โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กลุ่มภาษาจีนและสกายซิตี (ฉางชา)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กลุ่มภาษาจีนและสกายซิตี (ฉางชา)

กลุ่มภาษาจีน vs. สกายซิตี (ฉางชา)

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน. กายซิตี้ (จีน: 天空城市) (Sky City) เป็นตึกที่สูงที่สุดในโลกตั้งอยู่ที่เมืองฉางชา มณฑลหูหนาน ประเทศจีน โดยตึกสกายซิติ้จะมีทั้งหมด 221 ชั้น มีระดับความสูงถึง 838 เมตร ซึ่งสูงกว่าตึกเบิร์จคาลิฟา 10 เมตร เมื่อสร้างเสร็จจะใช้เป็นพื้นที่สำหรับอยู่อาศัยร้อยละ 83 รองรับผู้เข้าอยู่อาศัยได้ถึง 31,400 คน ส่วนพื้นที่ที่เหลือจะใช้เป็นสำนักงาน โรงแรม โรงเรียน โรงพยาบาล ห้างขายของ และห้องอาหาร ส่วนการขึ้นลงอาคารจะใช้ลิฟต์ความเร็วสูงราว 104 ตัว ผู้จัดการออนไลน์ 21 พฤษภาคม 2556 โดยตึกถูกออกแบบสร้างโดยกลุ่มวิศวกรและสถาปนิกผู้ผ่านงานสร้างตึก เบิร์จคาลิฟา (Burj Khalifa) และเป็นบริษัท Broad Group ผู้ก่อสร้างเดียวกันกับการประกอบโรงแรม Ark Hotel สูง 30 ชั้น ในมณฑลหูหนานที่ใช้เวลาก่อสร้างเพียง 15 วัน บริษัท บรอด ซัสเทนเนเบิล บิวดิ้ง คอร์ป บริษัทเจ้าของผลงาน Ark Hotel ของจีน ได้มีแผนงานโครงการ สกาย ซิตี้ ในเมืองฉางชา ริมแม่น้ำเซียงเจียง ในมณฑลหูหนาน ซึ่งตั้งเป้าให้เป็นอาคารสูงที่สุดโลก โดยจะใช้เวลาก่อสร้างเพียง 90 วัน หรือสร้างได้เฉลี่ยวันละ 5 ชั้น แต่ในภายหลังได้มีการปรับเลื่อนขยายระยะเวลาในการประกอบจากที่กำหนดไว้ 90 วัน (3 เดือน) ออกไปเป็น 7 เดือน ซึ่งนับว่าเป็นเวลาที่สั้นมากเมื่อเทียบการก่อสร้างตึกสูงแบบเดิม ในการก่อสร้างสกายซิตีจะใช้เทคนิคก่อสร้างที่ใช้ชิ้นส่วนสำเร็จรูปมาประกอบ (พรีแฟบ-Prefabricated modular) เนื่องจากประหยัดเวลา ไม่ก่อให้เกิดมลพิษจากการก่อสร้าง และลดอัตราการบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุของคนงาน เทคนิคแบบนี้จะช่วยลดระยะเวลาก่อสร้างได้มากเพราะไม่ต้องทำหรือก่อทีละชั้นก่อนจึงเริ่มชั้นถัดไป แต่สามารถทำชิ้นส่วนทุกชั้นพร้อมกัน โดยเตรียมจากโรงงานต่างๆในเวลาเดียวกัน และขนส่งมายังสถานที่ก่อสร้างเพื่อยกขึ้นประกอบทีละชั้นๆด้วยทาวเวอร์เครน แต่ความสำคัญอยู่ที่ชิ้นส่วนทุกชิ้นจะต้องมีการออกแบบมาอย่างดี และสร้างขึ้นจากการคำนวณที่ละเอียดแม่นยำก่อนที่จะแยกย้ายให้โรงงานต่างๆผลิตออกมาตรงตามแบบเพื่อนำมาประกอบในพื้นที่ก่อสร้างให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ซึ่งจะรวมเวลาของการตกแต่งภายในด้วย ประมาณการณ์ไว้ว่าจะใช้เหล็กราว 220,000 ตัน ในการสร้าง ตัวอาคารออกแบบมาให้ทนต่อแรงแผ่นดินไหวที่ 9.0 แมกนิจูด และทนไฟไหม้ได้นานกว่า 3 ชั่วโมง นอกจากนี้ตึกสกายซิตีจะใช้พลังงานเพียงแค่ 1 ใน 5 ของปริมาณการใช้พลังงานทั้งหมดที่ตึกทั่วไปใช้ อีกทั้งยังมีฉนวนกันความร้อนที่ออกแบบมาเป็นพิเศษ เพื่อช่วยลดความร้อนสะสมภายในตึกอีกด้วย ส่วนระบบเครื่องปรับอากาศนั้น คาดว่าจะใช้เงินลงทุนราว 1.2 พันล้านดอลลาร์สหรั.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กลุ่มภาษาจีนและสกายซิตี (ฉางชา)

กลุ่มภาษาจีนและสกายซิตี (ฉางชา) มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ประเทศจีน

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

กลุ่มภาษาจีนและประเทศจีน · ประเทศจีนและสกายซิตี (ฉางชา) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มภาษาจีนและสกายซิตี (ฉางชา)

กลุ่มภาษาจีน มี 42 ความสัมพันธ์ขณะที่ สกายซิตี (ฉางชา) มี 22 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.56% = 1 / (42 + 22)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มภาษาจีนและสกายซิตี (ฉางชา) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »