราชบุตรลำดับที่ 8 และได้ครองราชย์ในเวลาต่อมา โดยเริ่มจากหัวหน้าชนเผ่าแมนจูต่าง ๆ ที่นู๋เอ๋อร์ฮาชื้อเคยปราบมา ก่อนจะรวบรวมชาวแมนจูเป็นหนึ่งเดียวโค่นราชวงศ์หมิงได้สำเร็จ มีการเก็บภาษีและการระดมพลก็ระดมผ่านกองธงต่าง ๆ ไล่มาจากหัวหน้าหน่วยบริหารระดับล่างขึ้นมาข้างบน ซึ่งกระบวนการนี้ช่วยลดความแตกต่างของชนเผ่าและตระกูลนอกด่านทั้งหลายไปได้มาก นั่นทำให้นายทหารผู้บังคับหมวด นายทหารผู้บังคับกอง นายทหารคุมกองพัน และระดับแม่ทัพ จะต้องทำหน้าที่เป็นทั้งผู้บริหารและทหารไปพร้อม ๆ กัน แต่ทั้งหมดอยู่ภายใต้กฎหมายเดียวกันกับที่นู๋เอ๋อร์ฮาชื้อตราขึ้นมา และยังส่งผลต่อความสัมพันธ์ที่ดีกับชาวมองโกล รวมถึงชาวฮั่นที่อยู่ในแถบตะวันออกด้วย ซึ่งถือได้ว่าทั้ง 3 ชนเผ่ามีส่วนร่วมในการก่อตั้งกองทัพแปดกองธงขึ้นมา จนสามารถแบ่งได้ถึง 24 กองธง เฉลี่ยกองธงละ 7,500 คน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและแปดกองธง · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์กาลหว่าร์

กาลหว่าร์ หรือ วัดแม่พระลูกประคำ (Holy Rosary Church) เป็นโบสถ์คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ทรงกอทิก ตั้งอยู่ที่ซอยวานิช 2 แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร โบสถ์แห่งนี้ไม่ใช่โบสถ์หลังแรก หากแต่เป็นโบสถ์หลังที่สาม ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อทดแทนโบสถ์หลังเดิมที่ถูกทิ้งร้างภายหลังเพลิงไหม้ใหญ่ในปี พ.ศ. 2407 โบสถ์ในปัจจุบันได้สร้างขึ้นโดยคุณพ่อแดซาลส์ ชาวฝรั่งเศส ในปี พ.ศ. 2434 ปัจจุบันโบสถ์มีอายุรวมแล้ว ปี ถือเป็นโบสถ์ที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ โบสถ์ได้รับการบูรณะใหญ่ในปี พ.ศ. 2500 ในสมัยที่คุณพ่ออาแมสตอย เป็นอธิการโบสถ์ และถือเป็นการฉลองครบ 60 ปีของโบสถ์กาลหว่าร์อีกด้วย การบูรณะครั้งล่าสุดคือในช่วงปี พ.ศ. 2526 - 2532 โดยมีบาทหลวงประวิทย์ พงษ์วิรัชไชย เป็นอธิการโบสถ์ในขณะนั้น ปัจจุบัน โบสถ์กาลหว่าร์ได้ขึ้นทะเบียนอนุรักษ์เป็นโบราณสถานโดยกรมศิลปากรเป็นที่เรียบร้อยแล้ว โบสถ์แห่งนี้มีจุดเด่นที่สำคัญคือ รูปปั้น 2 รูปซึ่งเป็นสมบัติเก่าแก่ตั้งแต่การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ได้แก่ "รูปแม่พระลูกประคำ" และ "รูปพระศพของพระเยซูเจ้า" โดยทั้งหมดนี้ยังคงเก็บรักษาและใช้ในพิธีกรรมทางศาสนาจนถึงปัจจุบันนี้ อธิการโบสถ์องค์ปัจจุบันคือ บาทหลวงไพทูรย์ หอมจิน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโบสถ์กาลหว่าร์ · ดูเพิ่มเติม »

โชห่วย

ห่วย คือ ของชำ, ร้านขายของชำ ตามความหมายในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..2554 เป็นคำที่มาจากภาษาจีนแต้จิ๋วว่า 粗货อ่านว่าโชวห่วย ตัวหนังสือจีน 粗 อาจแปลได้ว่า หยาบ พื้นๆ บ้านๆ (ตรงข้ามกับ ละเอียดประณีต) ส่วนตัวหนังสือ 货 แปลว่าสินค้า สิ่งของ รวมกันจึงหมายถึงสินค้าพื้นๆ ที่ใช้กินใช้สอยประจำวัน ร้านขายของชำ สะดวกซื้อ สารพัดสิ่ง มักมีลักษณะอยู่ในตึกแถว มีขนาดต่างๆ กันตั้งแตคูหาเดียวถึงหลายคูหา โดยมากเป็นกิจการเล็กๆ กิจการในครัวเรือน สร้างรายรับเล็กๆ น้อยๆ ใช้ในชีวิตประจำวัน ปัจจุบัน มีจำนวนน้อยลงไปมาก เนื่องจากไม่ได้รับการปรับรูปแบบให้ทันสมัย และต้องเผชิญกับคู่แข่งยุคโมเดิร์นเทรดที่เป็นร้านสะดวกซื้อ รูปลักษณ์ทันสมัย ติดแอร์ เปิดตลอด 24 ชั่วโมง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโชห่วย · ดูเพิ่มเติม »

โฟร์แชร์

4shared 4shared คือบริษัทผู้ให้ บริการเก็บรักษาและแบ่งปันไฟล์ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโฟร์แชร์ · ดูเพิ่มเติม »

โกปี๊เตี่ยม

กปี๊เตี่ยม หรือ กอปี๊เตี่ยม (จีน: 咖啡店; พินอิน: kā fēi diàn) เป็นร้านกาแฟแบบดั้งเดิมที่พบได้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ไทย, มาเลเซีย, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย เป็นสถานที่ขายขายอาหาร โดยเน้นที่อาหารเช้าและเครื่องดื่มจำพวกชาและกาแฟ โดยคำว่า โกปี๊ หรือ กอปี๊ (咖啡) เป็นภาษามลายู/ฮกเกี้ยน ที่หมายถึง "กาแฟ" และ เตี่ยม เป็นภาษาฮากกาและแต้จิ๋ว หมายถึง "ร้านค้า" หรือ "โรงเตี๊ยม" (店) เฉพาะในสิงคโปร์ที่เดียว มีโกปี๊เตี่ยมตามสถานที่ต่าง ๆ ครอบคลุมทั้งสถานที่อยู่อาศัย, แหล่งอุตสาหกรรม และธุรกิจภายในประเทศ มากถึง 2,000 แห่ง สำหรับในส่วนประเทศไทย โกปี๊เตี่ยมสามารถพบได้ในสถานที่ทั่วไป แต่ที่มีชื่อเสียงและขึ้นชื่อ คือ ในท้องถิ่นภาคใต้ โดยรายการอาหาร มักประกอบไปด้วยอาหารแบบเรียบง่าย หลากหลายชนิด เช่น ไข่ลวก, ขนมปังปิ้ง, สังขยา, ชาหรือกาแฟผสม และไมโล ในส่วนของโต๊ะขายกาแฟและเครื่องดื่มทั่วไปมักขายโดยเจ้าของร้าน และอาจรวมไปถึงน้ำอัดลมและเครื่องดื่มอื่น ๆ รวมถึงอาหารเช้า เช่น ขนมปังปิ้งทาหน้าต่าง ๆ, อาหารว่าง หรือแม้แต่ร้านให้เช่าโดยเจ้าของร้านค้าอิสระที่จัดเตรียมอาหารหลากหลายซึ่งมักจะมีอาหารแบบดั้งเดิมจากหลายชาติพันธุ์เพื่อให้ผู้คนจากภูมิหลังที่แตกต่างกันและมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่แตกต่างกันสามารถรับประทานอาหารในสถานที่เดียวกันและแม้กระทั่งรายการอาหารที่ปรากฏบนป้ายรายการภายในร้าน นอกจากนี้แล้ว โกปี๊เตี่ยม ยังเป็นชื่อของห่วงโซ่ธุรกิจอาหารในสิงคโปร์ และเป็นชื่อของร้านกาแฟและร้านอาหารในจังหวัดภูเก็ต ในภาคใต้ของไทยอีกด้วย ในชื่อ "โกปี้เตี่ยม".

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโกปี๊เตี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

โมโม (อาหาร)

มโม (མོག་མོག་; Wylie: mog mog) เป็นเกี๊ยวหรือขนมจีบที่มีต้นกำเนิดในทิเบต กลายเป็นอาหารประจำชาติของชาวเนวาร์ ชาวเชอร์ปา ชาวลิมบู Gurungs และ Magars ของเนปาลและชนกลุ่มน้อยอื่น ๆ ของประเทศเนปาล คล้ายกับ buuz ของมองโกเลียและ jiaozi ของจีน คำว่า "โมโม" ในภาษาทิเบตเป็นคำยืมจากภาษาจีน mómo (馍馍).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโมโม (อาหาร) · ดูเพิ่มเติม »

โมโนโซเดียมกลูตาเมต

มโนโซเดียมกลูตาเมต (monosodium glutamate) มักเรียกกันว่า ผงชูรส วัตถุเจือปนอาหารประเภทวัตถุปรุงแต่งรสอาหารที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย โมโนโซเดียมกลูตาเมตมีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาวไม่มีกลิ่น มีคุณสมบัติในการเป็นสารเพิ่มรสชาติอาหาร ทำให้อาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น เนื่องจากเมื่อโมโนโซเดียมกลูตาเมตละลายน้ำ จะแตกตัวได้โซเดียมและกลูตาเมตอิสระที่มีสมบัติในการเพิ่มรสชาติอาหาร โดยช่วยเพิ่มรสชาติของรสชาติพื้นฐาน 4 รสที่เรารู้จักกันดีคือ รสหวาน รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสขม ให้เด่นชัดมากขึ้น ในการศึกษาทางเภสัชวิทยาเกี่ยวกับรสชาติพบว่าผงชูรสสามารถกระตุ้น Glutamate Receptor แล้วทำให้เกิดรสชาติเฉพาะตัวที่เรียกว่ารสอูมามิ (Umami) ซึ่งเป็นรสที่ 5 ที่มนุษย์สามารถรับรู้ได้และมีเอกลักษณ์แตกต่างจากรสชาติพื้นฐานทั้ง 4 โมโนโซเดียมกลูตาเมตเป็นสารประกอบประเภทกลูตาเมตซึ่งเป็นเกลือของ กรดกลูตามิก (Glutamic acid) อันเป็นกรดอะมิโนชนิดหนึ่งที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของโปรตีนทั่วไป เช่น โปรตีนในเนื้อสัตว์ โปรตีนในนม และโปรตีนในพืช โดยกลูตาเมตจะจับอยู่กับกรดอะมิโนตัวอื่นๆ เกิดเป็นโครงสร้างของโปรตีน กลูตาเมตที่อยู่ในรูปของโปรตีนจะไม่มีกลิ่นรสและไม่มีคุณสมบัติทำให้เกิดรสอูมามิในอาหาร แต่เมื่อเกิดการย่อยสลายของโปรตีน เช่น เกิดกระบวนการหมัก การบ่ม การสุกงอมของผักและผลไม้ การทำให้สุกด้วยความร้อน จะทำให้กลูตาเมตในโปรตีนเกิดการสลายแยกตัวออกมาเป็นกลูตาเมตอิสระ ซึ่งเป็นตัวที่ทำให้เกิดรสอูมามิในอาหาร นอกจากนี้ ยังได้มีการค้นพบว่าสารที่เกิดจากการย่อยสลายไรโบนิวคลีโอไทด์ในนิวเคลียสของเซลล์สิ่งมีชีวิตซึ่งได้แก่ ไอโนซิเนต(Inosinate) และกัวไนเลต(Guanylate)ก็มีคุณสมบัติให้รสอูมามิเช่นเดียวกับกลูตาเมตอิสระ ยิ่งไปกว่านั้นยังพบว่าไอโนซิเนตและกัวไนเลตมีคุณสมบัติในการเสริมรสอูมามิให้เด่นชัดมากขึ้นเมื่อใช้ร่วมกับกลูตาเมต โดยผลการเสริมกันนี้มีลักษณะแบบ Synergistic Effect.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโมโนโซเดียมกลูตาเมต · ดูเพิ่มเติม »

โรงละครแห่งชาติ (จีน)

300px โรงละครแห่งชาติจีน (ภาษาจีน: 國家大劇院; ภาษาอังกฤษ: National Grand Theater) คือโรงละครหลังใหม่กลางกรุงปักกิ่ง ประเทศจีน ตั้งอยู่ติดกับมหาศาลาสมาคมและใกล้กับจัตุรัสเทียนอันเหมิน มีขนาด 200,000 ตร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงละครแห่งชาติ (จีน) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบรบือ

รงเรียนบรบือ (อักษรย่อ: บ.ร., ฺB.R.) เป็นโรงเรียนประจำอำเภอบรบือ และเป็นโรงเรียนประจำตำบลบแห่งที่ 2 ถัดจากโรงเรียนบรบือวิทยาคาร สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 ซึ่งตั้งอยู่ที่เขตเทศบาลบรบือ ตำบลบรบือ อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม และ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 26 กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ถนนแจ้งสนิท อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม สหวิทยาเขตบรบือ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 26.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนบรบือ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม

รงเรียนบางปะกอกวิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษแบบสหศึกษารับนักเรียนทั้งชายและหญิงตั้งอยู่ที่เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร จัดการเรียนการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตั้งแต่ชั้นปีที่ 1 ถึงปีที่ 6 เดิมชื่อ โรงเรียนมัธยมวัดบางปะกอก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ปัจจุบันมีเนื่อที่ 9 ไร่ 66 ตารางวา เปิดสอนในช่วงชั้นการศึกษาที่ 3 และ 4 โดยแบ่งเป็นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 30 ห้องเรียน และมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 36 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 66 ห้องเรียน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย

รงเรียนชิโนรสวิทยาลัย ชื่อเดิม โรงเรียนวัดชิโนรส ตั้งอยู่ในวัดชิโนรสารามวรวิหาร ซึ่งสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรสทรงสร้างชึ้นในราวปี พ.ศ. 2438 (ขณะนั้นสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส สิ้นพระชนม์แล้ว พระองค์ประสูติเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2333 สิ้นพระชนม์ พ.ศ. 2396) ปี พ.ศ. 2444 เริ่มจัดการระบบการศึกษาแบบสามัญอย่างเป็นทางการ โดยกระทรวงธรรมการได้แต่งตั้งให้ราชบุรุษฉายวงศ์ทวีป ซึ่งลาสิกขาออกจากพระภิกษุมาเป็นครูใหญ่คนแรก มีนักเรียน 101 คน ครู 3 คน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบุญจิตวิทยา

รงเรียนบุญจิตวิทยา - Boonjit Witthaya School ตั้งอยู่ที่ 12 หมู่ 2 ถนนสุขุมวิท ตำบลทุ่งสุขลา อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โรงเรียนเปิดสอนในเตรียมอนุบาล (อายุ 2 ปี), อนุบาลปีที่ 1-3 (อายุ 3-5 ปี), ประถมศึกษาปีที่ 1-6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1-3.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนบุญจิตวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง

รงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง (公立崇华新生华立学校) เป็นโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ที่ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งโดยกลุ่มชาวไทยเขื้อสายจีนและพ่อค้าชาวจีนที่มาค้าขายในเมืองเชียงใหม่เมื่อประมาณร้อยปีก่อน มุ่งเน้นการสอนภาษาจีนเป็นภาษาที่สอง ปัจจุบันบริหารโดยมูลนิธิช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุงวิท.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพรตพิทยพยัต

รงเรียนพรตพิทยพยัต (Protpittayapayat school) ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนพรตพิทยพยัต · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพานพิเศษพิทยา

รงเรียนพานพิเศษพิทยา (อังกฤษ: Phan Phiset Phitthaya School; ย่อ: พ.พ.ย., P.P.Y.) หรือชื่อเดิม โรงเรียนพานมัธยมสามัญ (พาน ช.ร.8) เป็นหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ประเภทสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 36 (เชียงราย และพะเยา) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 2) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 250 หมู่ 1 ตำบลสันติสุข อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา ผู้อำนวยการคนปัจจุบันคือ นายไชยนคร ขุมคำ และมีรองผู้อำนวยการคือ นายชวลิต ปัญจขันธ์ ป้ายหน้าโรงเรียนพานพิเศษพิท.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนพานพิเศษพิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพุทไธสง

รงเรียนพุทไธสง เป็นโรงเรียนระดับอำเภอ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2493 มีเนื้อที่ 83 ไร่ 12 ตารางวา ตั้งอยู่เลขที่ 3 หมู่ 4 บ้านเตย ตำบลพุทไธสง อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนพุทไธสง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาเมืองพล

รงเรียนมหาไถ่ศึกษาเมืองพล ตั้งอยู่ในอำเภอพล จังหวัดขอนแก่น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนมหาไถ่ศึกษาเมืองพล · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

รงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย มีฐานะเป็นองค์การมหาชน ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2534 และเปลี่ยนสถานภาพเป็นองค์การมหาชนเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2543 เคยตั้งอยู่ที่วัดไร่ขิง ในปัจจุบันตั้งอยู่ ณ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เป็นโรงเรียนที่ตั้งขึ้นเพื่อสร้างนักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ และเป็นโรงเรียนที่มีเครือข่ายกับโรงเรียนวิทยาศาสตร์ชั้นนำในประเทศอื่น ๆ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์มีการใช้ระบบคัดเลือกนักเรียนเข้าเรียนเอง โดยปรกติมีอัตราการรับเข้าประมาณ 1.5% (240 คนจากนักเรียนที่สมัครแต่ละปีประมาณ 20,000 คน) โดยนักเรียนทุกคนได้รับทุนการศึกษาเต็มตลอดระยะเวลาที่เรียนอยู่ในโรงเรียน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร

รงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา อยู่ในการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2548 โดยมติของสภามหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อให้เป็นสถานที่ฝึกสอนของนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และจัดการเรียนการสอนตามแนวศิลปศาสตร์ (Liberal Arts Education) มี ผ.ดร.คงศักดิ์ พร้อมเทพ เป็นผู้อำนวยการท่านแรก โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งอยู่ที่เลขที่ 1 ถนนสนามบิน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเดิมเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยนเรศวร (ส่วนสนามบิน) มีพื้นที่ 66 ไร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมารีย์อนุสรณ์

รงเรียนมารีย์อนุสรณ์ เป็นโรงเรียนเอกชนในตำบลชุมเห็ด อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ เปิดทำการสอนตั้งแต..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนมารีย์อนุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์

รงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ (Joseph Upatham School) อักษรย่อ ยอ.(JS) เป็นโรงเรียนคาทอลิกสังกัดฝ่ายการศึกษามิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชินีบน

ป็นโรงเรียนหญิงล้วนระดับชั้นอนุบาลถึงมัธยมศึกษา ตั้งอยู่ที่ตึกถนนอัษฎางค์ ผู้ทรงให้กำเนิดโรงเรียนคือ สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร เพื่ออบรมให้เป็นนักเรียนผู้ดีที่ทันสมัย แต่คงความเป็นกุลสตรีที่งดงาม เพรียบพร้อมในทุกๆด้าน โรงเรียนราชินีบนให้เป็นสถานศึกษาที่มีความพร้อมและทันสมัยในทุกๆด้าน มีความสะอาด สงบร่มรื่น ปัจจุบันโรงเรียนมีเนื้อที่15ไร่ 3งาน 74ตารางวา สมเด็จพระราชปิตุจฉาเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ประทานนาม โรงเรียนว่า “ โรงเรียนราชินีบน ” เมื่อ..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนราชินีบน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย

รงเรียนวัฒนาวิทยาลัย (Wattana Wittaya Academy) มีชื่อเดิมว่า"กุลสตรีวังหลัง" ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ 67 สุขุมวิท 19 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 เป็นโรงเรียนสตรีหญิงแห่งแรกของประเทศไท.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดทรงธรรม

รงเรียนวัดทรงธรรม เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 (ฉะเชิงเทรา-สมุทรปราการ) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งตั้งอยู่ในพระอารามหลวงที่มีนามว่า "วัดทรงธรรมวรวิหาร" ตำบลตลาด อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีพื้นที่ของโรงเรียนทั้งหมด ประมาณ 4 ไร่เศษ โดยเจ้าพระคุณอุดมวิจารณ์ (พระใบฎีกากลั่น สีละเตชะ หรือ กลั่น นพคุณ) อดีตเจ้าอาวาสวัดทรงธรรมวรวิหาร ได้ทำหนังสือต่อท่านขุนประพจน์ เนติประวัตร นายเวรการโรงเรียน ขอนำความกราบบังคมทูลพระเจ้าลูกเธอฯ อธิบดีกรมการศึกษา ทรงทราบเป็นโรงเรียนเชลยศักดิ์ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2438 (ร.ศ. 114)http://www.songtham.ac.th/HistoryOfSongtham.htm โดยพระอุดมวิจารณ์เป็นผู้เริ่มก่อตั้ง ซึ่งดำรงตำแหน่งครูใหญ่คนแรก และพระใบฎีกาลั่น เป็นครูสอน ซึ่งปัจจุบันโรงเรียนนี้เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนวัดทรงธรรม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม

รงเรียนวัดเขมาภิรตาราม (Watkhemapirataram School) เป็นโรงเรียนรัฐบาล ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 74/11 หมู่ที่ 8 ถนนพิบูลสงคราม ตำบลสวนใหญ่ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี เปิดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนวัดเขมาภิรตารามเป็น 1 ใน 500 โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) และเป็นโรงเรียนรางวัลพระราชทานประจำปีพุทธศักราช 2536 และ 2553.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนศรีนครมูลนิธิ

รงเรียนศรีนครมูลนิธิ (อังกฤษ: Srinakorn Foundation School) (จีน: 国光中学)(อักษรย่อ: ศ.น.ค.) เป็นโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสงขลา เขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ 17 ไร่ 2 งาน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนศรีนครมูลนิธิ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล

รงเรียนสกลราชวิทยานุกูล เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดสกลนคร เปิดสอนแบบโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสมุทรปราการ

รงเรียนสมุทรปราการ (Samutprakan School, อักษรย่อ: ส.ป., S.P.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ตั้งอยู่เลขที่ 498 ถนนสุขุมวิท ก.ม. 27 ติดบิ๊กซีสมุทรปราการ ตำบลปากน้ำ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จมาก่อตั้งเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสามมุกคริสเตียนวิทยา

รงเรียนสามมุกคริสเตียนวิทยา เป็นโรงเรียนประจำ แบบสหศึกษา คือมีทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิง อยู่ประจำที่โรงเรียน โดยแบ่งหอพักนักเรียนชายและหญิง มีอาจารย์ดูแลอยู่ประจำหอพัก ตั้งอยู่ที่ 166 ถนนบางแสน-อ่างศิลา ตำบลแสนสุข อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีเนื้อที่ประมาณ 50 ไร่ เปิดสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ระดับชั้นประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยสอนวิชาภาษาอังกฤษ และภาษาจีนในทุกระดับชั้น วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งเพื่อให้การศึกษาแก่เยาวชนตามหลักคริสตธรรม โดยไม่หวังกำไรในเชิงธุรกิจ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 เป็นนักเรียนไป-กลับ และชั้นประถมศึกษาปีที่ 4- มัธยมศึกษาปีที่ 6 เป็นนักเรียนประจำ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนสามมุกคริสเตียนวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสารวิทยา

รงเรียนสารวิทยา เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 2398/96 ถนนพหลโยธิน แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้ง.อ.พระวิทยาสารรณยุต เจ้ากรมวิทยาศาสตร์ทหารบก มีเนื้อที่ประมาณ 31 ไร่ เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้น ม.1 - ม.6 มีนักเรียนประมาณ 2,700 คน ครู-อาจารย์ 127 คน มีทั้งหมด 68 ห้องเรียนโดย มัธยมศึกษาตอนต้นมี 32 ห้อง (แบ่งเป็น 12-10-10) มัธยมศึกษาตอนปลายมี 36 ห้อง (แบ่งเป็น 12-12-12) สำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มี 6 แผนการเรียนคือ วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์, คณิตศาสตร์-ภาษาอังกฤษ, ภาษาอังกฤษ-เทคโนโลยี, ภาษาอังกฤษ-ภาษาต่างประเทศที่ 2 เช่น ภาษาจีน,ภาษาญี่ปุ่น,ภาษาฝรั่งเศส,ภาษาเกาหลี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนสารวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา

รงเรียนสุราษฎร์พิทยา เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2445 เป็นโรงเรียนราษฎร์ชื่อ โรงเรียนกุมารีวิทยาลัย พ.ศ. 2485 ได้มีโรงเรียนราษฎร์เปิดขึ้นอีกหนึ่งโรงชื่อ โรงเรียนบำรุงดรุณี ต่อมารัฐได้รวมโรงเรียนทั้งสองเข้าด้วยกันและตั้งชื่อใหม่ว่า โรงเรียนมณฑลสุราษฎร์ธานี ต่อมาได้แยกนักเรียนหญิงไปเรียนที่อาคารใหม่จึงตั้งชื่อใหม่ว่า โรงเรียนสตรีสุราษฎร์ธานี และในพ.ศ. 2521 โรงเรียนสตรีสุราษฎร์ธานี ได้เปิดรับนักเรียนชายเข้าศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 จึงได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งหนึ่งเป็น โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา จนถึงทุกวันนี้.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนสุราษฎร์พิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสนมวิทยาคาร

รงเรียนสนมวิทยาคาร เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐ ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เริ่มเปิดทำการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2517.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนสนมวิทยาคาร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย

รงเรียนอยุธยาวิทยาลัย (Ayutthaya Wittayalai School) เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปิดทำการสอนตั้งแต..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอยุธยานุสรณ์

รงเรียนอยุธยานุสรณ์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บริเวณถนนอู่ทอง ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนอยุธยานุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอำนาจเจริญ

รงเรียนอำนาจเจริญ (Amnatcharoen School) เป็นโรงเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา และเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดอำนาจเจริญเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา เขต 29 (อุบลราชธานี - อำนาจเจริญ) กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ อำเภอเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนอำนาจเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอุดรพิชัยรักษ์พิทยา

รงเรียนอุดรพิชัยรักษ์พิทยา เป็นโรงเรียนแบบสหศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ โรงเรียนอุดรพิชัยรักษ์พิทยาเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ประจำจังหวัด อุดรธานี อยู่ที่อันดับที่ 3 รองจาก โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล และ โรงเรียนสตรีราชินูทิศ โดยเปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) และตอนปลาย(ม.4-6) แผนการเรียนในระดับชั้นมัธยมปลายมีทั้งหมด 3 แผนการเรียน ได้แก่ แผน 1 สควท.(สงเสริมคณิตศาสตร์-วิทยาศาสตร์) แผน 2 โปรแกรมการเรียนวิชาคณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ และแผน 3 โปรแกรมการเรียนวิชาภาษาต่างประเทศ ภาษาอังกฤษและภาษาจีน และรวมถึงวิชาเลือกเสรีสำหรับภาษาที่ 3 เช่น จีน, เกาหลี, ฝรั่งเศสและญี่ปุ่น โรงเรียน ตั้งอยู่บนถนน อุดรธานี - หนองบัวลำภู ตรงข้ามกับ ท่าอากาศยานนานาชาติอุดรธานี อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ใช้อักษรย่อว่า อ..ร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนอุดรพิชัยรักษ์พิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนผดุงกิจวิทยา

รงเรียนผดุงกิจวิทยา เดิมชื่อ "เผยจือกงเซี๊ยะ" (培知公学) เป็นโรงเรียนสอนภาษาไทย-จีน ตั้งอยู่ที่ แขวงคลองสาน เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยผู้ขออนุญาตจัดตั้งโรงเรียนคือ นายเอี้ยวคุณ แซ่อึ้ง ตามใบอนุญาตเลขที่ 104 /2490 ลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. 2490 มีนายบุ่งห่าง แซ่ลิ้ม เป็นผู้จัดการคนแรก และนายใสสด รักกุศล เป็นครูใหญ่คนแรกของโรงเรียน ดำเนินการจัดการเรียนการสอนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นแหล่งศึกษาของบุตรหลานชาวไทยเชื้อสายจีนและบุคคลทั่วไปที่อยู่ในย่านนั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2495 ได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนจาก เผยจือกงเซี๊ยะ เป็น ผดุงกิจวิทยาจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการและจัดสอนภาษาจีนเป็นวิชาเพิ่มเติม ตั้งแต่ระดับชั้นประถมปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี พ.ศ. 2537 ได้ย้ายโรงเรียนจากแขวงคลองสานมาอยู่ที่อาคารเลขที่ 96/1 หมู่ 10 ถนนเพชรเกษม แขวงบางด้วน เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นที่ตั้งของสมาคมมิตรภาพบางแคจนถึงปัจจุบัน โดยมีคณะกรรมการบริหารสมาคมศิษย์เก่าผดุงกิจวิทยาที่ได้รับการเลือกตั้งผลัดเปลี่ยนกันเข้ามาบริหารสถานศึกษาวาระละ 2 ปี ปัจจุบันเป็นวาระการบริหารสถานศึกษาของ นางสกุลทิพย์ ทิพย์บันลือ นายกสมาคมศิษย์เก่าผดุงกิจวิทยาและคณะ สมัยที่ 15-16 มีนางขนิษฐา แนวนาค เป็นผู้อำนวยการโรงเรียน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนผดุงกิจวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนทวีธาภิเศก

รงเรียนทวีธาภิเศก (Taweethapisek School) (อักษรย่อ: ท.ภ. / T.P.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทชายล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 505/5 ซอยอิสรภาพ 42 ถนนอิสรภาพ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร 10600 มีพื้นที่ 13 ไร่ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนทวีธาภิเศก · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนขุขันธ์

รงเรียนขุขันธ์ (อังกฤษ: Khukhan School) (บ้างเรียก ขุขันธ์ใหญ่, ย่อ: ข.ข., KKS) โรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอขุขันธ์ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทมัธยมสหศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 60 ถนนเจริญราษฎร์สมบัติ หมู่ 3 ตำบลห้วยเหนือ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ บนพื้นที่ 62 ไร่ 18 ตารางวา ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 กันยายน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนขุขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนดอนบอสโกวิทยา

รงเรียนดอนบอสโกวิทยา เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในจังหวัด อุดรธานี เป็นโรงเรียนเอกชนขนาดใหญ่ อยู่ในเครือซาเลเซียน เปิดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้น อนุบาล 1-มัธยมศึกษาปีที่ 6.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนดอนบอสโกวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนคำเขื่อนแก้วชนูปถัมภ์

รงเรียนคำเขื่อนแก้วชนูปถัมภ์ (Khamkhueankeao Chanubhatham School) เดิมชื่อ โรงเรียนวิสามัญคำเขื่อนแก้ว เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษภายในจังหวัดยโสธรเป็นโรงเรียนประจำอำเภอคำเขื่อนแก้ว โรงเรียนคำเขื่อนแก้วชนูปถัมภ์ ตั้งอยู่ในเขต ถนนแจ้งสนิท ตำบลลุมพุก อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา เขต 28 (ศรีสะเกษ-ยโสธร) กระทรวงศึกษาธิการ และได้เข้าร่วมโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล (World–Class Standard School).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนคำเขื่อนแก้วชนูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนนารีนุกูล

รงเรียนนารีนุกูล (Narinukun School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประจำจังหวัดอุบลราชธานี แต่เดิมเป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัด แต่ในปัจจุบันได้จัดการเรียนการสอนแบบสหศึกษา เช่นเดียวกับโรงเรียนประจำจังหวัดคือ โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช โรงเรียนนารีนุกูลตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี ถนนแจ้งสนิท ตำบลในเมือง อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา เขต 29 (อุบลราชธานี - อำนาจเจริญ) กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนนารีนุกูล · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนนครขอนแก่น

รงเรียนนครขอนแก่น (Nakorn Khon Kaen School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ แบบสหศึกษาอยู่ในความดูแลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๕ กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2524 โดยมี นายทำนอง รังสีปัญญา เป็นครูใหญ่ท่านแรก ปัจจุบัน จัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษารูปแบบสหศึกษา เป็นสถานศึกษาขนาดใหญ่ โรงเรียนนครขอนแก่น ตั้งอยู่ ถนนมลิวรรณ ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น บริเวณหน้าโรงเรียนนครขอนแก่น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนนครขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนโพธิสารพิทยากร

รงเรียนโพธิสารพิทยากร (Potisarnpittayakorn School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย พระครูโพธิสารคุณ เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ ปัจจุบันตั้งอยู่ที่อยู่ ถนนพุทธมณฑลสาย 1 แขวงบางระมาด เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร 10170.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนโพธิสารพิทยากร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนไชยวานวิทยา

รงเรียนไชยวานวิทยา (อังกฤษ: Chaiwanwittaya School) เป็นโรงเรียนมัธยมประจำอำเภอไชยวาน จังหวัดอุดรธานี ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 (จังหวัดอุดรธานี) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 7 หมู่  11 บ้านค่ายเสรี ตำบลไชยวาน อำเภอไชยวาน  จังหวัดอุดรธานี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนไชยวานวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนไชยาวิทยา

รงเรียนไชยาวิทยา (อังกฤษ:Chaiyawitthaya School) (อักษรย่อ: ช.ว., C.Y.) เป็นโรงเรียนประจำเภอไชยา จังหวัดจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานีเขต2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 (ชุมพร สุราษฎร์ธานี) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนที่มีอัตราแข่งขันสูงในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ที่ ถนนสันติมิตร บ้านเวียง ตำบลตลาดไชยา อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนไชยาวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย

รงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย (Trimitwitthayalai School,岱密中学)เป็นโรงเรียนชายล้วน ที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในระดับมัธยมศึกษา ในย่านเยาวราชที่มีประวัติความเป็นมายาวนานแห่งหนึ่งในประเทศไทย เดิมชื่อโรงเรียนมัธยมวัดสามจีนใต้ เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดกองการมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 661 ถนนเจริญกรุง เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2439 ปัจจุบันโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัยมีอายุ 122 ปี เป็นโรงเรียนผู้นำด้านภาษาจีนแห่งแรกของประเทศไทย โดยในปัจจุบันได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์

รงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ (Benjamarachanusorn School) อักษรย่อว่า ".." เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดยความสำนึกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี พ.ศ. 2521 โดยในระยะแรกได้แยกตัวมาจาก โรงเรียนเบญจมราชาลัย ซึ่งเป็นโรงเรียนสตรีล้วน โดยใช้ชื่อว่า โรงเรียนเบญจมราชาลัย 2 ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 42/3 หมู่ที่ 1 ถนนประชานิเวศน์ 3 (แยกถนนสามัคคี) ตำบลท่าทราย อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี บนเนื้อที่จำนวน 20 ไร่ 3 งาน 91 ตารางวา มีอาคาร 8 หลัง เปิดสอนในช่วงชั้นการศึกษาที่ 3 และ 4 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 36 ห้อง(แบ่งเป็น โครงการความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ม.ต้น และห้องเรียนทั่วไป) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 30 ห้อง แบ่งเป็นแผนการเรียนดังนี้ ห้องเรียนทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จำนวน 3 ห้อง (แบ่งเป็น วิทย์-คณิต โครงการพิเศษ 1 ห้อง วิทย์-คณิตทั่วไป 2 ห้อง)ห้องเรียนศิลปศาสตร์-คณิตศาสตร์ (ศิลป์-คำนวณ) 2 ห้อง, ห้องเรียนศิลปศาสตร์-ภาษาศาสตร์(ศิลป์-ภาษา) (แบ่งเป็น วิชาเอก ภาษาฝรั่งเศส 1 ห้อง, ภาษาญี่ปุ่น 1 ห้อง และภาษาจีน 2 ห้อง) และ ศิลปศาสตร์-สังคมศาสตร์ (ศิลป์-ทั่วไป 1 ห้อง) รวมทั้งสิ้น 66 ห้องเรียน (ไม่รวมห้องเรียนรวม) มีนักเรียนประมาณ 3500 คน (ข้อมูล ปีการศึกษา 2554).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเมืองพัทยา 11 (มัธยมสาธิตพัทยา)

รงเรียนเมืองพัทยา 11 (มัธยมสาธิตพัทยา) - Pattaya City 11 School (Mattayomsatitpattaya) เป็นโรงเรียนในสังกัดเมืองพัทยา และเปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรก ปี 2551 เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย มีผู้บริหาร 1 คน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนเมืองพัทยา 11 (มัธยมสาธิตพัทยา) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเรณูนครวิทยานุกูล

รงเรียนเรณูนครวิทยานุกูล (อังกฤษ: Renunakhonwittayanukul School) เป็นโรงเรียนประจำอำเภอเรณูนคร ประเภทสหศึกษา ระดับโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนเรณูนครวิทยานุกูล · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเผยอิง

รงเรียนเผยอิง (จีน: 培英学校; อังกฤษ: Pei-ing School) เป็นโรงเรียนเอกชนสอนภาษาจีน ที่ดำเนินงานโดย สมาคมแต้จิ๋วแห่งประเทศไทย มีปรัชญาว่า "รักชาติ เพียรศึกษา ซื่อสัตย์ มีคุณธรรม", คติพจน์คือ "ความเพียรพยายาม นำไปสู่ความสำเร็จ" และคำขวัญว่า "เรียนดี กีฬาเด่น เน้นคุณธรรม" จากเว็บไซต์โรงเรียนฯ ปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) มีคณะผู้บริหารประกอบด้วย ดร.ไกรสร จันศิริ นายกสมาคมแต้จิ๋วแห่งประเทศไทย ประธานกรรมการโรงเรียน, นางสาวนงลักษณ์ เดชดำเกิงชัย ผู้อำนวยการโรงเรียน และ นางจินตนา โรจน์ขจรนภาลัย นายกสมาคมศิษย์เก่าเผยอิง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนเผยอิง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 2 (มูลนิธิไต้ล้ง-เช็ง พรประภา)

รงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 2 (มูลนิธิไต้ล้ง - เช็ง พรประภา) (Laemchabang 2 Municipality (Foundation Tailong - Cheng Phornprapha) School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาเปิดสอนระดับชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเทศบาลนครแหลมฉบัง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เขต 3.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 2 (มูลนิธิไต้ล้ง-เช็ง พรประภา) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 (ขณะนั้นนับวันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ นับอย่างสากลถือเป็น พ.ศ. 2481) โดยมติของสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี ฯพณฯ ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล เป็นผู้อำนวยการท่านแรก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 227 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีอาณาบริเวณติดกับหลายคณะ ได้แก่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ นอกจากนี้ภายในพื้นที่เช่าของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษายังเป็นที่ตั้งของกลุ่มอาคารจุฬาวิชช์กับที่ตั้งของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคใต้ เป็นโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาประจำภาคแห่งแรกของประเทศไทย จัดการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  (ม.4-ม.6) จัดตั้งขึ้นเพื่อเตรียมนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในภาคใต้เข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาโดยเฉพาะ ทั้งนี้ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคใต้ มีแนวคิดสำคัญ คือ จัดตั้งโรงเรียนให้มีความพร้อมในทุกด้าน เพื่อสนองนักเรียนใน 14 จังหวัดภาคใต้ ให้มีโอกาสเท่าเทียมกับนักเรียนในกรุงเทพมหานคร ตลอดจนส่งเสริมให้นักเรียนมีความเป็นเลิศทางสติปัญญา และเน้นการเรียนการสอนทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ เป็นโรงเรียนลักษณะพิเศษนำร่อง จัดกระบวนการเรียนการสอนลักษณะเดียวกับโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคใต้ เดิมชื่อโรงเรียนศรีวิชัย (เตรียมอุดมศึกษานครศรีธรรมราช) ประกาศจัดตั้งเมื่อ วันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2538 โดย ฯพณฯสัมพันธ์ ทองสมัคร ในปี ..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 22/24 ถนนรามคำแหง แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร ซึ่งคุณย่าฉวี ทัศนปรีดา มีความรู้สึกซาบซึ้งและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงแผ่เมตตาบารมีคุ้มเกล้าฯ พสกนิกร ชาวไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งทรงสนพระราชหฤทัยเป็นพิเศษ ในด้านการศึกษาของเยาวชน คุณย่าฉวี ทัศนปรีดาจึงได้เข้าเฝ้าสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายที่ดินถมแล้วจำนวน 10 ไร่ 3 งาน 28 ตารางวา (ปัจจุบันมีเนื้อที่ 15 ไร่ 93 ตารางวา) เมื่อวันพุธที่ 10 สิงหาคม 2526 เพื่อพระราชทานแก่กระทรวงศึกษาธิการ และได้ประกาศจัดตั้งโรงเรียนเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2526 โดยใช้ชื่อว่า "'โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า" ตามความประสงค์ของคุณย่าฉวี ทัศนปรีดา ทั้งนี้ คุณหญิงสุชาดา ถิระวัฒน์ ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้นเป็นผู้ประสานงานในการจัดตั้ง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเซนต์ปีเตอร์ ธนบุรี

รงเรียนเซนต์ปีเตอร์ ธนบุรี (Saint Peter Thonburi) เป็นโรงเรียนเอกชนขนาดใหญ่ประเภทสามัญศึกษาของฝ่ายการศึกษา ในเขตมิสซังกรุงเทพฯ สังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เปิดทำการสอนในระดับเตรียมอนุบาล อนุบาล 1-3 ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ปัจจุบัน โรงเรียนเซนต์ปีเตอร์ ธนบุรี ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 148 ถนนพุทธมณฑลสาย 1 แขวงคลองขวาง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10160 มีนักเรียนทั้งหมด 1,882 คน บุคลากรทั้งหมด 180 คน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนเซนต์ปีเตอร์ ธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โลก (ดาวเคราะห์)

ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโลก (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

โลมา

ลมา เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ทั้งในทะเล, น้ำจืด มีรูปร่างคล้ายปลา คือ มีครีบ มีหาง แต่โลมามิใช่ปลา เพราะเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีรก จัดอยู่ในอันดับวาฬและโลมา (Cetacea) ซึ่งประกอบไปด้วย วาฬและโลมา ซึ่งโลมาจะมีขนาดเล็กกว่าวาฬมาก และจัดอยู่ในกลุ่มวาฬมีฟัน (Odontoceti) เท่านั้น โลมา เป็นสัตว์ที่รับรู้กันเป็นอย่างดีว่าเฉลียวฉลาด มีความเป็นมิตรกับมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะช่วยชีวิตมนุษย์เมื่อยามเรือแตก จนกลายเป็นตำนานหรือเรื่องเล่าขานทั่วไป มีอุปนิสัยอยู่รวมกันเป็นฝูง บางฝูงอาจมีจำนวนมากถึงหลักพันถึงหลายพันตัว ว่ายน้ำได้อย่างคล่องแคล่วรวดเร็ว รวมถึงสามารถกระโดดหมุนตัวขึ้นเหนือน้ำได้ ชอบว่ายน้ำขนาบข้างหรือว่ายแข่งไปกับเรือวาฬและโลมา หน้า 37-42, "สัตว์สวยป่างาม" (ชมรมนิเวศวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล, สิงหาคม 2518).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโลมา · ดูเพิ่มเติม »

โลร์มี

ลร์มี (Lor mee; ภาษาจีน: 鹵麵; Pe̍h-ōe-jī: lóo-mī) เป็นอาหารมาเลเซียที่ได้รับอิทธิพลจากอาหารจีน เสิร์ฟกับน้ำซุปข้นที่ใส่แป้ง และใส่เส้นหมี่สีเหลืองแบน อาหารนี้เป็นที่นิยมของชาวจีนฮกเกี้ยนในมาเลเซียและสิงคโปร์ นำซุปที่ข้นนั้นใส่แป้งข้าวโพด เครื่องเทศ และไข่ เครื่องปรุงอื่นที่เติมเข้ามาได้แก่โงเฮียง ลูกชิ้น เนื้อปลา ไข่ต้มผ่าครึ่ง อาจเติมน้ำส้มสายชูและกระเทียมได้ นิยมใส่พริกด้วย แบบดั้งเดิมจะใส่ปลาทอดด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโลร์มี · ดูเพิ่มเติม »

โวคาลอยด์

วคาลอยด์ (Vocaloid ボーカロイド) คือ ซอฟต์แวร์ประยุกต์รูปแบบเครื่องดนตรีที่ทำให้เกิดและปรับประสมเสียง พัฒนาโดยบริษัทยามาฮ่า ผู้ใช้สามารถพิมพ์ลงในเนื้อเพลง และทำนองเพลงได้เพื่อให้เกิดเสียงตามที่ต้องการ โดยมีเสียงคนที่บันทึกไว้ (voicebank) เป็นตัวกำหนดเอกลักษณ์ของแต่ละเสียง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโวคาลอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

โอยัวะ

อยัวะ เป็นเครื่องดื่มชนิดหนึ่งทำจากกาแฟและน้ำเชื่อม หรือ กาแฟดำร้อน ซึ่งอาจแตกต่างจากกาแฟของชาวยุโรป โอยัวะอาจมีส่วนผสมแตกจากกาแฟของชาวยุโรป หรือ อาจจัดว่าแตกออกมาจากกาแฟของชาวยุโรปโดยชาวจีนจนกลายเป็นวัฒนธรรมของชาวจีน คำว่า โอยัวะ มาจากภาษาจีนแต้จิ๋ว คำว่า โอ หมายถึง ดำ ยัวะ หมายถึง ร้อน รวมแล้วหมายถึง ดำและร้อน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโอยัวะ · ดูเพิ่มเติม »

โอเลี้ยง

อเลี้ยง หรือ กาแฟดำเย็น ทำจากกาแฟผสมกับน้ำตาลหรือน้ำเชื่อมแล้วจึงใส่น้ำแข็งลงไป คำว่า โอเลี้ยง มาจากภาษาจีนแต้จิ๋ว คำว่า โอ หมายถึง ดำ เลี้ยง หมายถึง เย็น รวมแล้วหมายถึง ดำและเย็น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโอเลี้ยง · ดูเพิ่มเติม »

โจว เหวินฟะ

ว เหวินฟะ ในเรื่อง ศึกโค่นบัลลังก์วังทอง (เข้าฉาย 1 กุมภาพันธ์ 2550) โจว เหวินฟะ (Chow Yun fat; เกิด 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2498 ที่เกาะลัมมา ฮ่องกง) เป็นหนึ่งในสุดยอดนักแสดงฮ่องกงที่ได้ก้าวเข้าสู่วงการภาพยนตร์นานาชาติ ในฐานะเดียวกับ บรูซ ลี และ เฉินหลง โจว เหวินฟะ เป็นนักแสดงที่มีบุคลิกโดดเด่น ได้รับการเปรียบว่าคล้ายคลึงกับแครี แกรนท์ นักแสดงฮอลลีวูดแต่ดูบึกบึนและจัดจ้านกว่า โจว เหวินฟะ เกิดบนเกาะลัมมา นอกชายฝั่งของเกาะฮ่องกง มีชีวิตวัยเด็กที่ยากไร้ แต่โชคดีที่เขาได้เรียนจนจบวิทยาลัย ชีวิตของเขาถึงจุดพลิกผันเมื่อได้รับเข้าเป็นนักแสดงฝึกหัดในบริษัททีวีบี ที่เป็นสถานีโทรทัศน์ท้องถิ่น เขาใช้เวลาไม่นานในการไต่เต้าขึ้นมาเป็นนักแสดงที่เป็นที่รู้จักของประชาชน หลังจากที่ละครโทรทัศน์เรื่องเจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้ (ภาษาจีน:上海灘 พินอิน:Shang Hai tan - แปลตรงตัวว่า'หาดเซี่ยงไฮ้') ประสบความสำเร็จใน พ.ศ. 2523 แม้ว่าโจว เหวินฟะ จะประสบความสำเร็จจากผลงานทางจอแก้วอย่างต่อเนื่อง ความฝันอันสูงสุดของเขายังคงเป็นการได้แสดงภาพยนตร์ทางจอเงิน แต่อย่างไรก็ดี การได้ไปโลดแล่นทางหนังจอเงินของเขาบางครั้งบางคราวในภาพยนตร์ต้นทุนต่ำ กลับกลายเป็นความหายนะ เขาประสบความสำเร็จในที่สุดเมื่อได้ร่วมงานกับจอห์น วู ผู้กำกับหน้าใหม่ที่ไม่มีใครรู้จักในขณะนั้น ในภาพยนตร์บู๊ต้นทุนต่ำเรื่อง โหด เลว ดี ในปีพ.ศ. 2529 ขึ้นอับดับสูงในการจัดอันดับหนังทำเงินในหลายประเทศในเอเชีย และส่งให้จอห์น วู และโจว เหวินฟะ กลายเป็นสุดยอดดารา โจว เหวินฟะได้ถือโอกาสนี้ล้างมือจากวงการโทรทัศน์และอุทิศตนให้กับการแสดงภาพยนตร์กังฟูมากขึ้น ภาพยนตร์เรื่องต่อมาของเขาเป็นเรื่องเกี่ยวกับการนองเลือดของวีรบุรุษ เรื่อง โหดตัดโหด (พ.ศ. 2532) และ ทะลักจุดแตก (พ.ศ. 2535) และภาพยนตร์รักโรแมนติกเรื่อง ดอกไม้กับนายกระจอก (พ.ศ. 2530) อย่างไรก็ตาม เขาสร้างชื่อมากที่สุดจากบทของบุรุษแกร่งผู้ทรงเกียรติ ไม่ว่าจะเป็นตำรวจหรืออาชญากร เขาได้ร่วมแสดงกับหลิวเต๋อหัว ในภาพยนตร์เรื่อง คนตัดคน (พ.ศ. 2532) กำกับโดย หวังจิ่ง ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้สร้างความประหลาดใจให้แก่คนจำนวนมาก และได้กลายเป็นภาพยนตร์ที่โด่งดังมากในฮ่องกง ทำลายสถิติหนังทำเงินทุกเรื่องที่มีมา และเป็นที่มาของภาพยนตร์แนวเจ้าพ่อพนันจำนวนมาก รวมถึงเรื่อง คนตัดเซียน ภาคต่อในแบบตลกขบขันที่มี โจวซิงฉือ แสดงนำ โจว เหวินฟะนอกจากจะเป็นดาราที่ร้อนแรงที่สุดในฮ่องกงคนหนึ่งแล้ว เขายังถูกฮอลลีวูดเรียกตัวไปเพื่อพยายามปั้นให้เขาประสบความสำเร็จในระดับนานาชาติอย่างเดียวกันกับในฮ่องกงและเอเชีย แต่คราวนี้ภาพยนตร์ฮอลลีวูดสองเรื่องแรกของเขา คือ นักฆ่ากระสุนโลกันต์ (พ.ศ. 2541) กำกับโดยอังตวน ฟูควา และคนคอรัปชั่น (พ.ศ. 2542) ไม่ประสบความสำเร็จในบ็อกซ์ออฟฟิศเท่าที่ควร ภาพยนตร์เรื่องต่อมาคือ แอนนา แอนด์ เดอะ คิง (พ.ศ. 2542) ที่ถูกแบนห้ามฉายในประเทศไทย ทำได้ดีกว่าเดิม แต่ความสำเร็จกลับตกอยู่กับดาราสาวโจดี ฟอสเตอร์เสียส่วนใหญ่ และราวกับเป็นเรื่องประชดแดกดัน เมื่อ โจว เหวินฟะ ยอมเล่นเป็นดาราสมทบในภาพยนตร์เรื่อง พยัคฆ์ระห่ำ มังกรผยองโลก (พ.ศ. 2543) กำกับโดยอั้ง ลี่ หนังเรื่องนี้กลับประสบความสำเร็จอย่างถล่มทลาย ได้ขึ้นอันดับหนังทำเงินสูงสุดในสหรัฐ และยังได้รับรางวัลออสการ์ถึงสี่สาขาด้วยกัน (ภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม ดนตรีประกอบยอดเยี่ยม ถ่ายภาพยอดเยี่ยม และ กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม) โจว เหวินฟะ ยังคงรอคอยกับความสำเร็จแบบเดียวกับที่เขาได้เคยลิ้มรสในฮ่องกง ครั้งหนึ่ง เขาเคยให้สัมภาษณ์กับผู้สื่อข่าวยอมรับว่า เป้าหมายสูงสุดของเขาคือการได้รางวัลออสการ์ ในฐานะดารานำยอดเยี่ยมฝ่ายชาย และเมื่อมีคนถามว่าเขาจะทำอย่างไรหากมันไม่เป็นจริงขึ้นมา โจว เหวินฟะตอบเพียงว่า "ผมก็คงต้องหัวเราะกับมัน..." งานอดิเรกที่โจว เหวินฟะโปรดปรานคือการ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโจว เหวินฟะ · ดูเพิ่มเติม »

โจฮวน

ระเจ้าโจฮวน (Cáo Huàn) เป็นฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายของวุย ก๊ก ซึ่งถูกสุมาเอี๋ยน (Sima Yan) ขับออกจากราชบังลังก์และสถาปนาราชวงศ์จิ้นขึ้นแทนที่ราชวงศ์วุยและเปลี่ยนชื่อก๊กจากวุยก๊กเป็นไต้จิ้น โจฮวน ตอนเกิดชื่อ โจฮวง (Cao Huang 曹璜) เป็นบุตรของโจฮู (Cao Yu) ซึ่งเป็นบุตรคนที่ 3 ของโจโฉกับนางฮวนฮูหยิน (บุตรคนโตของโจโฉกับนางฮวนฮูหยินคือโจฉอง ซึ่งได้ชื่อว่ามีสติปัญญาคิดวิธีชั่งน้ำหนักช้างได้ แต่เสียชีวิตตั้งแต่ยังเด็ก) ในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโจฮวน · ดูเพิ่มเติม »

โซกูด (อีพี)

ซกูด (SO GOOD) เป็นมินิอัลบั้มลำดับที่ 7 ของวงที-อารา โดยค่ายเอ็มบีเคเอนเตอร์เทนเมนต์ ซึ่งวางจำหน่ายเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโซกูด (อีพี) · ดูเพิ่มเติม »

โปรเจกต์อุลตร้าแมน

ปรเจกต์อุลตร้าแมน (Project Ultraman) เป็นภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์เกี่ยวกับอุลตร้าซีรีส์ ที่ผลิตโดยบริษัทในประเทศไทย ร่วมทุนกับบริษัทในประเทศจีน โปรเจกต์อุลตร้าแมน เป็นการร่วมทุนระหว่างบริษัท ไชโยโปรดักชั่นส์ จำกัด ร้อยละ 50 กับบริษัท ริวชิ คัลเจอร์ ดีเวลลอปปิ้ง จำกัด ร้อยละ 40 และบริษัท เอเพ็กซ์ทอย จำกัด ร้อยละ 10และมีบริษัท อาร์เอสไอ ดรีม เป็นผู้ร่วมร่วมเซ็นสัญญาซื้อลิขสิทธิ์ มีกำหนดการฉายทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในตอนแรก แต่เนื่องจากกรณีพิพาทเรื่องลิขสิทธิ์ของอุลตร้าแมน ระหว่างประเทศไทย และประเทศญี่ปุ่นจึงถูกระงับการออกอากาศตามคำสั่งศาล มิลเลนเนียม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโปรเจกต์อุลตร้าแมน · ดูเพิ่มเติม »

โป๊ยเซียน (พืช)

ป๊ยเซียน เป็นหนึ่งในไม้มงคล จัดอยู่ในวงศ์ Euphorbiaceae อยู่ในสกุล Euphorbia ซึ่งเป็นสกุลเดียวกับพืชหลายชนิด เช่น ต้นคริสต์มาส และส้มเช้า โป๊ยเซียน (八仙) มาจากภาษาจีน แปลว่าเทพยดาทั้ง 8 องค์ ได้แก่ เซียนทิก๋วยลี้ เซียนฮั่นจงหลี เซียนลือท่งปิน เซียนเจียงกั๋วเล้า เซียนหลันไฉ่เหอ เซียนฮ่อเซียนโกว เซียนหันเซียงจือ เซียนเชาก๊กกู๋ เชื่อกันว่า ถ้าบ้านใดมีดอกโป๊ยเซียนครบ 8 ดอก จะนำความโชคดีมาให้แก่บ้านของผู้นั้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโป๊ยเซียน (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

โป๊ยเซียน (เทพเจ้าจีน)

300px โป๊ยเซียน, ปาเซียน หรือ แปดเทพ (Eight Immortals หรือ Eight Genies) คือ เซียนแปดองค์ ตามความเชื่อในลัทธิเต๋าของจีน เป็นเทพเจ้าที่ชาวจีนนับถือมาช้านาน นับเป็นหนึ่งในบรรดาเซียนนับร้อย ๆ องค์ของจีน แต่เซียนทั้งแปดนี้ นับว่าเป็นที่รู้จักดีและได้นับการนับถืออย่างกว้างขวางมาก ในศาลเจ้าตามของหมู่บ้านชาวจีน มักจะมีแท่นบูชาที่ปูด้วยผ้ามีภาพวาดเซียนทั้งแปดรวมเป็นกลุ่ม บ้างก็เป็นภาพเซียนนั่งเรือกลับจากการไปงานประชุมท้อสวรรค์ (Conference of the Magical Peach) สมาชิกทั้ง 8 ในกลุ่มของโป๊ยเซียนนั้นแตกต่างกันไปตามยุคสมัย แต่ปัจจุบันนี้โป๊ยเซียนมีด้วยกันดังนี้ เซียนแต่ละองค์ในบรรดา 8 องค์นี้ มีประวัติที่มา และอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์แตกต่างกันไป ในปัจจุบันทั้งชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีน ยังนิยมนับถือบูชาโป๊ยเซียนอย่างสม่ำเสมอ หมวดหมู่:แปดเทพ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและโป๊ยเซียน (เทพเจ้าจีน) · ดูเพิ่มเติม »

ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม

en:Paiboon Damrongchaitam ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม (ชื่อเรียก: อากู๋) ประธานกรรมการบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) ผู้ดำเนินกิจการธุรกิจสื่อบันเทิงขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และประธานมูลนิธิดำรงชัยธรรม เป็นผู้ก่อตั้งบริษัท แกรมมี่ เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (ชื่อเดิมของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่) ร่วมกับเรวัต พุทธินันทน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ไก่ (แก้ความกำกวม)

ก่ โดยความหมายทั่วไปแล้วคือสัตว์ปีกชนิดหนึ่ง แต่ ไก่ ยังสามารถเป็นชื่อเฉพาะซึ่งอาจหมายถึง ชื่อบุคคล.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไก่ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ไก่เบตง

ก่เบตง (ภาษาจีน:廣西雞) เป็นไก่พันธุ์เนื้อพื้นเมืองที่นำพันธุ์มาจากประเทศจีนที่เรียกว่าไก่กวางไส ซึ่งเป็นไก่ที่มีต้นกำเนิดมาจากไก่พันธุ์แลนซาน ไก่เบตงถือว่าเป็นไก่ที่สร้างชื่อเสียงให้กับอำเภอเบตง จังหวัดยะล.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไก่เบตง · ดูเพิ่มเติม »

ไม้ไต่คู้

ม้ไต่คู้ (–็) มีลักษณะคล้ายเลขไทย (๘) ปกติใช้แทนสระเสียงสั้นลดรูปเมื่อมีพยัญชนะสะกด เช่น เล็ก แป็ก น็อก เป็นต้น อักษรเขมรมีรูปสระที่คล้ายไม้ไต่คู้ เรียกว่า อสฺฎา (แปด) ใช้แสดงการเพิ่มน้ำเสียงสำหรับคำที่มีพยัญชนะตัวเดียว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไม้ไต่คู้ · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล หว่อง

มเคิล หว่อง (Michael Wong) ดารานักแสดงชาวฮ่องกงที่เคยมีชื่อเสียงโด่งดังในประเทศไทยอยู่ระยะหนึ่ง ไมเคิล หว่อง มีชื่อเต็มว่า ไมเคิล ฟิตซ์เจอรัลด์ หว่อง (Michael Fitzgerald Wong) มีชื่อเป็นภาษาจีนว่า หว่อง หมันตั๋ก (王敏德) เกิดเมื่อวันที่ 16 เมษายน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไมเคิล หว่อง · ดูเพิ่มเติม »

ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์)

ลน์ (LINE) เป็นโปรแกรมเมสเซนเจอร์ ที่ญี่ปุ่นซื้อมาจาก Naver Corporation ของเกาหลีhttp://www.cnbc.com/2016/07/13/japanese-messaging-app-line-will-keep-close-ties-to-korean-internet-giant-naver.html ที่มีความสามารถใช้งานได้ทั้งโทรศัพท์มือถือที่มีระบบปฏิบัติการไอโอเอส, แอนดรอยด์, วินโดวส์โฟน ล่าสุดสามารถใช้งานได้บนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และแมคโอเอสได้แล้ว ด้วยความที่มีลูกเล่นมากมาย สามารถคุย ส่งรูป ส่งไอคอน ส่งสติกเกอร์ ตั้งค่าคุยกันเป็นกลุ่ม ฯลฯ ทำให้มีผู้ใช้งานโปรแกรมนี้เป็นจำนวนมาก ชาวไทยนิยมใช้เป็นอันดับสองรองจากญี่ปุ่น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) · ดูเพิ่มเติม »

ไวยากรณ์ภาษาเบงกาลี

ษาเบงกาลีเป็นภาษาที่มีการผันคำตามการกเช่นเดียวกับภาษากลุ่มอินโด-อารยันอื่นๆ ต่ไม่มีการผันคำตามเพศ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไวยากรณ์ภาษาเบงกาลี · ดูเพิ่มเติม »

ไอ อีจิมะ

อ อีจิมะ (31 ตุลาคม พ.ศ. 2515 — 24 ธันวาคม พ.ศ. 2551) มีชื่อจริงว่า มะสึเอะ โอกุโบะ บางแห่งว่า มิสึโกะ อิชิอิ เป็นนักแสดงภาพยนตร์เอวีชาวญี่ปุ่น เกิดที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น มีชีวิตยากลำบากตั้งแต่วัยเด็ก ถูกข่มขืนตั้งแต่เป็นวัยรุ่น จนต้องทำแท้ง จึงหนีออกจากบ้านไปทำงานในร้านคาราโอเกะ เป็นนักเต้นเปลือย เป็นนางแบบถ่ายรูปในนิตยสาร และแสดงในรายการโทรทัศน์สำหรับผู้ใหญ่ อีจิมะ เริ่มแสดงภาพยนตร์เอวีในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไอ อีจิมะ · ดูเพิ่มเติม »

ไอพอดชัฟเฟิล

อพอดชัฟเฟิล (iPod shuffle) เป็นเครื่องเล่นดนตรีแบบพกพาในสายการผลิตไอพอด ผลิตโดยบริษัทแอปเปิล โดยเปิดตัวในงาน Macworld ในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2548 และวางจำหน่ายในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ด้วยสโลแกนที่ว่า "Life is random" (ชีวิตคือการสุ่ม) ไอพอดชัฟเฟิลเป็นของที่ระลึกแก่ทีมงานที่ร่วมกันสร้างเรือวีนัส โดยไอพอดชัฟเฟิลนี้สลักชื่อเรือวีนัสที่หลังตัวเครื่องพร้อมกับการ์ดขอบคุณที่ระบุข้อความว่า "Thank you for your hard work and craftsmanship".

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไอพอดชัฟเฟิล · ดูเพิ่มเติม »

ไอมี

อมี (iME) เป็นเกิร์ลกรุปจากประเทศจีน ประกอบไปด้วยสมาชิกหญิงจำนวนห้าคน คือโมชีกา มีคัน นีกี ซาร่า และเฮลีย์ โดยสมาชิกสามคนแรกเป็นชาวจีน ส่วนคนที่สี่และห้าเป็นชาวไทยและเกาหลีใต้ตามลำดับ ส่วนชื่อ iME มาจาก I ย่อมาจาก"International", "Idol", "Idea" ส่วน Me ย่อมาจาก "ตนเอง" ไอมีมีผลงานเพลงภาษาจีนและภาษาไทย ไอมีเปิดตัวครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2553 โดยโมชีกา มีคัน และนีกีเคยผ่านการประกวดขับร้องเพลงจีนแฮปปีเกิร์ล 2552 ส่วนนลินธาราเป็นอดีตผู้เข้าประกวดทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชียและอดีตสมาชิกวงจีทูจี และเฮลีย์ที่เป็นเด็กฝึกงานของเอสเอ็มเอนเตอร์เทนเมนต์นั้น ได้รับการคัดเลือกจากโดเรมีมิวสิกให้เข้าเป็นสมาชิกของวง และมีเพลงเดี่ยวทั้งภาษาจีนและไทยจำนวนหนึ่ง โดยเป็นเกิร์ลกรุปวงแรกของประเทศจีน ในปี 2556 นลินธาราหนึ่งในสมาชิกวงไอมีได้ขอยุติสัญญากับทางต้นสังกัดในประเทศจีน โดยให้เหตุผลว่าไม่เป็นตัวของตัวเองและคิวงานไม่เป็นอย่างที่ตกลงไว้ก่อนหน้า สมาชิกในวงเองก็พร้อมใจจะยุบวง เธอกล่าวว่าอนาคตนั้นอาจมีการร่วมงานกันของอดีตสมาชิกในวง แต่มิใช่ในฐานะวงไอมีอีก นลินธารากล่าวในปี 2557 ว่า ทางต้นสังกัดยังไม่ประกาศยุบวงไอมีอย่างเป็นทางการและเธอก็หมดสัญญากับทางต้นสังกัดในจีนแล้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไอมี · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายอินเดีย

วไทยเชื้อสายอินเดีย คือชาวไทยที่สืบเชื้อสายมาจากชาวอินเดียที่อพยพเข้ามาอาศัยในประเทศไทย เดิมมี 2 กลุ่ม ได้แก่ ชาวซิกข์มีหลายนิกาย และชาวฮินดู.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไทยเชื้อสายอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายจีน

วไทยเชื้อสายจีน คือ ชาวจีนที่เกิดในประเทศไทยและเป็นเชื้อสายของผู้อพยพชาวจีน หรือชาวจีนโพ้นทะเล คนไทยเชื้อสายจีน มีประมาณ 9.4 ล้านคนในประเทศไทย หรือร้อยละ 14 ของประชากรทั้งประเทศ และยังมีอีกจำนวนมากไม่สามารถนับได้ เพราะที่กลมกลืนกับคนไทยไปแล้วโดยการแต่งงานข้ามเชื้อชาติ ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากบรรพบุรษจะมาจากจังหวัดแต้จิ๋ว ในมณฑลกวางตุ้ง ทางตอนใต้ของจีน พูดภาษาแต้จิ๋ว ซึ่งเป็นภาษากลุ่มหมิ่นหนาน รองลงมาคือมาจาก แคะ ฮกเกี้ยน และไหหลำ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไทยเชื้อสายจีน · ดูเพิ่มเติม »

ไทรเซราทอปส์

นาดของไทรเซราทอปซ์เมื่อเทียบกับมนุษย์ ไทรเซราทอปส์ (triceratops) เป็นไดโนเสาร์ที่มีชีวิตอยู่ในปลายยุคครีเทเชียสราว 68-65ล้านปีมันเป็น1ในไดโนเสาร์ชนิดสุดท้าย ไทรเซราทอปส์เป็นไดโนเสาร์ขนาดใหญ่หนักราว6-8ตันและยาวได้กว่า6-10เมตรโดยทั่วไปแล้วไทรเซราทอปส์จะกินเฟริน สนซึ่งเป็นพืชเนื้อหยาบมันมีจะงอยปากคล้ายนกแก้วไว้ตัดพืช และมันจะกลืนหินไปในกระเพาะเพื่อบดอาหารหินนี้เรียกว่า แกสโตรลิท ไทรเซราทอปส์มีวิถีชีวิตคล้ายแรดอยู่รวมเป็นฝูงเล็มอาหารเมื่อถูกคุกคามจากนักล่า เช่น ไทรันโนซอรัส จะหันหน้าเป็นวงกลมให้ตัวอ่อนแอและเด็กอยู่ในวงล้อม หากศัตรูเข้ามาทางใดจะพุ่งชนด้วยแรงชนกว่า6ตัน ไทรเซราทอปส์มีเขา3เขาอยู่บนหัวเขาแรกยาว20เซนติเมตรอยู่เหนือจมูก ส่วน2เขาหลังอยู่ที่ตายาวราว1เมตรแทงเพียงครั้งเดียวอาจถึงตาย บางตัวเขาอาจยาวกว่า2เมตร แต่ด้วยพละกำลังและขนาดเป็น2เท่าของช้างนักล่าส่วนใหญ่จึงไม่ค่อยโจมตีมัน แต่มันมีจุดอ่อนที่แผงคอทำให้มันมองหลังไม่ดีแต่หากโจมตีข้างหน้าสถานการจะกลับกัน ไทรเซราทอปส์กินค่อนข้างมากเฉลี่ยถึง500กิโลกรัม มันมีชื่อเสียงพอๆกับที-เร็กซ์และมักเห็นภาพมันเข้าปะทะกับที-เร็กซ์ทำให้เจ้า3เขาตัวนี้ได้คำขนานนามว่า คู่ปรับแห่งราชาไดโนเสาร์ นอกจากนี้มันยังเป็นพระเอกในการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่องไดโนคิง (DINOSAUR KING) อีกด้วย ไทรเซราทอปส์มีชื่อเต็มว่าไทรเอราทอปส์ ฮอริดัส ฟอสซิลของไทรเซราทอปส์ตัวแรกพบโดยมารช์ คู่แข็งของโคป ในสงครามกระดูกไดโนเสาร์ ปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ได่สันนิฐานว่า ไทรเซราทอปส์ น่าจะใช้เขาขวิดศัตรูแบบวัวกระทิง เนื่องจากกะโหลกของมันบาง หากใช้วิธีพุ่งชนแบบแรดอาจจะทำให้กะโหลกของมันแตกได้.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไทรเซราทอปส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทลื้อ

ทลื้อ หรือ ไตลื้อ หรือ คนลื้อ เป็นชาวไทกลุ่มหนึ่ง มีถิ่นฐานเดิมอยู่ในแถบสิบสองปันนาของจีน มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นคือการใช้ภาษาไทลื้อ และยังมีวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์อื่นๆ เช่น การแต่งกาย ศิลปะและประเพณีต่าง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไทลื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ไทไขหัว

วไทไขหัว เป็นชาวไทกลุ่มหนึ่งที่มีภูมิลำเนาอยู่ในทุ่งใหญ่ ที่มีชื่อว่า "ทุ่งไขหัว" ในแถบมณฑลยูนนาน จึงเป็นที่มาของชื่อ ชาวไทไขหัว ทุ่งนี้เป็นที่ราบสูงกว้างใหญ่ มีลำน้ำเล็กๆไหลผ่าน ชาวไทไขหัวนี้ นำเอาภาษาจีนเข้ามาใช้ปะปนกับภาษาไทอันมาก และตัวหนังสือ ก็ใช้อักษรจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไทไขหัว · ดูเพิ่มเติม »

ไดโงะฮนซง

งะฮนซง เป็นสิ่งสักการบูชาสูงสุดของศาสนาพุทธนิกายนิชิเร็งโชชู คำว่า "ได" (大) แปลว่า "ยิ่งใหญ่, สูงสุด" ส่วน "โงะฮนซน" (御本尊) หมายถึง สิ่งสักการะ คำว่า "ไดโงะฮนซง" จึงแปลว่า "สิ่งสักการะสูงสุด" ไดโงะฮนซนมีลักษณะเป็นรูปมัณฑละ (มณฑล) จารึกภาษาจีนและภาษาสันสกฤต ซึ่งทำจากไม้การบูร โดยหลักแล้วมัณฑละดังกล่าวประกอบด้วยนามของพุทธะ พระโพธิสัตว์ เทพในพุทธศาสนา และคุรุอาจารย์ต่างๆ ในศาสนาพุทธเป็นจำนวนมาก รายล้อมรอบอักษรคันจิ (อักษรจีน) ที่อยู่ศูนย์กลางมัณฑละ ซึ่งจารึกเป็นคาถาว่า "นัมเมียวโฮเร็งเงเคียวนิชิเร็ง" ตามประวัติกล่าวว่าโงะฮนซงถูกจารึกขึ้นโดยพระนิชิเร็ง (หรือ "นิชิเร็งไดโชนิง" ในหมู่สานุศิษย์แห่งนิกายนิชิเร็งโชชู) เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1279 เป็นการจำลองธรรมสภาในห้วงอวกาศขณะที่พระโคดมพุทธเจ้า (ฝ่ายมหายานนิยมเรียกว่า "พระศากยมุนีพุทธะ") แสดงพระธรรมเทศนาเรื่องสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ปัจจุบันไดโงะฮนซงประดิษฐานอยู่ ณ โฮอันโดะ วัดไทเซคิจิ จังหวัดชิซุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น อันเป็นศูนย์กลางใหญ่ของศาสนาพุทธนิกายนิชิเร็งโชชู สานุศิษย์แห่งนิกายนิชิเร็งโชชูถือว่าไดโงะฮนซงคือการรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของบุคคลและธรรม และคือจุดมุ่งหมายในการมาเกิดของพระนิชิเร็งไดโชนิง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไดโงะฮนซง · ดูเพิ่มเติม »

ไควเลออีจ้าง

วเลออีจ้าง(จีน:快乐驿站)เป็นรายการการ์ตูนซิทคอม ออกอากาศทางซีซีทีวี 3 และซีซีทีวี 4.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไควเลออีจ้าง · ดูเพิ่มเติม »

ไซอิ๋ว

วาดเรื่องไซอิ๋ว จากพระราชวังฤดูร้อน ที ประเทศจีน แสดงภาพตัวละครเอกของเรื่อง (จากซ้าย) ซุนหงอคง, ม้ามังกร, พระถังซัมจั๋ง, ตือโป๊ยก่าย, ซัวเจ๋ง ไซอิ๋ว (ซีโหยวจี้; Journey to the West แปลตรงตัวว่า บันทึกการเดินทางสู่ตะวันตก) เป็นนิยายคลาสสิกของจีน แต่งขึ้นประมาณปี ค.ศ. 1590 ช่วงราชวงศ์หมิง ประพันธ์โดย อู๋เฉิงเอิน ไซอิ๋วเป็นเรื่องของการเดินทางไปยังชมพูทวีป (อินเดีย) เพื่ออัญเชิญคัมภีร์พระพุทธศาสนาของหลวงจีนชื่อ พระถังซำจั๋ง (อ้างอิงจากผู้มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ มีนามว่าพระเสวียนจั้ง 玄奘大師) โดยมีสัตว์ 3 ตัวเป็นเพื่อนร่วมทาง คือ เห้งเจีย (ลิง) ตือโป๊ยก่าย (หมู) และซัวเจ๋ง (ปีศาจปลา) ซึ่งระหว่างการเดินทางต้องพบกับการขัดขวางของเหล่าปิศาจมากมาย ด้วยเนื้อหาที่เป็นการผจญภัย และมีสัตว์เป็นตัวเอก ทำให้ไซอิ๋วได้รับความนิยมจากหมู่เยาวชนมากที่สุดในวรรณกรรมเอกทั้ง 4 เรื่อง เป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนร่วมกับสามก๊ก(三國演義) ความฝันในหอแดง (紅樓夢) และซ้องกั๋ง (水滸傳) การ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง ดราก้อนบอล เป็นหนึ่งในงานที่ได้รับอิทธิพลจากไซอิ๋ว หลักฐานภาพจิตรกรรมฝาฝนังตุนหวง พระเสวียนจั้ง เดินทางมีสัมภาระจูงเสือเดินทางไปด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไซอิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

ไซซี

รูปวาดในจินตนาการ นางไซซี ขณะฟอกด้ายอยู่ริมลำธาร ไซซี ตามสำเนียงแต้จิ๋ว หรือ ซี ซือ ตามสำเนียงกลาง (Xi Shi) ชื่อเดิมคือ อี๋กวง (Yi Guang) เป็นหนึ่งในสี่หญิงงามแห่งแผ่นดินจีน เกิดประมาณ 506 ปีก่อนคริสตกาล ซึ่งตรงกับยุคชุนชิว ที่มณฑลเจ้อเจียง ในแคว้นเยว่ (State of Yue) ไซซีได้รับฉายานามว่า "มัจฉาจมวารี" (จีน: 沉魚 พินอิน: chén yú) ซึ่งหมายถึง "ความงามที่ทำให้แม้แต่ฝูงปลายังต้องจมลงสู่ใต้น้ำ" (so beautiful as to make swimming fish sink) ในยุคเลียดก๊กที่แต่ละแคว้นรบกันนั้น แคว้นอู๋ (State of Wu) เป็นแคว้นที่มีกองกำลังทหารที่แข็งแกร่งจึงสามารถรบชนะแคว้นเยว่และจับตัวเยว่อ๋องโกวเจี้ยน และเสนาธิการฟ่านหลีไปเป็นตัวประกันที่แคว้นอู๋ด้วย เยว่อ๋องโกวเจี้ยนต้องการที่จะแก้แค้นเพื่อกู้ชาติแต่จำต้องยอมจงรักภักดีเพื่อให้อู๋อ๋องไว้ใจ ครั้งหนึ่งอู๋อ๋องเกิดมีอาการปวดท้อง บรรดาหมอหลวงทั้งหลายไม่สามารถให้การรักษาได้ เยว่อ๋องโกวเจี้ยนได้ชิมอุจจาระของอู๋อ๋องต่อหน้าเสนาธิการทั้งปวง และบอกว่าอู๋อ๋องเพียงแค่มีพระวรกายที่เย็นเกินไป หากได้ดื่มสุราและทำร่างกายให้อบอุ่นขึ้นก็จะมีอาการดีขึ้นเอง และเมื่ออู๋อ๋องได้ทำตามก็หายประชวร อู๋อ๋องเห็นว่าเยว่อ๋องโกวเจี้ยนมีความจงรักภักดีจึงปล่อยตัวกลับคืนสู่แคว้นเยว่ เมื่อกลับสู่แคว้นเยว่ เยว่อ๋องโกวเจี๋ยนก็วางแผนที่จะกู้ชาติทันที โดยมีฟ่านหลีเป็นเสนาธิการคอยให้คำปรึกษา ฟ่านหลีได้เสนอแผนการสามอย่าง คือ ฝึกฝนกองกำลังทหาร พัฒนาด้านกสิกรรม และ ส่งสาวงามไปเป็นเครื่องบรรณาการ พร้อมกับเป็นสายคอยส่งข่าวภายในให้ ไซซีเป็นหญิงสาวชาวบ้าน ลูกสาวคนตัดฟืนที่เขาจู้หลัวซาน (ภาษาแต้จิ๋ว กิวล่อซัว) นางถูกพบครั้งแรกขณะซักผ้าริมลำธาร นางมีหน้าตางดงามมาก พร้อมกับนางเจิ้งต้าน (แต้ตั๋น) ซึ่งมีความงามไม่แพ้กัน ฟ่านหลี (เถาจูกง) เสนาบดีแคว้นเยว่เป็นผู้ดูแลอบรมนางทั้ง 2 ให้มีอุดมการณ์เพื่อบ้านเมือง เป็นเวลานานถึง 3 ปี เพื่อที่จะไปเป็นบรรณาการให้กับแคว้นอู๋ เพื่อมอมเมาให้อู๋อ๋องฟูไช เจ้านครแคว้นอู๋ ลุ่มหลงอยู่กับเสน่ห์ของนาง จนไม่บริหารบ้านเมือง ซึ่งอู๋อ๋องฟูไชหลงใหลนางไซซีมากกว่านางเจิ้งต้าน ทำให้นางเจิ้งต้านน้อยใจจนผูกคอตาย ขณะที่มาอยู่ได้เพียงปีเศษเท่านั้น ผ่านไป 13 ปี เมื่อแคว้นอู่อ่อนแอลง แคว้นเยว่ก็สามารถเอาชนะได้สำเร็จในที่สุด ภายหลังจากที่อู่อ๋องฟูไชฆ่าตัวตายไปแล้ว นางกับฟ่านหลีที่ว่ากันว่า ได้ผูกสัมพันธ์ทางใจไว้ก่อนหน้านั้นแล้ว ก็ได้หายตัวไปพร้อมกันหลังเหตุการณ์นี้ บ้างก็ว่าทั้งคู่ได้เดินทางท่องเที่ยวไปเรื่อย ๆ และไปใช้ชีวิตอยู่ด้วยกันที่ทะเลสาบไซ้โอว (ทะเลสาบซีหู) เป็นต้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไซซี · ดูเพิ่มเติม »

ไป่ตู้

ป่ตู้ เป็นเสิร์ชเอนจินอันดับหนึ่งของประเทศจีน และเป็นเว็บไซต์ที่คนใช้มากที่สุดอันดับ 4 ของโลก (ข้อมูล กรกฎาคม พ.ศ. 2549) ใน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไป่ตู้ · ดูเพิ่มเติม »

ไป่ตู้ไป่เคอ

thumbnail ไป่ตู้ไป่เคอ (แปลว่า สารานุกรมไป่ตู้) เป็นสารานุกรมออนไลน์ที่ร่วมกันเขียนในภาษาจีน จัดทำโดยไป่ตู้ เริ่มมีการสร้างขึ้นโดยการพัฒนาต่อยอดไปจากวิกิพีเดีย โดยเนื้อหาภายในได้มีนโยบายที่แตกต่างกันโดยจะไม่มีเนื้อหาที่ทำให้เกิดปัญหากับการเมืองจีน รวมถึงเรื่องลัทธิและนิกายที่ไม่ยอมรับในประเทศจีน ปัจจุบันไป่ตู้ไป่เคอมีเนื้อหามากกว่าวิกิพีเดียภาษาจีน ที่มีการถูกห้ามใช้งานหลายครั้งในประเทศจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและไป่ตู้ไป่เคอ · ดูเพิ่มเติม »

เบ็นไซเต็ง

็นไซเต็ง หรือที่เรียกอย่างสั้นว่า เบ็นเต็ง เป็นเทพีองค์หนึ่งตามคติพุทธศาสนาแบบญี่ปุ่น เป็นเทพีองค์เดียวกับพระสรัสวดีของคติศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คติการนับถือเบ็นไซเต็ง เกิดขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 6-8 ผ่านการแปล สุวรรณประภาสสูตร (Suvarṇa-prabhāsa Sūtra; 金光明経) จากภาษาจีนสู่ญี่ปุ่น โดยเนื้อหาให้พระคัมภีร์ดังกล่าวมีเนื้อหาเกี่ยวกับเบ็นไซเต็ง และยังปรากฏใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร (Saddharma Puṇḍarīka Sūtra; 妙法蓮華経) ที่ปรากฏองค์พร้อมกับเครื่องดนตรีญี่ปุ่นดั้งเดิมที่เรียกว่า บิวะ (琵琶) ต่างกับพระสรัสวดีที่ถือ พิณ (วีณา) เบ็นไซเต็ง เป็นหนึ่งในเทพแห่งโชคลาภทั้งเจ็ด และเป็นเทพีแห่งกวี อักษรศาสตร์ นาฏกรรม และดนตรี เชื่อกันว่าผู้ใดนับถือเทวีพระองค์นี้ก็จะพบแสงสว่างแห่งปัญญา ในอดีตเกชะนิยมบูชาเบ็นไซเต็งเพราะเชื่อว่าจะทำให้มีความสามารถเชิงระบำรำฟ้อน ส่วนพวกตีนแมวและพวกย่องเบาเองก็นิยมบูชาเทวีพระองค์นี้เช่นกัน เพราะเชื่อว่าเบ็นไซเต็งจะดลบันดาลให้ภารกิจลุล่วงไปด้วยดี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเบ็นไซเต็ง · ดูเพิ่มเติม »

เกา ซิงเจี้ยน

กา ซิงเจี้ยน (高行健; Gao Xingjian; 4 มกราคม ค.ศ. 1940 —) เป็นนักประพันธ์, นักเขียนบทละคร และนักวิจารณ์ผู้อพยพชาวจีน ผู้ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมใน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเกา ซิงเจี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

เกาะคริสต์มาส

กาะคริสต์มาส (Christmas Island) เป็นเกาะเล็ก ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย เป็นดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองของประเทศออสเตรเลีย อยู่ห่างจากเพิร์ท รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลียไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 2,600 กิโลเมตร และห่างจากกรุงจาการ์ตาของประเทศอินโดนีเซียไปทางใต้ 500 กิโลเมตร เกาะนี้มีประชากรทั้งสิ้น 1,493 คน ถูกจัดให้อาศัยอยู่ทางตอนเหนือ โดยอาศัยอยู่ในฟลายอิงฟิชโคฟ (หรือรู้จักกันในนาม "เดอะเซตเทิลเมนต์") ซิลเวอร์ซิตี กัมปง พูนซาน และดรัมไซต์ ส่วนใหญ่ของประชากรจะเป็นชาวจีน ร้อยละ 70 ชาวมลายู ร้อยละ 20 และชาวยุโรป อีกร้อยละ 10 และส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 36 ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 25 ศาสนาคริสต์ ร้อยละ 18 และลัทธิเต๋า ร้อยละ 15 ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ แต่ก็ใช้ภาษาจีน และภาษามลายู สื่อสารกัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเกาะคริสต์มาส · ดูเพิ่มเติม »

เก่งเต็งหนึ่ง

ก่งเต็งหนึ่ง เป็นรายการสร้างสรรค์เกี่ยวกับกิจกรรมความสามารถของเด็กและเยาวชนไทย ออกอากาศทุกวันพฤหัสบดี เวลา 16.30 - 17.00 น. ทางช่อง 9 โมเดิร์นไนน์ทีวี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเก่งเต็งหนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

เมิ้งล่า

มิ้งล่า หรือ เมืองหล้า (勐腊县; พินอิน: Měnglà Xiàn) เป็นเขตปกครองระดับเทศมณฑลในเขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ เมิ้งล่า มีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตพฤษชาติเขตร้อน มีพันธุ์ไม้มากกว่า 13,000 ชน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเมิ้งล่า · ดูเพิ่มเติม »

เมิ้งฮาย

มิ้งฮาย หรือ เมืองฮาย (勐海县; พินอิน: Měnghǎi Xiàn) คือเขตปกครองระดับเทศมณฑลในเขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเมิ้งฮาย · ดูเพิ่มเติม »

เมืองแมนแดนสันติ

มืองแมนแดนสันติ เป็นชื่อรัฐซึ่งก่อตั้งขึ้นเพื่อต่อต้านรัฐบาลในประเทศจีนตั้งแต..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเมืองแมนแดนสันติ · ดูเพิ่มเติม »

เมนูรักเชฟมือใหม่

มนูรัก เชฟมือใหม่ (ภาษาอังกฤษ: Sweet Relationship) (จีน แบบย่อ: 美味关系) (จีน ตัวเต็ม: 美味關係) (พินอิน: Měi wèi Guān xì) (ญี่ปุ่น: おいしい関係) เป็นซีรีส์ไต้หวัน นำแสดงโดย โจวอี๋หมิน (Vic Zhou), โหวเพ่ยเฉิน (Patty Hou), ไล่หย่าเหยียน (Megan Lai) และ เคอโหย่วหลุน (Alan Kuo) มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรักและการทำอาหาร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเมนูรักเชฟมือใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เมเปิลสตอรี

มเปิ้ลสตอรี่ (MapleStory, 메이플스토리) เป็นเกมประเภท MMORPG แบบสองมิติ ซึ่งเกมนี้พัฒนาโดยบริษัท Wizet ของประเทศเกาหลีใต้ โดยเปิดให้บริการครั้งแรก เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2546 สำหรับเมเปิลสตอรีของประเทศไทย เปิดให้บริการโดยบริษัท เอเชียซอฟท์ คอร์ปอเรชั่น (Asiasoft) เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2548 และได้ปิดให้บริการในวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ส่วนในประเทศเกาหลีซึ่งเป็นเจ้าแรกนั้น ยังคงเปิดให้บริการอยู่ อย่างไรก็ตาม Nexon ได้นำเกมกลับมาเปิดให้บริการอีกครั้ง ผ่านสาขาอย่างเป็นทางการในประเทศไทย วันที่ 31 ตุลาคม..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเมเปิลสตอรี · ดูเพิ่มเติม »

เลสลี จาง

ลสลี จาง (อังกฤษ: Leslie Cheung) อดีตนักแสดงและนักร้องฮ่องกงที่มีชื่อเสียง เลสลี จาง เกิดเมื่อวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1956 ที่เกาลูน มีชื่อเป็นภาษาจีนว่า จาง กั๊วหยง (อักษรจีนตัวเต็ม: 張國榮, อักษรจีนตัวย่อ: 张国荣, พินอิน: Zhāng Guóróng) โดยมีชื่อแรกเกิดว่า จาง ฟะฉุง (張發宗; Chong Koet-yùng; Chong Fat-chûng) เลสลี จาง เป็นลูกคนสุดท้องในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 10 คน โดยที่พี่คนที่ 9 นั้นอายุห่างกันมากถึง 8 ปี บิดานั้นมีอาชีพเป็นช่างตัดเสื้อรายใหญ่ที่เคยตัดเสื้อให้กับบุคคลที่มีชื่อเสียงมาแล้ว เช่น วิลเลียม โฮลเดน หรือ อัลเฟรด ฮิตช์ค็อก ในวัยเด็กนั้นเลสลี จาง เคยเผยว่าตัวเองรู้สึกเหงามากที่ต้องถูกทิ้งให้อยู่โดดเดี่ยวกับบรรดาตุ๊กตาของเล่นต่าง ๆ และพ่อก็ไม่เคยควบคุมอารมณ์ตนเองได้เลย ซึ่งชีวิตในครอบครัวนั้นเต็มไปด้วยการทะเลาะเบาะแว้งและการใช้อารมณ์ ดังนั้นจึงโตมาด้วยการที่ยายเป็นผู้เลี้ยงดู เลสลี จาง เข้าศึกษาด้านสิ่งทอที่มหาวิทยาลัยลีดส์ ประเทศอังกฤษ เพื่อสืบทอดกิจการของครอบครัว แต่ต้องกลับมาก่อนเรียนจบ เพราะบิดาป่วยหนัก เริ่มต้นอาชีพในวงการบันเทิงด้วยการเป็นนักร้องในช่วงต้นทศวรรษที่ 80 มีผลงานเพลงมากมาย ซึ่งในส่วนของการโปรโมตผลงานเพลงนี้ เลสลี จาง เคยมาโปรโมตในประเทศไทยด้วยในปี พ.ศ. 2525 ที่โรงแรมมณเฑียร ส่วนผลงานทางด้านการแสดง เลสลี จาง เริ่มต้นด้วยภาพลักษณ์ในแบบ "เด็กเสเพล" หรือ "แบดบอย" ในวงการ มีผลงานในภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงหลายเรื่อง เช่น A Better Tomorrow ใน 2 ภาคแรก จากการกำกับของจอห์น วู ในปี ค.ศ. 1986 และ ค.ศ. 1987 ที่แสดงคู่กับนักแสดงรุ่นพี่อย่าง โจว เหวินฟะ และตี้หลุง หรือในภาพยนตร์ชุด โปเยโปโลเย ที่แสดงอยู่กับ หวัง จู่เสียน รวมทั้งรับบทนำในภาพยนตร์ของหว่อง คาไว ในเรื่อง Days of Being Wild ในปี ค.ศ. 1991, Ashes of Time ในปี ค.ศ. 1994 และ Happy Together ในปี ค.ศ. 1997 แต่บทบาทการแสดงที่ทำให้ เลสลี จาง ได้รับการกล่าวขานอย่างมาก คือ การรับบทเป็น เตี่ยอี๋ นักแสดงอุปรากรจีนที่เป็นรักร่วมเพศ จากภาพยนตร๋ในการกำกับของ เฉิน ข่ายเกอ เรื่อง Farewell My Concubine ในปี ค.ศ. 1993 ซึ่งเลสลี จาง สามารถตีบทแตก และทำให้ภาพยนตร์ประสบความสำเร็จอย่างมากในการเข้าฉายทั่วโลก รวมถึงได้มีชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์สาขาภาพยนตร์ต่างประเทศยอดเยี่ยมอีกด้วย จากนั้นในปี ค.ศ. 2000 เลสลี จาง เปิดเผยว่าตนเองเป็นเกย์ รวมทั้งแต่งตัวเป็นผู้หญิงในการร้องเพลงบนเวทีอีกด้วย แม้เมื่อวัย 22 จะเคยขอ เหมา ซุ่นหวิน อดีตแฟนสาวแต่งงานด้วยก็ตาม จากผู้จัดการออนไลน์ เลสลี จาง เสียชีวิตอย่างกะทันหันจากการทำอัตวินิบาตกรรมด้วยการกระโดดลงมาจากชั้น 24 ของโรงแรมแมนดาริน โอเรียนทัล ใจกลางฮ่องกง เมื่อเวลา 17.30 น. ตามเวลาท้องถิ่น ในวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 2003 โดยเชื่อว่ามีสาเหตุจากความรักที่ไม่สมหวังกับผู้จัดการส่วนตัว โดยทิ้งจดหมายซึ่งเขียนว่าตัวเองได้รับความทุกข์ทรมานจากโรคซึมเศร้า Stephen Kelly,, 8 May 2003 ในปัจจุบัน เมื่อถึงวันที่ 1 เมษายน ของทุกปี ที่ฮ่องกงจะมีการจัดงานรำลึกถึงการจากไปของเลสลี จาง เสมอที่หน้าโรงแรมแมนดาริน โอเรียนทัล.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเลสลี จาง · ดูเพิ่มเติม »

เลียงผา

ลียงผา หรือ เยียงผา หรือ โครำ (Serows; อีสาน: เยือง) เป็นสกุลของสัตว์กีบคู่สกุลหนึ่ง ในวงศ์ Bovidae วงศ์ย่อย Caprinae คือ วงศ์เดียวกับแพะและแกะ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Capricornis (/แคป/-ปริ-คอร์-นิส/).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเลียงผา · ดูเพิ่มเติม »

เสือ

ือ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ฟิลิดีซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมวโดยชนิดที่เรียกว่าเสือมักมีขนาดลำตัวค่อนข้างใหญ่กว่าและอาศัยอยู่ภายในป่า ขนาดของลำตัวประมาณ 168 - 227 เซนติเมตรและหนักประมาณ 180 - 245 กิโลกรัม รูม่านตากลม เป็นสัตว์กินเนื้อกลุ่มหนึ่ง มีลักษณะและรูปร่างรวมทั้งพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ แตกต่างจากสัตว์ในกลุ่มอื่น หากินเวลากลางคืน มีถิ่นกำเนิดในป่า เสือส่วนใหญ่ยังคงมีความสามารถในการปีนป่ายต้นไม้ ซึ่งยกเว้นเสือชีต้า เสือทุกชนิดมีกรามที่สั้นและแข็งแรง มีเขี้ยว 2 คู่สำหรับกัดเหยื่อ ทั่วทั้งโลกมีสัตว์ที่อยู่ในวงศ์เสือและแมวประมาณ 37 ชนิด ซึ่งรวมทั้งแมวบ้านด้วย เสือจัดเป็นสัตว์นักล่าที่มีความสง่างามในตัวเอง โดยเฉพาะเสือขนาดใหญ่ที่แลดูน่าเกรงขราม ไม่ว่าจะเป็นเสือโคร่งหรือเสือดาว ผู้ที่พบเห็นเสือในครั้งแรกย่อมเกิดความประทับใจในความสง่างาม แต่ในขณะเดียวกันก็เกิดความหวาดหวั่นเกรงขามในพละกำลังและอำนาจภายในตัวของพวกมัน เสือจึงได้รับการยกย่องให้เป็นราชาแห่งสัตว์ปา และเป็นจ้าวแห่งนักล่าอย่างแท้จริง เสือ จ้าวแห่งนักล่า, ศลิษา สถาปรวัฒน์, ดร.อลัน ราบิโนวิทซ์, สำนักพิมพ์สารคดี, 2538, หน้า 14 ปัจจุบันจำนวนของเสือในประเทศไทยลดจำนวนลงเป็นอย่างมากในระยะเวลาไม่ถึง 10 ปี เสือกลับถูกล่า ป่าภายในประเทศถูกทำลายเป็นอย่างมาก สภาพธรรมชาติในพื้นที่ต่าง ๆ ถูกเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ของมนุษย์เอง ทุกวันนี้ปริมาณของเสือที่จัดอยู่ในลำดับสุดท้ายของห่วงโซ่อาหารถือเป็นสิ่งจำเป็น เพราะการสูญสิ้นหรือลดจำนวนลงอย่างมากของเสือซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อ จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและระบบนิเวศทั้งหมด การลดจำนวนอย่างรวดเร็วของเสือเพียงหนึ่งหรือสองชนิดในประเทศไทย ทำให้ปริมาณของสัตว์กินพืชเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทำให้ธรรมชาติเสียความสมดุลในที.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเสือ · ดูเพิ่มเติม »

เสียงกัก ริมฝีปาก ไม่ก้อง

ียงกัก ริมฝีปาก ไม่ก้อง หรือ เสียงระเบิด ฐานริมฝีปาก อโฆษะ (voiceless bilabial plosive) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ p เสียงนี้ในภาษาไทยจะสะกดด้วยตัวอักษร ป ผ พ แล.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเสียงกัก ริมฝีปาก ไม่ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เสียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้อง

ียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้อง เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /t͡ɕ/ (เดิมใช้ /ʨ/) และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ ts\ เสียงนี้ในภาษาไทยจะสะกดด้วยตัวอักษร จ เมื่อไม่พ่นลม และ ฉ ช ฌ เมื่อพ่นลม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเสียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง

ียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง (voiceless velar fricative) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่น ภาษาเยอรมัน, ภาษาสเปน, ภาษาโปรตุเกส, ภาษารัสเซีย, ภาษาจีนกลาง ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /x/ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ x เสียงนี้เป็นเสียงหนึ่งในบรรดาเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษเก่า และยังคงปรากฏในบางภาษาถิ่นของภาษาอังกฤษปัจจุบัน หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่างประเทศของราชบัณฑิตยสถานได้กำหนดให้เขียนทับศัพท์เสียง /x/ ในทุกภาษา (เท่าที่ได้กำหนดหลักเกณฑ์ไว้) ด้วย ค ยกเว้นภาษาอังกฤษให้ใช้ ก เมื่อเป็นตัวสะกด ส่วนภาษาจีนและภาษารัสเซียให้ใช้ ฮ อย่างไรก็ตาม ในการทับศัพท์ภาษารัสเซียนั้น ปัจจุบันนิยมใช้ ค แทนเสียงนี้ แม้แต่ในสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ที่มาจากราชบัณฑิตยสถานเอง ส่วนภาษาสเปน (ซึ่งพบเสียงนี้เป็นตัวสะกดท้ายพยางค์ไม่บ่อยนัก) บางคนนิยมทับศัพท์เสียงนี้ด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เส้นหมี่

้นหมี่อบแห้ง เส้นหมี่ หรือ หมี่ขาว คือเส้นก๋วยเตี๋ยวที่ทำจากข้าว มีลักษณะเป็นเส้นกลมสม่ำเสมอสีขาว เส้นเล็กและยาว คล้ายวุ้นเส้นแต่ไม่มีความใส เส้นหมี่ใช้เป็นส่วนประกอบในอาหารหลายชนิดในประเทศจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยมักนำไปทำเป็น ก๋วยเตี๋ยว ราดหน้า ผัดซีอิ๊ว ผัดหมี่ เป็นต้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเส้นหมี่ · ดูเพิ่มเติม »

เหย่เหริน

อักษรสลักเป็นภาษาจีนบนหน้าผา ความว่า "ถ้ำของเหย่เหริน" ในมณฑลหูเป่ย์ตะวันตก เหย่เหริน หรือ ซูเหริน (อังกฤษ: Yeren, Yiren, Yeh Ren; จีน: 野人; พินอิน: Yěrén แปลว่า "คนป่า"; อังกฤษ: Xueren; จีน: 神农架野人; พินอิน: Shénnóngjiàyěrén แปลว่า "คนป่าแห่งเสินหนงเจี้ย") หรือ มนุษย์หมี (อังกฤษ: Man Bear; จีน: 人熊; พินอิน: Ren Xiong) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งที่เชื่อว่า มีลักษณะคล้ายมนุษย์แต่มีขนดกปกคลุมอยู่ทั่วร่าง อาศัยอยู่ ณ เขตอนุรักษ์ป่าดึกดำบรรพ์เขาเสินหนงเจี้ย ในมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน โดยเหย่เหริน มีลักษณะคล้ายอุรังอุตังที่พบบนเกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา ในอินโดนีเซีย มีขนสีน้ำตาลแดงเข้มยาว 3–4 เซนติเมตร มีท้องขนาดใหญ่ ยืนด้วยขาหลังทั้งสองข้าง มีความสูง 5–7 ฟุต หรือ 8 ฟุต แต่มีรายงานว่าสามารถเคลื่อนไหวได้รวดเร็ว ใบหน้ามีลักษณะผสมกับระหว่างมนุษย์และเอป มีส่วนของขาหน้าหรือมือมีนิ้ว 5 นิ้ว โดยที่นิ้วโป้งแยกออกมาเหมือนมนุษย์ เคยมีการพบรอยเท้าของเหย่เหรินมีความยาว 16 นิ้ว มีโครงสร้างที่ใกล้เคียงกับเอป ในตัวผู้มีองคชาตเหมือนผู้ชาย ในขณะที่ตัวเมียมีเต้านมเหมือนผู้หญิง ส่งเสียงร้องได้ดังและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เชื่อกันว่า เหย่เหริน มีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์นีแอนเดอร์ธาลที่เคยอาศัยอยู่ในเอเชียเหนือ และเอเชียกลาง เมื่อ 350,000 กว่าปีก่อน ซึ่งเมื่อเทียบกับสัตว์ชนิดอื่นที่คล้ายคลึงกัน เช่น บิ๊กฟุตในอเมริกาเหนือ ในคติของจีนมีศัพท์ที่ใช้เรียกสัตว์ที่มีลักษณะเช่นนี้โดยเฉพาะ โดยมีผู้เชื่อว่าอาจจะมีจำนวนเหย่เหรินมากถึง 1,000–2,000 ตัวอาศัยอยู่ในประเทศจีนตอนกลาง นักวิทยาศาสตร์ชาวจีนที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับการมีอยู่ของเหย่เหริน โดยการกล่าวอ้างถึงจากนักท่องเที่ยวที่ได้มาเที่ยวยังเขตอนุรักษ์ป่าดึกดำบรรพ์เขาเสินหนงเจี้ย โดยค้นพบรอยเท้าและทำการหล่อเป็นปูนปลาสเตอร์เพื่อศึกษา ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่มีทฤษฎีว่า เหย่เหรินอาจจะเป็นเอปขนาดใหญ่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ชนิดที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gigantopithecus blacki ที่เคยอาศัยอยู่ในเอเชียกลาง แต่ได้สูญพันธุ์ไปแล้วกว่า 500,000 ปี มีนักวิชาการที่ได้รับทุนจากรัฐบาลให้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของเหย่เหริน สามารถเก็บตัวอย่างขนที่เชื่อว่าเป็นของเหย่เหรินได้เมื่อนำไปเทียบกับขนของลิงหรือเอปที่เป็นที่รู้จัก ปรากฏว่าไม่ตรงกับชนิดใดเลย ในตำนานพื้นบ้านแถบนี้ เหย่เหรินถูกเล่าขานว่าเป็นสัตว์กินเนื้อ และจับมนุษย์ฉีกแขนขากินเป็นอาหารด้วย ปัจจุบันแม้จะมีการสำรวจศึกษาเกี่ยวกับเหย่เหรินมากขึ้น แต่เรื่องของเหย่เหรินก็ยังคงอยู่ในความเชื่อของชาวจีนพื้นถิ่น ซึ่งป่าที่เหย่เหรินอาศัยอยู่นั้นก็ถือได้ว่าเป็นป่าดึกดำบรรพ์ที่เป็นพื้นที่อนุรักษ์ มีพรรณพืชและพรรณสัตว์โบราณและหายากหลายชนิดอาศัยอยู่ด้วย โดยบางคนที่อ้างว่าเคยพบเห็นเหย่เหริน เป็นเจ้าหน้าที่ของเขตอนุรักษ์ อ้างว่าตนเคยคิดที่จะจับเหย่เหรินด้วยซ้ำ โดยเชื่อว่าเหย่เหรินอาศัยอยู่ในป่าหินซึ่งเป็นจุดสูงสุดของเขตป่าอนุรักษ์เสินหนงเจี้ย รวมถึงมีมัคคุเทศก์ท้องถิ่นขณะนำพานักท่องเที่ยวบนรถทัวร์ ได้เห็นเหย่เหรินตัวหนึ่งที่มีขนสีดำวิ่งตัดหน้ารถด้วยสองขาหลัง คนขับรถได้ตะโกนบอกว่า "เหย่เหริน ๆ" ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเพิ่มเติม พบว่า เหย่เหรินไม่อยู่เป็นกลุ่ม แต่จะอยู่กันเป็นคู่ ๆ ระหว่างตัวผู้และตัวเมีย โดยปกติจะเดินด้วยสองขาหลัง แต่สามารถใช้ขาทั้งสี่ข้างปีนป่ายได้รวดเร็ว โดยกินอาหารจำพวก ผลไม้, ถั่ว, ข้าวโพด และแมลงบางชนิด ในสถานที่ ๆ ไม่มีใครมาพบเห็น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเหย่เหริน · ดูเพิ่มเติม »

เหวัชระ

หวัชระและไนราตมยะ ล้อมรอบด้วยฑากิณี 8 ตน เหวัชระ (ภาษาทิเบต: ཀྱེའི་རྡོ་རྗེ་ kye'i rdo rje / kye rdo rje; ภาษาจีน: 喜金刚 Xǐ jīngāng) เป็นอีกภาคหนึ่งของเหรุกะ ที่สะท้อนถึงจิตใจด้านดีงามต่างจากเหรุกะที่สะท้อนจิตใจด้านชั่วร้าย ถือเป็นยิดัมเช่นกัน อิตถีภาวะของเหวัชระเรียกว่าวัชรโยคินีหรือไนราตมยะ ซึ่งบ่งถึงสุญตาหรือความไร้ตัวตน รูปปั้นของเหวัชระมีกายสีน้ำเงิน แปดเศียร สี่ขา สิบหกกร ถือถ้วยรูปหัวกะโหลกที่บรรจุรูปพระธยานิพุทธะหรือเทพต่างๆ รวมถึงสัญลักษณ์ของพุทธะและเทพเหล่านั้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเหวัชระ · ดูเพิ่มเติม »

เหวง โตจิราการ

นายแพทย์ เหวง โตจิราการ (1 เมษายน พ.ศ. 2494 -) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน และแกนนำสมาพันธ์ประชาธิปไตย เป็นอดีตนายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเหวง โตจิราการ · ดูเพิ่มเติม »

เอสเอ็มเอฟ

อสเอ็มเอฟ (SMF ย่อมาจาก Simple Machines Forum) เป็นโปรแกรมระบบกระดานสนทนาหรือที่นิยมเรียกกันว่าเว็บบอร์ดบนอินเทอร์เน็ตแบบโอเพนซอร์ส ทำงานด้วยภาษาพีเอชพี ควบคู่กับระบบฐานข้อมูล โดยรับรองการทำงานของฐานข้อมูลหลากหลายชนิด ได้แก่ MySQL, SQLite หรือ PostgreSQL ด้วยความที่ใช้ภาษาพีเอชพีในการพัฒนา รวมถึงการแพร่หลายของระบบฐานข้อมูล MySQL รวมถึงมีตัวช่วยการติดตั้งที่ง่าย (Wizard installer) มีรูปแบบของธีม (Themes) และส่วนเสริมฟังก์ชันการใช้งาน (Modifications) ให้เลือกใช้มากมาย ทำให้ SMF ได้รับความนิยมอย่างแพร่หล.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเอสเอ็มเอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียใต้

แผนที่เอเชียใต้ สีเขียวเข้มแสดงเอเชียใต้โดยทั่วไป และสีเขียวอ่อนคือเขตที่สหประชาชาติหมายถึงเอเชียใต้ เอเชียใต้เป็นภูมิภาคของทวีปเอเชีย และเป็นที่ตั้งของประเทศอินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศ ศรีลังกา เนปาล ภูฏาน และมัลดีฟส์ มีพื้นที่กว้าง 4,480,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 12% ของทวีปเอเชีย ภูมิภาคนี้ยังเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า อนุทวีปอินเดีย ประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคนี้ทั้งหมดต่างก็เป็นสมาชิกขององค์กรความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียใต้ (The South Asian Association for Regional Cooperation หรือ SAARC) ในบางครั้งพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดของประเทศอัฟกานิสถาน ก็ถูกจำแนกให้เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียใต้ด้วย อนุภูมิภาคเอเชียใต้แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเอเชียใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เผาตำรา ฝังบัณฑิต

ผาตำรา ฝังบัณฑิต กล่าวถึงเหตุการณ์เผาตำราที่คาดว่าเกิดขึ้นเมื่อปี 213 ก่อนคริสตกาล และฝังนักคิดและปัญญาชนสำนักวิชาขงจื๊อทั้งเป็นจำนวน 460 คนเมื่อปี 210 ก่อนคริสตกาล โดย จิ๋นซีฮ่องเต้ จักรพรรดิพระองค์แรกแห่งราชวงศ์ฉินในยุคจีนโบราณ เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดความสูญเสียตำราและคัมภีร์ที่มีเนื้อหาหลักปรัชญาของขบวนการสำนักความคิดทั้งร้อยจำนวนมาก หลักปรัชญาทางการของรัฐบาล (“การยึดถือกฎ”) ยังคงอยู่รอดมาได้ นักคิดและปัญญาชนยุคปัจจุบันตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับรายละเอียดของเรื่องราวใน “บันทึกประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่” เป็นแหล่งข้อมูลหลักตั้งแต่ ซือหม่า เชียน เขียนบันทึกเอาไว้เมื่อศตวรรษที่ 1 หรือหลังจากเหตุการณ์ผ่านไปแล้ว 100 ปีและยังเป็นเจ้าหน้าที่ในราชสำนักแห่งราชวงศ์ฮั่น ซึ่งเป็นราชวงศ์ที่สืบต่อจากราชวงศ์ฉิน และคาดว่าในบันทึกอาจจะแสดงถึงข้อความอันเป็นปฏิปักษ์ต่อราชวงศ์ฉิน ในขณะที่เป็นที่ชัดเจนว่าจักรพรรดิจิ๋นซีทรงรวบรวมและทำลายงานเขียนจำนวนมากซึ่งพระองค์ทรงพิจารณาว่าเป็นภัยต่อราชบังลังก์ เอกสารแต่ละฉบับจะทำสำเนาไว้ 2 ฉบับถูกเก็บรักษาไว้ในห้องสมุดของจักรพรรดิซึ่งถูกทำลายจากศึกสงครามที่เกิดขึ้นภายหลังการล่มสลายของราชวงศ์ฉิน ปัจจุบันนี้เป็นที่เชื่อกันว่ามีนักคิดและปัญญาชนจำนวนมากถูกฆ่า แต่พวกเขาเหล่านี้ไม่ได้สังกัดในสำนักวิชาขงจื้อและไม่ได้ถูก “ฝังทั้งเป็น” ในบางกรณีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนี้และสำนวนที่ว่า “เผาตำรา ฝังบัณฑิต” ได้กลายเป็นตำนานที่ยังคงอยู่รอดมาได้ในมรดกของขงจื้อ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเผาตำรา ฝังบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

เจริญ สิริวัฒนภักดี

นายกองเอก เจริญ สิริวัฒนภักดี (จีน:苏旭明; พินอิน:Sū Xùmíng) (เคียกเม้ง แซ่โซว, เจริญ ศรีสมบูรณานนท์) (เกิด 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2487) คือนักธุรกิจชาวไทยเชื้อสายจีน ประกอบธุรกิจหลายแขนง อาทิ อุตสาหกรรมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เฯลฯ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นประธานกรรมการบริษัทไทยเบฟเวอเรจประธานกรรมการบริหาร บริษัท ทีซีซี แลนด์ แอสเสท เวิรด์ จำกัด ประธานกรรมการบริษัท บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) เจ้าของบริษัทเบียร์ช้าง และ บริษัทในเครือ สมาชิกสมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน อดีตอุปนายกอาวุโส ในสมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ นอกจากนั้นยังเข้าเป็นผู้สนับสนุนหลักของสโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตันในฟุตบอลพรีเมียร์ลีก เจ้าของกิจการ โรงแรม พลาซ่า แอททินี่ ในกรุงเทพมหานคร และในนครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา จากการจัดอันดับโดยนิตยสารฟอร์บ (ข้อมูล ณ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559) เจริญ สิริวัฒนภักดี มีทรัพย์สินรวมทั้งหมด 10,700 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเป็นมหาเศรษฐีอันดับที่ 1 ของประเทศไทย (อันดับ 2 คือนายธนินท์ เจียรวนนท์ เจ้าของธุรกิจเครือเจริญโภคภัณฑ์ อันดับ 3 คือนายวาณิช ไชยวรรณ เจ้าของธุรกิจไทยประกันชีวิต คิดเป็นมหาเศรษฐีอันดับที่ 94 ของโลก นายกองเอก เจริญ สิริวัฒนภักดี สมรสแล้วกับ คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี มีบุตร 5 คน (ชาย 2 คน หญิง 3 คน) ได้แก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเจริญ สิริวัฒนภักดี · ดูเพิ่มเติม »

เจริญ เอี่ยมพึ่งพร

ริญ เอี่ยมพึ่งพร หรือ คุณเชน ประธานกรรมการบริหารบริษัท ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 เป็นบุตรของ นายคีเท้ง และนางเหวงเซียะ มีพี่น้อง 8 คน เป็นคนสุดท้อง มีชื่อเป็นภาษาจีนว่า ยู่เฮ้ง แซ่เอี๊ย จบการศึกษาจากโรงเรียนสุพิทยศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียนบูรณวิทย์ และประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาการบัญชีจากโรงเรียนพณิชยการกรุงเทพ เข้าสู่แวดวงภาพยนตร์ตั้งแต่ศึกษาจบชั้น ปว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเจริญ เอี่ยมพึ่งพร · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายต็อก-โอชิริน นามนานซือเหริน

ต็อก-โอชิริน นามนานซือเหริน (มองโกเลีย: Төгс-Очирын Намнансүрэн; จีน: 那木囊蘇倫; ทิเบต: རྣམ་སྣང་སྲུང་།; ค.ศ. 1878 - เมษายน ค.ศ. 1919) ตำแหน่งเต็มคือ เซนโนโยนข่าน นามนานซือเหริน (Сайн ноён хан Намнансүрэн, Good Noyan Khan Namnansuren) เป็นเจ้าชายผู้สืบทอดตำแหน่งมาตั้งแต่โบราณของมองโกลและทรงอำนาจมาก และเป็นผู้ที่มีความโดดเด่นในช่วงยุคต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเป็นผู้นำในการเรียกร้องเอกราชของมองโกเลีย พระองค์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนแรกของราชอาณาจักรมองโกเลียในคณะรัฐบาลของพระมหากษัตริย์ซึ่งก็คือ บอจด์ ข่าน ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเจ้าชายต็อก-โอชิริน นามนานซือเหริน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหลวงเสือก่าฟ้า

้าหลวงเสือก่าฟ้า ทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรอาหม สันนิษฐานกันว่า พระองค์เป็นเจ้าองค์หนึ่งในเมืองมาวหลวง ซึ่งก่อตั้งโดยกษัตริย์พระนามว่า ขุนลุง ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของพระองค์ เสือก่าฟ้าได้เกิดความขัดแย้งกับญาติพี่น้อง และในที่สุดจึงได้นำสมบัติประจำราชวงศ์ซึ่งเป็นเทวรูปนาม สมเทวะ อพยพออกมาจากมาวหลวง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเจ้าหลวงเสือก่าฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาอัมพา ในรัชกาลที่ 2

้าจอมมารดาอัมพา ในปัจฉิมวัย เจ้าจอมมารดาอัมพา มีสมญาในการแสดงว่า อัมพากาญจหนา เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระทายาทสืบเชื้อสายในสายราชสกุลกปิตถา และปราโม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเจ้าจอมมารดาอัมพา ในรัชกาลที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

เธอคือพรหมลิขิต

อคือพรหมลิขิต เป็นละครโทรทัศน์ไทยแนวโรแมนติก-ดราม่า−คอมมาดี้ โดย เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ ได้ซื้อลิขสิทธิ์ละครชุด Fated to Love You (ภาษาจีน: 命中注定我愛你, โชคชะตาพามาปิ๊งรัก) เวอร์ชันปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเธอคือพรหมลิขิต · ดูเพิ่มเติม »

เทมาเส็ก

ทมาเส็ก (อังกฤษ: Temasek; จีน: 淡马锡), หรือ 'เมืองทะเล' ในภาษาชวา (สะกด: Tumasik) น่าจะเคยเป็นชื่อของเมืองที่เคยตั้งอยู่ในพื้นที่ที่เป็นประเทศสิงคโปร์ในปัจจุบัน ชื่อนี้ถูกเปลี่ยนเป็น สิงหปุระ ('นครสิงโต' ในภาษาสันสกฤต) เมื่อราวตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 15 เมื่อตอนที่ โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ ชาวอังกฤษเดินทางมาถึงใน ค.ศ. 1819 พื้นที่นี้มีเพียงหมู่บ้านชาวประมงหนึ่งแห่ง ดังนั้นเราจึงไม่อาจกล่าวได้ว่า สิงคโปร์ในปัจจุบันและเทมาเส็กนั้นเป็นเมือง ๆ เดียวกัน แม้ว่ามันทั้งสองจะตั้งอยู่บนที่ที่เดียวกันก็ตาม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเทมาเส็ก · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลพ้อต่อ

ทศกาลพ้อต่อ (ตัวเต็ม: 普渡, ตัวย่อ: 普渡, พินอิน: Pǔ dù ผูตู้, ฮกเกี้ยน: พ้อต่อ) จะจัดประมาณ วันสารทจีน เป็นงานที่จัดขึ้นตามความเชื่อของชาวจีน ในประเทศไทยมีการจัดงานนี้ขึ้นในจังหวัดภูเก็ต โดยได้รับอิทธิพลจากชาวจีนที่เข้ามาตั้งรกรากเมื่อร้อยกว่าปีก่อน โดยจัดตั้งแต่วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 7 ตามปฏิทินจันทรคติจีน (七月十五日) (ตรงกับเดือน 9 ปฏิทินจันทรคติไทย) ในช่วงเทศกาลดังกล่าวผู้คนจะหาของมาเซ่นไหว้วิญญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณเร่ร่อนทั้งหล.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเทศกาลพ้อต่อ · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลกินเจ

ทศกาลกินเจ หรือ กินแจ (九皇勝會 Jiǔ huán Shèng huì; ฮกเกี้ยน: กิ้วอ๋องเซ่งโห่ย; Nine Emperor Gods Festival หรือ 九皇大帝誕; ฮกเกี้ยน: กิ้วอ๋องไต่เต้ตั้น) หรือบางแห่งเรียกว่า ประเพณีถือศีลกินผัก เป็นประเพณีแบบลัทธิเต๋ารวม 9 วัน กำหนดเอาวันตามจันทรคติ คือ เริ่มต้นตั้งแต่วันขึ้น 1 ค่ำ ถึง ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 9 ตามปฏิทินจีนของทุกปี มีจุดเริ่มต้นจากประเทศจีนมานานแล้ว โดยมีตำนานเล่าขานกันหลายตำนาน ปัจจุบัน เทศกาลกินเจจัดขึ้นในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย ตลอดจนหมู่เกาะเรียวในอินโดนีเซียและอาจมีในบางประเทศเอเชีย เช่น ภูฏาน ญี่ปุ่น เกาหลี และประเทศจีน(ประกอบด้วยฮ่องกงและมฑทณไต้หวัน) ซึ่งการกินเจในเดือน 9 นี้ เชื่อกันว่าน่าจะเกิดขึ้นเมื่อราว..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเทศกาลกินเจ · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลโคมไฟ

ทศกาลโคมไฟ คือ เทศกาลฉลองในวันที่ 15 เดือน 1 ตามปฏิทินจันทรคติ เป็นสัญลักษณ์ของวันสุดท้ายในการฉลองเทศกาลปีใหม่ของจีนตามปฏิทินทางจันทรคติ ในเทศกาลโคมไฟ เด็กๆ จะถือโคมไฟกระดาษ ออกไปวัดกันในตอนกลางคืน และพากันทายปริศนาที่อยู่บนโคมไฟ เรียกว่า ไชเติงหมี ในสมัยโบราณ, โคมไฟจะทำเป็นรูปแบบง่ายๆ จะมีเพียงแต่ของกษัตริย์ และขุนนางเท่านั้นที่จะมีโคมไฟที่หรูหราใหญ่โต แต่ในสมัยปัจจุบัน, โคมไฟได้ถูกประดับประดาด้วยรูปแบบที่ซับซ้อนมากขึ้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเทศกาลโคมไฟ · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑล

น์ตี (county) เป็นหน่วยย่อยของการปกครองในหลายประเทศ มีไว้เพื่อการบริหารท้องถิ่นตลอดจนการอื่นที่จำเป็นThe Chambers Dictionary, L. Brookes (ed.), 2005, Chambers Harrap Publishers Ltd, Edinburgh คำ เคาน์ตี มาจากภาษาฝรั่งเศสเก่า conté (กงเต) แปลว่าเขตการปกครองภายใต้เจ้าต่างกรมหรือขุนนางระดับเคานต์The Oxford Dictionary of English Etymology, C. W. Onions (Ed.), 1966, Oxford University Press เคาน์ตีในแต่ละประเทศมีฐานะการปกครองที่แตกต่างกันไม่เป็นแบบเดียวกันเสียทีเดียว จึงต้องพิจารณาถึงฐานะการปกครองเสียก่อนจึงเทียบให้เข้ากับระบบการปกครองของไทย ในสหรัฐอเมริกา เคาน์ตีมักเรียกว่า เทศมณฑล มีฐานะรองลงจากรัฐ (ซึ่งมีรัฐบาลอิสระจากรัฐบาลกลาง) แต่ใหญ่กว่าหมู่บ้านหรือเมือง แต่ในสหราชอาณาจักร เคาน์ตีมีฐานะเป็นจังหวัดที่มีผู้ว่าราชการจังหวัดประจำ รวมทั้งมีสภาจังหวัดและ/หรือสภาอำเภอ (กรมการอำเภอ) ปกครอง ในประเทศต่าง ๆ นอกจากนี้ คำ เคาน์ตี จะหมายถึงหน่วยการปกครองที่แตกต่างกันออกไป (โปรดดูรายละเอียดในบทความ).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเทศมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

เทียนชาน

ทียนชาน (Tian Shan หรือ Tien Shan) เป็นเทือกเขาขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ในเอเชียกลาง ยอดที่สูงที่สุดคือ เจงิชโชกูซู ชื่อท้องถิ่นของเทือกเขานี้ได้แก่: 天山 (ภาษาจีน), Хан Тәңірі (ภาษาคาซัค; Khan Tengri; ตรงตัว "Empyrean God"/"Heavenly Mountains"), Теңир-Тоо (ภาษาคีร์กีซ; Tengir-Too; ตรงตัว "Heavenly Mountains"/"เทือกเขาสวรรค์"/"Mountains of Tengri"), Тэнгэр уул (ภาษามองโกเลีย; "Tenger Uul";"Heavenly Mountains") และ تەڭرى تاغ (ภาษาอุยกูร์; Tengri Tagh หรือ Tangritah) ภาพเทือกเขาเทียนชานในอวกาศเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2540 กับทะเลสาบอือซึกในคีร์กีซสถานทางตอนเหนือ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเทียนชาน · ดูเพิ่มเติม »

เทียนจินแอร์ไลน์

ทียนจินแอร์ไลน์ (จีน: 天津航空)(เดิมคือ แกรนด์ไชน่าเอ็กเพรสส์แอร์) เป็นสายการบินท้องถิ่นในประเทศจีน มีสำนักงานอยู่ที่เมืองเทียนจิน ประเทศจีน ให้บริการเที่ยวบินผู้โดยสารและส่งสินค้าจากท่าอากาศยานนานาชาติเทียนจินปินไห่สู่ท่าอากาศยานอื่นในประเทศจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเทียนจินแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศจีน

ตการปกครองของจีน เขตการปกครองของจีน มีอยู่ด้วยกัน 3 ระดับ ได้แก่ มณฑล อำเภอ และ ตำบล แต่ในปัจจุบันได้เพิ่มมาอีก 2 ระดับ คือ จังหวัด และ หมู่บ้าน ซึ่งถ้านำมาเรียงใหม่จะได้เป็น มณฑล จังหวัด อำเภอ ตำบล และ หมู่บ้าน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเขตการปกครองของประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองชนชาติทิเบต ไห่เป่ย์

ตปกครองตนเองชนชาติทิเบต ไห่เป่ย์ (Haibei Tibetan Autonomous Prefecture) เป็นเขตปกครองตนเองระดับจังหวัดทางตะวันออกเฉียงเหนือของมณฑลชิงไห่ ประเทศจีน มีเนื้อที่ 39,354 ตารางกิโลเมตร (15,195 ตารางไมล์) และเป็นที่ตั้งของเทศมณฑลไห่หยั่น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเขตปกครองตนเองชนชาติทิเบต ไห่เป่ย์ · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด เจียง

วิด เจียง (อังกฤษ: David Chiang) นักแสดงชาวฮ่องกงผู้เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีจากภาพยนตร์กำลังภายในในยุคทศวรรษที่ 70 เดวิด เจียง มีชื่อเป็นภาษาจีนว่า เจียง ต้าเหว่ย (อักษรจีนตัวเต็ม: 姜大衛, อักษรจีนตัวย่อ: 姜大卫) มีชื่อเดิมว่า เจียง เหว่ยเหนียน (姜偉年) เกิดเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน ค.ศ. 1947 ที่เมืองซูโจว มณฑลเจ้อเจียง เข้าสู่วงการการแสดงด้วยการเป็นนักแสดงประกอบแอ็คชั่นในชั้นเรียนการแสดงที่ไต้หวัน และยังเรียนศิลปะการต่อสู้ตามพวกหลิว เจียเหลียง เมื่อปี ค.ศ. 1967 และเข้าสู่วงการบันเทิงอย่างจริงจังในปี ค.ศ. 1968 โดยเป็นนักแสดงประกอบของบริษัทชอว์บราเดอร์ส หลังจากนั้นจึงมารับบทนักแสดงนำ โดยหลังจากที่ หวัง หยู่ นักแสดงประจำของชอว์ฯย้ายไปรับงานแสดงที่ไต้หวัน เนื่องจากถูกชอว์บราเดอร์สปลดเพราะเรียกร้องขอเพิ่มต่าตัว เดวิด เจียงจึงเข้ามาสวมบทจอมยุทธ์แทน และหลังจากนั้นเดวิด เจียงก็กลายเป็นนักแสดงชั้นนำของชอว์ฯ คนต่อมา โดยผลงานส่วนใหญ่เป็นภาพยนตร์กำลังภายในเกือบทั้งสิ้น เดวิด เจียง เรียนระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยฮ่องกง แต่ไม่จบ เดวิด เจียง จัดเป็นนักแสดงชายที่มีรูปร่างหน้าตาไม่หล่อ ซ้ำยังมีรูปร่างเล็กและบอบบาง แต่มีความปราดเปรียวและมีจุดเด่นคือ การแสดงออกทางสีหน้าแววตาที่ผู้กำกับหลายคนเห็นตรงกันว่า เหมาะสมกับการรับบทนำในภาพยนตร์กำลังภายใน โดยเฉพาะที่ดัดแปลงมาจากบทประพันธ์ของโกวเล้ง ผลงานที่เป็นที่สร้างชื่อและเป็นผลงานที่ทำให้จดจำของเดวิด เจียง คือเรื่อง The Wandering Swordsman (ไอ้หนุ่มมีดฟ้าลั่น) ในปี ค.ศ. 1971 และเคยได้รับรางวัลนักแสดงชายยอดเยี่ยมและรางวัลนักแสดงชายผู้มีบุคลิกร่วมสมัยของเทศกาลภาพยนตร์เอเชีย จากภาพยนตร์เรื่อง Vengeance! ในปีเดียวกันและ พั่นนี่ ในปี ค.ศ. 1973 ตามลำดับ จนได้รับฉายาว่า "ราชาภาพยนตร์เอเชีย" (亚洲影帝) อีกด้วย ภาพยนตร์ที่เป็นที่รู้จักดีอีกเรื่องคือ The New One-Armed Swordsman (เดชไอ้ด้วน ตอนใหม่) ปี ค.ศ. 1971 และ The Blood Brothers ในปี ค.ศ. 1973 ซึ่งทั้งสองเรื่องนี้ เดวิด เจียงแสดงร่วมกับ ตี้ หลุง นักแสดงอีกรายที่มีชื่อเสียงโด่งดังในรุ่นเดียวกัน ทั้งคู่ยังมีผลงานแสดงร่วมกันต่อมาอีกหลายเรื่องจนกลายเป็น พระเอกหนุ่มคู่หูรุ่นใหม่ของวงการในยุคนั้น เดวิด เจียงมีผลงานการแสดงกว่า 70 เรื่อง นอกจากนี้ ยังมีผลงานกำกับการแสดงและเขียนบท และยังรับเป็นที่ปรึกษาด้านศิลปะการต่อสู้ให้กับภาพยนตร์หลาย ๆ เรื่องด้วย รวมถึงเคยร่วมแสดงภาพยนตร์ไทยในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเดวิด เจียง · ดูเพิ่มเติม »

เตียวเสี้ยน

ตียวชาน (Diao Chan) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก บุตรบุญธรรมของอ้องอุ้น ฉายานามว่า "จันทร์หลบโฉมสุดา" (จีน: 闭月 พินอิน: bì yuè) ซึ่งหมายถึง "ความงามที่ทำให้แม้แต่ดวงจันทร์ยังต้องหลบเลี่ยงให้".

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเตียวเสี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

เต้าหู้ยี้

__notoc__ เต้าหู้ยี้ เต้าหู้ยี้บรรจุขวด เต้าหู้ยี้ เป็นอาหารจีนชนิดหนึ่ง ได้จากการหมักเต้าหู้ขาวกับเกลือและเครื่องปรุงรสต่างๆ มีคุณค่าโปรตีนจากถั่วเหลืองที่นำมาทำเต้าหู้ขาว มีลักษณะเป็นก้อนเต้าหู้เนื้อแน่น มีรสเค็ม นำมารับประทานโดยตรงหรือนำไปประกอบเป็นอาหารอื่นได้หลากหลาย ชาวจีนรู้จักวิธีทำเต้าหู้มานานหลายศตวรรษ เต้าหู้ยี้มีชื่อเรียกในภาษาจีนหลายชื่อ เช่น เต้าฟูรู โทฟูรู ทูซูฟู ซูฟู (sufu) และ ต้าวยู่ (豆乳)(สำเนียงฮกเกี้ยน) เป็นต้น ซึ่งคำว่า ซูฟู หมายถึงก้อนที่มีราขึ้น (milk mold) ราชนิดนี้เป็นราที่กินได้ เต้าหู้ยี้ยังมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษอีกชื่อหนึ่งว่า Chinese Cheese.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเต้าหู้ยี้ · ดูเพิ่มเติม »

เฉิน ย่าหลาน

ฉิน ย่าหลาน (陳亞蘭) เป็นนักแสดงชาวจีน มีชื่อเสียงโด่งดังจากบท ยายเจ้าที่หนิงจื่อ ในซีรีส์เรื่อง อิทธิฤทธิ์ภูมิเทว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเฉิน ย่าหลาน · ดูเพิ่มเติม »

เฉิน ฮุ่ยหลิน

ฉิน ฮุ่ยหลิน (陈慧琳, Kelly Chen) หรือในชื่อภาษาอังกฤษว่า เคลลี่ เฉิน ดารานักร้องนักแสดงสาวชาวฮ่องกง มีชื่อเดิมว่า เฉิน ฮุ่ยเหวิน และใช้ชื่อภาษาอังกฤษเดิมว่า วิเวียน (Vivien) เกิดเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) ที่ฮ่องกง เมื่อยังเล็กเธอเคยเรียนที่โรงเรียนโรสซารี่ฮิลล์ ก่อนจะไปเรียนต่อชั้นมัธยมปลายที่ญี่ปุ่น ก่อนที่จะไปเรียนต่อด้านกราฟิก ดีไซน์ ที่นิวยอร์ก ในปี พ.ศ. 2537 จากนั้นจึงเดินทางกลับมายังฮ่องกง ช่วงนี้เองเพื่อนของเธอได้แนะนำให้รู้จักกับผู้จัดการคนปัจจุบัน และชักนำเธอไปลองเทสต์เสียง จนได้เซ็นสัญญาเป็นนักร้องภายใต้สังกัด UMG นับเป็นการเปิดประตูให้เธอก้าวเข้าสู่วงการบันเทิงฮ่องกงอย่างเต็มตัว เริ่มเข้าสู่วงการได้ไม่นาน เฉิน ฮุ่ยหลินก็สามารถคว้ารางวัลนักร้องดาวรุ่งมาได้สำเร็จ แถมยังได้รางวัลนักร้องหญิงยอดนิยม ในงานแจกรางวัลแผ่นเสียงทองคำติดต่อกัน 2 ปีซ้อนในปี พ.ศ. 2542 และ พ.ศ. 2543 นอกจากนี้ยังคว้ารางวัลนักร้องหญิงฮ่องกงที่ได้รับการตอบรับดีทั่วเอเชีย 6 ปีซ้อนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 - พ.ศ. 2549 และรางวัลอื่น ๆ อีกมากมาย และได้รับเลือกให้ร้องเพลงประกอบละคร แดจังกึม ภาคภาษาจีนอีกด้วย ด้านงานการแสดง เธอมีบทบาทที่น่าจดจำจากการรับบทเป็น ดร.ลี จิตแพทย์สาวผู้บำบัด เหยิน (รับบทโดย เหลียง เฉาเหว่ย) ใน Infernal Affairs ด้านชีวิตส่วนตัว สมรสกับคู่หมั้นนักธุรกิจที่คบหาดูใจกันมาอย่างยาวนานถึง 16 ปี ชื่อ อเล็กซ์ เฉิน เจี้ยนห้าว ทั้งคู่มีบุตรชายด้วยกันสองคน และเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2554 เธอได้แท้งลูกฝาแฝดไป หลังจากท้องมาได้ 5 เดือน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเฉิน ฮุ่ยหลิน · ดูเพิ่มเติม »

เฉินหลง

ฉินหลง อ่านว่า เฉิงหลง หรือ แจ๊กกี้ ชาน (Jackie Chan) เป็นนักแสดงชาวฮ่องกงที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก เกิดวันที่ 7 เมษายน ค.ศ. 1954 ชื่อจริงของเฉินหลงคือ เฉิน กั่งเซิง ซึ่ง เฉิน กั่งเซิง มีความหมายว่าเกิดที่ ฮ่องกง เขายังเป็นนักการกุศลที่รู้จักกันดีทั่วโลกโดยเป็นผู้ที่นิตยสารฟอบส์ได้เรียกว่า เป็นผู้มีชื่อเสียงที่ใจบุญที่สุดคนหนึ่งในสิบของโลก ในปี 2015 นิตยสารฟอบส์ได้ประเมินทรัพย์สินสุทธิของเขาที่ 350 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 10,896 ล้านบาท) และโดยปี 2016 เขาก็เป็นนักแสดงชายที่มีรายได้เป็นอันดับสองของโลก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเฉินหลง · ดูเพิ่มเติม »

เฉินเจิน หน้ากากฮีโร่

ฉินเจิน หน้ากากฮีโร่ ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์กังฟูสัญชาติฮ่องกงเรื่อง Legend of the Fist: The Return of Chen Zhen นำแสดงโดย เจิ้น จื่อตัน, ซูฉี, หวง ชิวเซิน ร่วมด้วย หยู เหวินเล่อ กำกับโดย แอนดริว เลา ออกฉายเมื่อกลางปี ค.ศ. 2010.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเฉินเจิน หน้ากากฮีโร่ · ดูเพิ่มเติม »

เฉียนฉิน

เฉียนฉิน (Former Qin,, 351 – 394) แคว้นอิสระที่ตั้งขึ้นในช่วง ยุคห้าชนเผ่าสิบหกแคว้น โดยขุนนางแห่งแคว้น เฉียนเจ้า คือ ฝูเจียน หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเฉียนฉิน · ดูเพิ่มเติม »

เซี่ยงไฮ้

ซี่ยงไฮ้ หรือ ช่างไห่ (จีน: 上海, พินอิน: Shànghǎi) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศจีน ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำแยงซี เป็นเขตการปกครองระดับเขตการปกครองพิเศษแบบเทศบาลนคร ซึ่งมีสถานะเทียบเท่ากับมณฑล พื้นที่อยู่ในมณฑลเจ้อเจียงแต่ไม่ได้ขึ้นกับมณฑล การปกครองขึ้นตรงกับรัฐบาลกลาง มีท่าเรือที่มีจำนวนเรือคับคั่งที่สุดในโลก ตามมาด้วยสิงคโปร์และรอตเทอร์ดาม เซี่ยงไฮ้ในอดีตเป็นเพียงหมู่บ้านชาวประมง แต่ในปัจจุบันเซี่ยงไฮ้กลายเป็นเมืองที่มีคนอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นมากที่สุดในประเทศจีน เต็มไปด้วยร้านค้า สิ่งก่อสร้าง ถนนเต็มไปด้วยรถ จักรยาน และผู้คน สิ่งที่พบเห็นได้มากในเมืองนี้จนอาจถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของเมืองคือต้นเมเปิลที่มีอายุเกือบร้อยปี ซึ่งปลูกโดยในสมัยที่ฝรั่งเศสเข้ามายึดครองเซี่ยงไฮ้.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเซี่ยงไฮ้ · ดูเพิ่มเติม »

เซน

ระโพธิธรรม ฝีมือของโยะชิโทะชิ (ค.ศ. 1877) เซน (禅, ぜん; Zen) เป็นนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายมหายาน นับถือกันอย่างแพร่หลายในแถบเอเชียตะวันออก (จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี) คำว่า เซน เป็นชื่อภาษาญี่ปุ่นของคำว่า ฉาน (禅, Chán แต้จิ๋วออกเสียงว่า เซี้ยง) ในภาษาจีน ที่มาจากคำว่า ธฺยาน ในภาษาสันสกฤตอีกทอดหนึ่ง (ตรงกับคำว่า ฌาน ในภาษาบาลี) ซึ่งหมายถึง การเพ่งอารมณ์จนใจแน่วแน่เป็นอัปปนาสมาธิ มีจิตที่สงบและประณีต เซน มีต้นกำเนิดจากประเทศอินเดีย พัฒนาที่ประเทศจีน ก่อนที่จะถูกเผยแพร่มาสู่เกาหลีและเข้าสู่ประเทศญี่ปุ่น โดยได้รับอิทธิพลมาจากลัทธิขงจื๊อและลัทธิเต๋า ในช่วงระหว่างที่เผยแผ่มาสู่ญี่ปุ่น การฝึกตนของนิกายเซน เน้นที่การนั่งสมาธิเพื่อการรู้แจ้ง ช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เซนยังได้เป็นปรัชญาในการดำรงชีวิต และรู้จักกันทั่วโลก โดยแสดงถึงแนวทางการใช้ชีวิต การทำงาน และศิลปะ เซนยึดถือหลักปฏิบัติธรรมตามหลักของพระพุทธเจ้า ตามหลักของการฝึกสติ อริยสัจ 4 และมรรค 8 เซน ได้รับการยอมรับจากบุคคลที่ไม่ใช่พุทธศาสนิกชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งบุคคลนอกทวีปเอเชีย ที่สนใจในเซนสามารถศึกษาและปฏิบัติธรรมได้ และได้เกิดนิกายสายย่อยออกมาที่เรียกว่าคริสเตียนเซน วัฒนธรรมของชาวญี่ปุ่นที่ชาวต่างชาติรู้จักกันดี ได้แฝงเอาพุทธปรัชญา แบบเซนไว้อย่างแนบแน่น เช่น พิธีชงชา อิเคบานะ (การจัดดอกไม้แบบญี่ปุ่น) วิถีซามุไร คิวโด(การยิงธนูแบบญี่ปุ่น) แม้แต่แนวทางการเล่นโกะหรือหมากล้อมแบบญี่ปุ่น เป็นต้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเซน · ดูเพิ่มเติม »

เซเชลส์เชื้อสายจีน

วเซเชลส์เชื้อสายจีน เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ของประเทศเซเชลส์ ในช่วงปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเซเชลส์เชื้อสายจีน · ดูเพิ่มเติม »

เปอรานากัน

ปอรานากัน (Peranakan) หรือ บาบ๋า-ย่าหยา (Baba-Nyonya, จีน: 峇峇娘惹, พินอิน: Bābā Niángrě, ฮกเกี้ยน: Bā-bā Niû-liá) คือกลุ่มลูกครึ่งมลายู-จีนที่มีวัฒนธรรมผสมผสาน และสร้างวัฒนธรรมแบบใหม่ขึ้นมาโดยเป็นการนำเอาส่วนดีระหว่างจีนกับมลายูมารวมกัน โดยชื่อ "เปอรานากัน" มีความหมายว่า "เกิดที่นี่" พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 นิยาม "บาบ๋า" และ "ย่าหยา" ว่า "เรียกชายที่เป็นลูกครึ่งจีนกับมลายูที่เกิดในมลายูและอินโดนีเซีย ว่า บ้าบ๋า, คู่กับ ย่าหยา ซึ่งหมายถึงหญิงลูกครึ่งจีนกับมลายูที่เกิดใน มลายูและอินโดนีเซี." อย่างไรก็ตามชาวเปอรานากันในประเทศไทย บริเวณจังหวัดชายฝั่งทะเลอันดามันโดยเฉพาะภูเก็ตและตรังทั้งเพศชายและหญิง จะถูกเรียกรวม ๆ ว่า บ้าบ๋า หรือบาบา ส่วน ย่าหยา เป็นเพียงชื่อของชุดสตรีเท่านั้น ส่วนในภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีกระจายตัวอยู่แถบพื้นที่โดยเฉพาะปัตตานี สงขลา นราธิวาส อย่างไรก็ดี ชาวจีนที่อพยพมาทางภาคใต้ฝั่งตะวันออกของประเทศไทยสมัยโบราณตั้งแต่ต้นรัตนโกสินทร์จนถึงรัชกาลที่ 5 ส่วนใหญ่จะเป็นชาวจีนฮกเกี้ยนซึ่งจะกระจายอยู่แถบพื้นที่โดยเฉพาะปัตตานี สงขลา นราธิวาส ถ้าเป็นลูกครึ่งจีนหรือลูกจีนที่เกิดในพื้นที่ ก็จะเรียกว่า บาบ๋า หรือ เปอรานากัน ด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเปอรานากัน · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดปักกิ่ง

ป็ดปักกิ่ง (Peking Duck; จีน: 北京烤鸭; พินอิน: Běijīng kǎo yā) คืออาหารจีนเลิศรสที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน และได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในเมนูประจำชาติจีน เสิร์ฟในรูปแผ่นหนังบางกรอบ ที่มาพร้อมแผ่นแป้งบางสำหรับห่อ ตามด้วยซอสหวานและเครื่องเคียงอย่าง ต้นหอม โดยจะใช้เฉพาะส่วนหัวที่เป็นสีขาวนำมาซอยเป็นเส้น คู่กับแตงกวาปอกเปลือกหั่นเป็นแท่ง หนังเป็ดจะต้องแล่ออกเป็นแผ่นบางตอนร้อนๆ ยิ่งหากลงจากเตาใหม่ๆ จะช่วยให้แล่ง่ายขึ้นและได้เป็นชิ้นสวยงาม สูตรต้นตำรับของปักกิ่งจะแล่หนังติดเนื้อมาด้วย ในขณะที่ประเทศไทยนิยมแล่เฉพาะหนัง ส่วนเนื้อเป็ดนำไปปรุงรสตามชอบ เช่น ผัดกระเทียม เมี่ยงเป็ด เนื้อเป็ดผัดถั่วงอก เป็นต้น สองภัตตาคารในกรุงปักกิ่งที่โด่งดังขึ้นชื่อเรื่องเป็ดปักกิ่ง คือ เฉวียนจวี้เต๋อ (全聚德 พินอิน: Quánjùdé) และ เปี้ยนอี้ฟาง (便宜坊 พินอิน:Biànyífānɡ) ที่เป็นเจ้าแรกต้นตำรับของกรุงปักกิ่ง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและเป็ดปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

B

B (ตัวใหญ่:B ตัวเล็ก:b ออกเสียง บี) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 2 ใช้แทนเสียงพยัญชนะจากริมฝีปาก (ขึ้นกับแต่ละภาษา) มักจะเป็นเสียงกัก ริมฝีปาก ก้อง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและB · ดูเพิ่มเติม »

Ch (ทวิอักษร)

Ch Ch เป็นทวิอักษรที่พบได้ในหลาย ๆ ภาษา ในบางภาษาจะจัดใช้ ch เป็นอักษรเดี่ยว โดยในพจนานุกรมก็จะไม่ได้รวมอยู่ในหมวดเดียวกับอักษร c แต่จะแยกออกไปต่างหาก อักษร ch ใช้แทนเสียงที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและCh (ทวิอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

CJK

thumb thumb CJK เป็นการใช้คำศัพท์ ภาษาจีน, ภาษาญี่ปุ่น และภาษาเกาหลี ร่วมกัน สำหรับใช้ในด้านซอฟต์แวร์และการสื่อสารสากล และนิยามของ CJKV จะหมายรวมถึง CJK ที่เพิ่มภาษาเวียดนามเข้าไปด้วย ซึ่งเป็นการประกอบภาษาเอเชียตะวันออกหลักๆเข้าไว้ด้วยกัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและCJK · ดูเพิ่มเติม »

Fun88

Fun88 หรือ เล่อเทียนถัง (乐天堂) เป็นเว็บไซต์คาสิโนออนไลน์ เป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจออนไลน์ที่นำเสนอการพนันผลของกีฬา เกมคาสิโน และเกมคีโน (สลากออนไลน์) ที่ถูกต้องตามกฎหมาย Fun88 ได้รับใบอนุญาตจากประเทศฟิลิปปินส์ และเกาะไอล์ออฟแมน (Isle of Man) สหราชอาณาจักร ให้เปิดทำการเป็นเว็บไซต์รับเดิมพันออนไลน์ และได้รับการรับรองของชมรมการเดิมพันแห่งประเทศออสเตรเลียและยังได้รับการรับรองจากสมาคมการพนันโลก (GA) ในการบริการระบบเดิมพัน Fun88 รับเดิมพันกีฬามากมายหลายชนิดและเปิดให้บริการในหลายภาษา เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาเวียดนาม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและFun88 · ดูเพิ่มเติม »

ISO 639-2

ISO 639-2 เป็นส่วนที่สองของมาตรฐาน ISO 639 ที่จะใช้รหัสตัวอักษรภาษาอังกฤษแทนภาษาต่างๆ ซึ่งมาตรฐานชุดนี้ประกอบด้วย กลุ่มของตัวอักษร 3 ตัว แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกใช้แทนชื่อของภาษาที่ใช้ใน งานบรรณาณุกรม (bibliographic applications) และกลุ่มที่สองใช้ใน งานที่ต้องเกี่ยวกับบัญญัติศัพท์ (terminology applications) รหัสที่ใช้แทนภาษาของทั้งสองกลุ่มเหมือนกันยกเว้นเพียง 23 ภาษา จากภาษาทั้งหมดมากกว่า 450 ภาษา ทั้งนี้เนื่องจากเงื่อนไขในการสร้างรหัสนั้น การใช้รหัสแทนภาษามาตรฐานนี้เริ่มต้นมาจากการใช้งานที่เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด การให้บริการข้อมูลต่างๆ ตลอดจนงานพิมพ์ ที่ต้องใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล รหัสเหล่านี้ได้มีการใช้แพร่หลายในกลุ่มงานห้องสมุด และต่อมาได้มีการปรับนำมาใช้โดยกลุ่มของนักภาษาศาสตร์ และในกลุ่มงานที่ต้องการคำนิยามเฉพาะ ซึ่งมาตรฐานส่วนนี้ได้มีการพัฒนาขึ้นโดยมีพื้นฐานจากความต้องการใช้ภาษานั้นๆที่มีการใช้อย่างแพร่หลายอยู่ทั่วโลก แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ไม่รวมถึงโปรแกรมภาษาလိၵ်ႈတၢႆးလိၵ်ႈထ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและISO 639-2 · ดูเพิ่มเติม »

ISO 639-3

มาตรฐาน ISO 639-3 เป็นมาตรฐานกำหนดรหัสของภาษามนุษย์ทั้งหมดเท่าที่ทราบว่ามี โดยใช้ตัวอักษรละตินสามตัวเป็นรหัสแทนแต่ละภาษา ภาษาที่รวมใน ISO 639-3 นี้ รวมถึงภาษาที่มีใช้อยู่ในปัจจุบัน ภาษาโบราณ ภาษาที่ไม่มีการใช้แล้ว ตลอดทั้งภาษาที่ประดิษฐ์ขึ้น รวมถึงภาษาหลักและภาษารอง ทั้งที่มีตัวอักษรเขียนและที่ไม่มี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและISO 639-3 · ดูเพิ่มเติม »

漢字

รูปอักษร "漢字" อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและ漢字 · ดูเพิ่มเติม »

8 ดาบทรมาน 6 ดาบสังหาร

8 ดาบทรมาน 6 ดาบสังหาร (14 Blades; อักษรจีนตัวเต็ม: 錦衣衛; อักษรจีนตัวย่อ: 锦衣卫; พินอิน: Jǐn Yī Wèi) เป็นภาพยนตร์ฮ่องกงกำลังภายใน นำแสดงโดย เจิ้น จื่อตัน, เจ้า เวย, อู๋จุน, สฺวี จื่อชาน, ชี อวี้อู่ และ หง จินเป่า กำกับการแสดงโดย แดเนียล ลี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาจีนและ8 ดาบทรมาน 6 ดาบสังหาร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Chinese languagePasa ChinaPasa jinPasa-ChinaPasa-jinPhasa ChinaPhasa jinPhasa-ChinaPhasa-jinภาษาฮั่นภาษาจีนตระกูลภาษาจีน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »