โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)

ดัชนี กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงวัฒนธรรม (Ministry of Culture) เป็นกระทรวงที่มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณีอื่น.

174 ความสัมพันธ์: บรูซ แกสตันบอร์นดิสเวย์บอลชัยยุทธ โตสง่าบัวซอน ถนอมบุญชาญชัย ลิขิตจิตถะบางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ วีคบานประตูวิหารวัดพระฝางช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีพรชิตา ณ สงขลาพระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญพระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณพระเศวตอดุลยเดชพาหนพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิทพร้อมพงศ์ นพฤทธิ์พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (ประเทศไทย)พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดคุ้งตะเภาพุทธชยันตี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้พูนพิศ อมาตยกุลกรกันต์ สุทธิโกเศศกรมการศาสนากรมศิลปากรกรมส่งเสริมวัฒนธรรมกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กระทรวงในประเทศไทยกระต่ายขูดมะพร้าวกรุงเทพมหานครกษิต ภิรมย์กัญจนา ศิลปอาชาการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์การเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชภราดร ศรีชาพันธุ์ภาพยนตร์ไทยภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมรดกโลกมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากรมัลลิกา มหาสุขมูลนิธิไทยรัฐรวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์รอง เค้ามูลคดีรัจนา พวงประยงค์ราชการส่วนภูมิภาค (ประเทศไทย)รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถรายชื่อรางวัลที่สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้วได้รับรายชื่อรางวัลที่ธงไชย แมคอินไตย์ได้รับรายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายชื่ออุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทยรายชื่อผลงานของณเดชน์ คูกิมิยะรายชื่อผลงานของเขมนิจ จามิกรณ์...รายการธงในประเทศไทยรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรายนามศิลปินสำนักการสังคีตกรมศิลปากรรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 25รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 26รางวัลวัฒนคุณาธรรางวัลศิลปาธรลุงบุญมีระลึกชาติวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุลวสุ ห้าวหาญวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารวัดสันปูเลยสะหลีเวียงแก้ววัดคุ้งตะเภาวัดเจดีย์คีรีวิหารวันสารทจีนวิทยาลัยช่างศิลปวิทยาลัยนาฏศิลปวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมาวิฑูรย์ กรุณาวีระ โรจน์พจนรัตน์วีระศักดิ์ โควสุรัตน์ศาสนาในประเทศไทยศิลปินสำนักการสังคีตกรมศิลปากรศึกกุมภกรรณ 2527ศุภชัย จันทร์สุวรรณ์ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสหรัฐต์ หิรัญญ์ธนภูวดลสำนักศาสนศึกษาวัดคุ้งตะเภาสำนักหอสมุดแห่งชาติสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติสำนักงานราชบัณฑิตยสภาสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยสำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรมสุรบถ หลีกภัยสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนาสถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยสนธยา คุณปลื้มหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)หนุมานพบ 7 ยอดมนุษย์อภินันท์ โปษยานนท์ออกัสอัญชุลี ธีระวงศ์ไพศาลอาปัติอำเภอพุทธมณฑลอดุล จันทรศักดิ์อนุรักษ์ จุรีมาศอนุสรณ์ วงศ์วรรณจัน ดารา (ภาพยนตร์ทวิภาค)จณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์จดหมายเหตุธัชพล เสือทองคำธาร ยุทธชัยบดินทร์ธีระ สลักเพชรธงชาติไทยธงศาสนาคริสต์ธงทอง จันทรางศุธงไชย แมคอินไตย์ทศพร เทวาพิทักษ์ธรรมทะเลของก้อยทักษอร ภักดิ์สุขเจริญทิพาวดี เมฆสวรรค์ข้าวทิพย์ ธิดาดินข้าวต้มมัดณัฐ ยนตรรักษ์ดอกส้มสีทองดายทูมอร์โรว์ดนัย จันทร์เจ้าฉายคณะรักษาความสงบแห่งชาติคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61คณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์)คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ตั้งวงฉวีรัตน์ เกษตรสุนทรประวัติศาสตร์ประคอง นิมมานเหมินท์ปราสาทบันทายศรีปริศนา พงษ์ทัดศิริกุลปลาบู่ทองปัทมา ลีสวัสดิ์ตระกูลนภัทร อินทร์ใจเอื้อนาคปรก (ภาพยนตร์)นางอาย (ละครโทรทัศน์)แฟตเฟสติวัลแมลงรักในสวนหลังบ้านแสงหนึ่งคือรุ้งงามแด่พระผู้ทรงธรรมโรงละครแห่งชาติ (ประเทศไทย)โรงละครแห่งชาติภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมาโรงละครแห่งชาติภาคตะวันตก จังหวัดสุพรรณบุรีโรงเรียนบ้านหาดเสือเต้นโรงเรียนขอนแก่นวิทยายนโรงเรียนเมืองพลพิทยาคมโผน กิ่งเพชรโคโยตี้ไขศรี ศรีอรุณไนน์เอ็นเตอร์เทนอวอร์ดส 2008เชคสเปียร์ต้องตายเฟรนช์พอลินีเชียเพลงชาติไทยเพลงลูกทุ่งเมี่ยงคำเหมียว คุณาธารเอื้อ สุนทรสนานเจนภพ จบกระบวนวรรณเขตห้วยขวางเด่น อยู่ประเสริฐเฉลิม ม่วงแพรศรี100 หนังสือดีเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทย ขยายดัชนี (124 มากกว่า) »

บรูซ แกสตัน

รูซ แกสตัน (เกิด พ.ศ. 2490) เป็นนักดนตรีชาวอเมริกัน ที่มาใช้ชีวิตอยู่ในประเทศไทยตั้งแต่อายุ 22 ปี เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งวงดนตรีฟองน้ำร่วมกับครูบุญยงค์ เกตุคง ตั้งแต่ พ.ศ. 2522 โดยนำเสนอดนตรีไทยเดิม มาผสมผสานกับดนตรีแบบตะวันตก โดยยึดเอาแก่นความคิดดนตรีของทั้งสองฟากมาผสมผสานโดยกลวิธีต่าง ๆ บรูซ แกสตันจบการศึกษาด้านทฤษฎีดนตรี การประพันธ์เพลงและปรัชญา และมีความสามารถในการเล่นเครื่องดนตรีตะวันตกหลากหลายชนิด หลังจากเข้ามาอาศัยในประเทศไทย ได้ฝึกฝนการเล่นเครื่องดนตรีไทยกับครูบุญยงค์ เกตุคงและร่วมกันตั้งวงดนตรีฟองน้ำในเวลาต่อมา นอกจากนี้ บรูซ แกสตัน ยังเคยเป็นโปรดิวเซอร์ ให้กับ นักร้องสาวคนหนึ่งที่ชื่อ ทรงหรรษา วาศนรุ่งเรือง ในอัลบั้ม พาราเซตามอล สังกัด Stone Entertainment ในช่วงปี 1997 ในแนวเพลง Soul R&B บรูซ แกสตัน สมรสกับ ผ. สารภี แกสตัน อาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีบุตรชายคือ ธีรดล ธีโอดอร์ แกสตัน (เท็ดดี้) มือกีตาร์วงฟลัวร์ บรูซ แกสตัน ได้รับการยกย่องจากสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม รับรางวัลศิลปาธรกิตติคุณ สาขาคีตศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และบรูซ แกสตัน · ดูเพิ่มเติม »

บอร์นดิสเวย์บอล

อะบอร์นดิสเวย์บอล (อังกฤษ: The Born This Way Ball) เป็นทัวร์คอนเสิร์ตที่ 3 ของศิลปินนักร้องอเมริกันเลดี้ กาก้า โดยในการสนับสนุนของอัลบั้มที่ 2 บอร์นดิสเวย์ ที่ประกอบด้วยทัวร์ 110 รายการในเอเชีย โอเซียเนียและต่อด้วยในยุโรปในเดือนสิงหาคมปี 2555 ตามด้วยในละตินอเมริกาในช่วงปลายปี ทัวร์เริ่มต้นที่อเมริกาเหนือ ในเดือนมกราคม 2556 และดำเนินการต่อจนสิ้นสุดในเดือนมีนาคม ซึ่งหนึ่งในทัวร์รอบโลกของเธอ ประเทศไทยก็เป็นหนึ่งในทัวร์ โดยจัดการแสดงวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ณ สนามราชมังคลากีฬาสถาน โดยผู้จัด บริษัท บีอีซี เทโร เอนเตอร์เทนเม้นท์ เป็นผู้รับผิดชอบจัดคอนเสิร์ตนี้ นับเป็นคอนเสิร์ตที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ในรอบ 10 ปี หลังจาก ไมเคิล แจ็กสัน เคยมาแสดงในประเทศไทยเมื่อหลายปีก่อน เมื่อเดือน ธันวาคม ภาพประชาสัมพันธ์คอนเสิร์ต ปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และบอร์นดิสเวย์บอล · ดูเพิ่มเติม »

ชัยยุทธ โตสง่า

ัยยุทธ โตสง่า หรือ ป๋อม บอยไทย นักดนตรีไทยเดิมและดนตรีไทยประยุกต์ ผู้ก่อตั้งวงดนตรี BANGKOK XYLOPHONE และวงกำไล เป็นผู้ได้รับรางวัลศิลปาธร สาขาดนตรี ประจำปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และชัยยุทธ โตสง่า · ดูเพิ่มเติม »

บัวซอน ถนอมบุญ

ัวซอน ถนอมบุญ เป็นช่างซอหญิงที่ไม่เลือกคู่ซอชาย เกิดเมื่อวันที่ 10 กุมภาพัน..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และบัวซอน ถนอมบุญ · ดูเพิ่มเติม »

ชาญชัย ลิขิตจิตถะ

นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ (25 เมษายน พ.ศ. 2489 - 18 มกราคม พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตผู้พิพากษาอาวุโส ชาญชัย เป็นผู้มีบทบาทในการแก้ไขวิกฤตการเมือง อันเนื่องจากการเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2549 และกรณีคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 ที่มี พล.ต.อ.วาสนา เพิ่มลาภเป็นประธานก่อนที่จะเกิดการรัฐประหาร หลังจากที่เกษียณอายุราชแล้วได้รับแต่งตั้งเป็น ผู้พิพากษาอาวุโสศาลแพ่งธนบุรี แต่ทำงานได้เพียง 2 วันจึงได้ลาออกจากตำแหน่ง ภายหลังจากเหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 เคยถูกทาบทามจากคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ในที่สุดทาง คป.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และชาญชัย ลิขิตจิตถะ · ดูเพิ่มเติม »

บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ วีค

งานสัปดาห์สื่อบันเทิงกรุงเทพ หรือ บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ วีค (Bangkok Entertainment Week) เป็นงานแสดงสื่อบันเทิงในประเทศไทย โดยความร่วมมือขององค์กรภาครัฐร่วมกับเอกชนในการสร้างมหกรรมสื่อบันเทิงและวัฒนธรรมร่วมสมัยที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จัดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และบางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ วีค · ดูเพิ่มเติม »

บานประตูวิหารวัดพระฝาง

นประตูวัดพระฝาง เป็นบานประตูไม้จำหลักปิดทองประดับกระจกโบราณสมัยอยุธยาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในจังหวัดอุตรดิตถ์ และเป็นบานประตูพุทธศาสนสถานที่มีความสวยงามมากที่สุด 1 ใน 3 คู่ของจังหวัดอุตรดิตถ์ คือ บานประตูวิหารวัดพระฝาง, บานประตูพระวิหารวัดพระแท่นศิลาอาสน์ และบานประตูวิหารวัดดอนสัก โดยประตูวิหารวัดพระฝางนี้เป็น 1 ใน 2 คู่ บานประตูสำคัญของจังหวัดอุตรดิตถ์ ที่ยังคงหลงเหลือมาจนถึงปัจจุบัน ปัจจุบันบานประตูวัดพระฝางบานเดิมจัดแสดงอยู่ที่อาคารธรรมสภา วัดธรรมาธิปไตย ภายในตัวเมืองอุตรดิตถ์ ส่วนบานจำลองสร้างใหม่ติดตั้งจัดแสดงอยู่ในกรอบประตูวิหารหลวงวัดพระฝาง สามารถเข้าชมได้ทุกวัน.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และบานประตูวิหารวัดพระฝาง · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

พรชิตา ณ สงขลา

รชิตา ณ สงขลา (เกิด 20 มิถุนายน พ.ศ. 2523) ชื่อเล่น เบนซ์ เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไท.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และพรชิตา ณ สงขลา · ดูเพิ่มเติม »

พระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ

ระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ (นามเดิม: สมชาย แสงสิน) น.ธ.เอก, ปบ.ส., พธ.บ., พธ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์) (1 ตุลาคม พ.ศ. 2506 - ปัจจุบัน) เจ้าสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ 3หนังสือสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ที่ พศ ๐๐๐๙/๐๕๓๖๕ เรื่อง แจ้งมติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ วัดคุ้งตะเภา ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๙มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม มติที่ ๓๓๘/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓, รองเจ้าคณะตำบลคุ้งตะเภา พระอุปัชฌาย์ และเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภารูปปัจจุบัน เกิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2506 อุปสมบทเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2530 หลังจากสำเร็จการศึกษา น.ธ.เอก ในปี พ.ศ. 2533 ได้ออกธุดงค์และไปอยู่ที่สวนโมกขพลารามเพื่อฝึกปฏิบัติธรรมกับท่านพุทธทาส จนหลังจากท่านพุทธทาสมรณภาพในปี พ.ศ. 2536 ท่านจึงได้กลับมาจำพรรษาที่วัดคุ้งตะเภา จนถึงปัจจุบัน พระสมุห์สมชาย เป็นพระสงฆ์นักพัฒนา เป็นประธานมูลนิธิ ๒๕๐ ปี วัดคุ้งตะเภา เป็นนักเผยแผ่ศาสนาพุทธ และนักปฏิบัติธรรมรูปสำคัญในจังหวัดอุตรดิตถ์ มีผลงานเป็นที่ปรากฏชัดเจนในหมู่คณะพระนักเผยแผ่ และคณะสงฆ์จังหวัดอุตรดิตถ์ ทั้งในด้านสาธารณูปการ สาธารณสงเคราะห์ และการศึกษาคณะสงฆ์ มานับสิบปี เป็นที่เคารพนับถือของบรรพชิตและคฤหัสถ์ทั่วไปในจังหวัดอุตรดิตถ์ในปัจจุบัน ด้วยเหตุที่ท่านเป็นพระสงฆ์นักพัฒนาที่มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ จึงทำให้ท่านได้รับถวายรางวัลจากหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ มากมาย จนในปี พ.ศ. 2554 ท่านจึงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ เข้ารับพระราชทานรางวัลเสาเสมาธรรมจักร จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีฯ ซึ่งถือเป็นรางวัลทรงเกียรติสูงสุดที่มอบถวายแด่ผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาในประเทศไท.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และพระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ · ดูเพิ่มเติม »

พระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ

หลวงพ่อจ้อย จนฺทสุวณฺโณ (8 เมษายน พ.ศ. 2456 — 16 เมษายน พ.ศ. 2550) เทพเจ้าแห่งเมืองปากน้ำโพ อดีตเจ้าอาวาส วัดศรีอุทุมพร เป็นพระผู้เปี่ยมไปด้วยเมตตากรุณา เป็นพระนักพัฒนา ที่ชาวจังหวัดนครสวรรค์ และเขตติดต่อ ให้ความเคารพนับถือ ผู้บุกเบิกสร้างวัดและหมู่บ้าน แต่เดิมโยมท่านและตัวท่านมีภูมิลำเนาถิ่นฐานอยู่บ้านดอนหวาย ตำบลพรวงสองนาง อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี โยมชายหญิงของท่านเห็นว่าที่ทำกินมันชักจะแคบเข้าทุกที ทำนาไม่เพียงพอลูกที่มีเพิ่มขึ้นชีวิตในโลกนี้คือการดิ้นรน คนส่วนมากของประเทศโดยเฉพาะชาวไร่ชาวนาดิ้นรนเพียงเพื่อมีชีวิตอยู่ทุ่มเทชีวิตเรี่ยวแรงหยาดเหงื่อทุกหยด เพื่อความมีชีวิตของตน สมัยนั้นมีดินป่าไม้ยังรกร้างว่างเปล่า ไม่ต้องยื้อแย่งกรรมสิทธิ์อะไรกัน ผู้คนพลเมืองยังมีน้อย “ดินดีเพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง” มีอยู่มากมายใครมีกำลังเรี่ยวแรงเท่าไรก็มาหักล้างถางพงให้เป็นไร่เป็นนาเอาตามความสามารถของตน พอทำกินเลี้ยงลูกเมียแล้วก็พอใจ มิได้กำเริบใจจะเป็นนายทุนเจ้าของที่ดินเป็นหมื่นเป็นพันไร่อย่างในปัจจุบันนี้เมื่อทราบว่าทางบ้านวังเดื่อ ตำบลหนองกรด จังหวัดนครสวรรค์ ยังมีที่ดินว่างเปล่าอยู่มาก จึงไปปรึกษาชักชวนกันอพยพจากถิ่นเดิม เอาพริก เอาเกลือ เอาข้าวใส่โคเทียมเกวียนมา จอบเสียมเครื่องมือทำกินก็เอามาพร้อมเดินทางรอนแรม ค่ำไหนนอนนั่นมาหลายวันหลายคืนผ่านมาทางหนองขุย ห้วยอีด่าง ลักเข้าหนองกล้ำเข้าดอนเพชร โนนแดง ข้ามแม่น้ำแควตากแดด ขึ้นบ้านวังหินดาร หนองกระทุ่ม เรื่อยมา ทางรถเรียบรถยนต์วิ่งได้สบายบรื๋อ อย่างเดียวนี้หามีไม่ เกวียนมีสิทธิ์ที่จะใช้ทางเกวียนอย่างเต็มที่ ก็ทางเกวียนนี่แหละ ที่เป็นเครื่องวัดนิสัยใจคอของคนไทยแต่ไรมา เมืองไทยอากาศมันร้อน จะเดินทางไปไหนก็ลดเลี้ยวเลี่ยงไปเดินตามร่มเงา หรือที่ไหนรกทึบด้วยแมกไม้ ยากเกินไปที่จะบุกป่าฝ่าหนาม ก็เลี่ยงเดินเสียที่มันเตียนไม่ต้องออกแรง ทางที่เริ่มขึ้นเป็นทางเดินเท้าต่อมาก็ขยายกว้างเป็นทางเกวียน โคกระบือเทียมเกวียนจึงพาเกวียนเลี้ยวลดไปตามทางที่มีอยู่ ที่จะลัดตัดตรงนั้นไม่มี โบราณว่าเกวียนหนีทางไม่ได้ กว่าจะพาครอบครัวอพยพถึงวังเดื่อได้ก็หลายวันเต็มที ครอบครัวของหลวงพ่อจ้อย นับว่าเป็นผู้บุกเบิกดินแดนถิ่นนี้เป็นครั้งแรก ตั้งหน้าหักร้างถางป่า อีกหลายปีจึงมีที่ดินทำไร่ไถนาได้พอเลี้ยงกัน จากนั้นก็ไปชักชวนเพื่อนพวกพี่น้องในถิ่นเดิม ให้มาบุกเบิกทำกินกันตามกำลัง “ดินดีเพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง” เหลืออยู่อีกมากมาย ไม่หวงแหนกีดกันเอาเป็นของตนแต่ผู้เดียวเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กันตามประสาไทย ใครมีแรงมากเอาให้มาก มีแรงน้อยก็เอาแต่พอแรงของตน บ้านวังเดื่อที่เคยเป็นป่า บักนี้ก็ค่อยๆกลายเป็นแหล่งชุมชนของหมู่บ้านและที่เราเรียกกันว่า “บ้านวังเดื่อ” เพราะว่าได้มีต้นมะเดื่อขนาดสูงใหญ่ขึ้นอยู่ที่ริมคลองหลังวัด และในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเหลือเพียงแต่ตอของต้นมะเดื่อที่จมอยู่ในคลองของด้านหลังวัด และเราจะสามารถเห็นตอนี้ได้ก็ต่อเมื่อน้ำในคลองได้ลดลง ต่อมาโยมพ่อโยมแม่และญาติโยมชาวบ้านวังเดื่อได้พร้อมใจกันยกที่ให้หลวงพ่อได้ทำการสร้างเป็นที่พักสงค์ เพื่อจะเอาไว้เป็น ที่สาธารณประโยชน์ในการบำเพ็ญกุศล แล้วจึงได้นิมนต์พระภิกษุสงค์มาจำพรรษาอยู่ที่สำนักสงค์แห่งนี้ ต่อมาทางคณะสงค์ได้จัด ตั้งวัดขึ้นให้เป็นวัดที่สมบูรณ์แบบถูกต้องตามกฎหมาย ชื่อว่า “วัดศรีอุทุมพร” เพราะว่าตามหลักภาษาบาลี “ไม้มะเดื่อ” นั้นแปลว่า “ไม้อุทุมพร” พอเติมคำว่า “ศรี” เข้าไปก็เป็น “วัดศรีอุทุมพร” คือวัดที่เป็นสิริงดงาม จึงเป็นมงคลนาม.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และพระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ · ดูเพิ่มเติม »

พระเศวตอดุลยเดชพาหน

ระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ เป็นพระยาช้างเผือกประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นช้างสำคัญในตระกูลพรหมพงศ์ จำพวกอัฏฐทิศ ชื่อ กมุท สีกายดังดอกกมุท หรือบัวสายแดง ได้รับพระราชทานนามเต็มว่า พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ เป็นช้างพลายเผือกโท เกิดในป่าเขตจังหวัดกระบี่ เมื่อประมาณ พ.ศ. 2494 ถูกคล้องได้ที่ บ้านหนองจูด ตำบลดินอุดม อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่เมื่อ พ.ศ. 2499 โดยนายแปลก ฟุ้งเฟื่องและนายปลื้ม สุทธิเกิด(หมอเฒ่า) เป็นลูกช้างติดแม่อยู่ในโขลงช้างป่า พร้อมกับช้างอื่นๆ อีก 5 เชือกคือ พังสาคร พลายทอง พังเพียร พังวิไล และพังน้อย โดยในตอนนั้นพระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ ได้ชื่อว่า "พลายแก้ว" มีความสูง 1.60 เมตร เมื่อพระราชวังเมือง (ปุ้ย คชาชีวะ)ได้ตรวจสอบคชลักษณ์แล้วพบว่าเป็นช้างสำคัญ จึงนำมาเลี้ยงไว้ที่สวนสัตว์ดุสิต เมื่อเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และพระเศวตอดุลยเดชพาหน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2351 - 14 สิงหาคม พ.ศ. 2414) พระราชโอรสลำดับที่ 49 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ต้นราชสกุลสนิทวงศ์ และเป็นพระปัยกาในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีน.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท · ดูเพิ่มเติม »

พร้อมพงศ์ นพฤทธิ์

ร.พร้อมพงศ์ นพฤทธิ์ (ชื่อเดิม: นพพร ชื่อเล่น: ตั้ม) สำเนาจาก หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ, 12 เมษายน 2550 อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ โฆษกพรรคเพื่อไทย อดีตโฆษกกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อดีตโฆษกกระทรวงวัฒนธรรม อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม และอดีตนักแสดง.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และพร้อมพงศ์ นพฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (ประเทศไทย)

ัณฑสถานแห่งชาติ เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติของไทยมีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน นับตั้งแต่ครั้งสมัยรัชกาลที่ 4 ปัจจุบัน มีพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติทั่วทุกภาค และกระจายในหลายจังหวัด ดังนี้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแบ่งตาม.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดคุ้งตะเภา

ัณฑ์ท้องถิ่นวัดคุ้งตะเภา (อังกฤษ: Wat Kungtapao Local Museum) เป็นแหล่งการเรียนรู้ท้องถิ่นขนาดเล็ก ตั้งอยู่ที่ วัดคุ้งตะเภา หมู่ 4 หมู่บ้านคุ้งตะเภา ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ จัดแสดงเอกสารโบราณและโบราณวัตถุของวัดและชุมชนหมู่บ้านคุ้งตะเภา บริหารจัดการในรูปแบบกรรมการโดยวัดและชุมชน ในความอุปถัมภ์ของมูลนิธิ 250 ปี วัดคุ้งตะเภา พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2549 โดยดำริของพระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ (แสงสิน) และพระมหาเทวประภาส วชิรญาณเมธี ที่ได้เก็บรวบรวมโบราณวัตถุและศิลปวัตถุของวัด เพื่อเป็นสถานที่จัดแสดงเอกสารโบราณและวัตถุโบราณของวัด และที่ทางวัดได้รับบริจาคจากชาวบ้าน เช่น พระพุทธรูปโบราณ สมุดไทย สมุดข่อย ใบลาน เพื่อให้คนในท้องถิ่นได้ศึกษาขนบวัฒนธรรมวิถีชีวิตความเป็นอยู่ในอดีตของบรรพบุรุษ และเพื่อให้คนในท้องถิ่นได้รับรู้และเกิดความภาคภูมิใจในมรดกและความเป็นมาของชุมชนบ้านคุ้งตะเภาที่มีอายุความเป็นมายาวนานมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ปัจจุบันพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดคุ้งตะเภา ตั้งอยู่ที่อาคารอสีติวัสสายุมงคลมหาศาลาการเปรียญ ภายในวัดคุ้งตะเภา ใกล้กับจุดตัดสี่แยกคุ้งตะเภา ติดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ทางผ่านสำคัญก่อนขึ้นสู่จังหวัดแพร่ เปิดให้ประชาชนได้เข้าชมทุกวันธรรมสวนะ ตั้งแต่เวลา 8.20 - 17.30 น. โดยไม่เก็บค่าเข้าชม.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดคุ้งตะเภา · ดูเพิ่มเติม »

พุทธชยันตี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้

ทธชยันตี 2600 ปี หรือ พุทธชยันตี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้ (Buddhajanti: The Celebration of 2,600 Years of the Buddha’s Enlithenment) เป็น เทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนาเถรวาท ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับวันวิสาขบูชา เพื่อเฉลิมฉลองในโอกาสครบรอบ 2600 ปี แห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ในวันวิสาขบูชา พ.ศ. 2555 การฉลองพุทธชยันตี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้ จัดขึ้นพร้อมกันในหลายประเทศ เช่น อินเดีย ศรีลังกา พม่า และประเทศไทย โดยวัตถุประสงค์ของพุทธชยันตีในประเทศต่าง ๆ มุ่งการจัดกิจกรรมเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาเป็นวาระพิเศษตลอดทั้งปี เช่น การจัดกิจกรรมพุทธบูชา การปฏิบัติธรรม และการจัดกิจกรรมเพื่อสังคม เพื่อเฉลิมฉลองรำลึกในโอกาสครบรอบ 2600 ปี แห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าในวันวิสาขบูชา เมื่อ 45 ปี ก่อนพุทธศักราช (พุทธปรินิพพาน) ในประเทศไทย มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า งานฉลองสัมพุทธชยันตี ๒,๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ระยะเวลาจัดงานตั้งแต่ เทศกาลวิสาขบูชา วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 เป็นต้นไป จนถึงสิ้นปี พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และพุทธชยันตี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้ · ดูเพิ่มเติม »

พูนพิศ อมาตยกุล

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ พูนพิศ อมาตยกุล (4 มิถุนายน พ.ศ. 2480 - ปัจจุบัน) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เป็นนักวิชาการสาขาดนตรีวิทยา และเป็นที่ปรึกษาวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล พูนพิศ อมาตยกุล หรือ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์พูนพิศ อมาตยกุล เกิดที่อำเภอดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรคนที่ 4 ของร้อยโทพิศ และนางประเทือง เจริญเติบโตอยู่ในวัง และเป็นมหาดเล็กของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดี เป็นเวลากว่า 30 ปี ได้เรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับพระราชวงศ์และเรื่องราวเกี่ยวกับดนตรีไทยมาจากในวัง.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และพูนพิศ อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

กรกันต์ สุทธิโกเศศ

กรกันต์ สุทธิโกเศศ (ชื่อเล่น: อาร์ม) เกิดวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2531 มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักจากประกวดร้องเพลง KPN Award Thailand Singing Contest 2009 ครั้งที่ 18 ในฐานะรองชนะเลิศอันดับ 1 และ Popular Vote สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเซนต์ดอมินิก แผนการเรียน ศิลป์-คำนวณ และจบการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิชาภาพยนตร์และภาพนิ่ง เกียรตินิยมอันดับ 2 เมื่อปีการศึกษา 2553 และได้ผ่านการคัดเลือกให้เป็นผู้อัญเชิญพระเกี้ยวประจำงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 67.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และกรกันต์ สุทธิโกเศศ · ดูเพิ่มเติม »

กรมการศาสนา

กรมการศาสนา (Department of Religious Affairs) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม มีหน้าที่การดำเนินงานของรัฐด้านศาสนา โดยการทำนุบำรุงส่งเสริมและให้ความอุปถัมภ์คุ้มครองกิจการศาสนาพุทธและศาสนาอื่นๆ ที่ทางราชการรับรอง (ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิกข์) ตลอดจนส่งเสริมพัฒนาความรู้คู่คุณธรรม ส่งเสริมความเข้าใจอันดี และสร้างความสมานฉันท์ระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา รวมทั้งดำเนินการเพื่อให้คนไทยนำหลักธรรมของศาสนามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้เป็นคนดีมีคุณธรรม.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และกรมการศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

กรมศิลปากร

กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และกรมศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม เป็นองค์กรส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนมีค่านิยมและพฤติกรรมที่เหมาะสม มีความภาคภูมิใจ และสืบทอดวัฒนธรรมอันเป็นอัตลักษณ์ของตนเองและชุมชน สามารถประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการพัฒนาที่ยั่งยืน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทียมร่วมมิตร แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร บริเวณที่ตั้งเดียวกับ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และกรมส่งเสริมวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงในประเทศไทย

กระทรวงในประเทศไทย เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย จัดตั้งขึ้นโดยการตราพระราชบัญญัติ ปัจจุบันมีกระทรวงหรือเทียบเท่าจำนวนทั้งสิ้น 20 กระทรวง.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และกระทรวงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กระต่ายขูดมะพร้าว

กระต่ายขูดมะพร้าว เป็นเครื่องมือสำหรับขูดมะพร้าวที่ยังไม่ได้กะเทาะเปลือกออก เดิมทีการขูดเนื้อมะพร้าวคั้นกะทิ จะใช้ช้อนทำจากกะลามะพร้าวขูดให้เป็นฝอย ต่อมาทำเป็นฟันซี่โดยรอบ บางแห่งใช้ซีกไม้ไผ่บากรอยเป็นซี่สำหรับขูดมะพร้าว จนกระทั่งเมื่อมีการใช้เหล็กมาทำของใช้ในครัวเรือน จึงได้ตีเหล็กแผ่นบาง ๆ ตัดรูปโค้งมน ใช้ตะไบถู ทำซี่ละเอียดปลายเหล็กคมเรียกว่า "ฟันกระต่าย" นำส่วนเหล็กขูดฟันกระต่ายนี้ไปประกบหรือเข้าเดือยกับรูปตัวสัตว์ที่เตรียมไว้จนเป็นกระต่ายขูดมะพร้าว.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และกระต่ายขูดมะพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กษิต ภิรมย์

นายกษิต ภิรมย์ อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองนายกรัฐมนตรีเงา พรรคประชาธิปัตย์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยในหลายประเทศ เกิดวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2487 เป็นบุตรชายของ ศาสตราจารย์พลเรือตรีสมภพ ภิรมย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) อดีตอธิบดีกรมศิลปากร และอดีตคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยศรีปทุม กับ นางจุนเจือ ภิรมย์ (สกุลเดิม "มุสิกะภุมมะ") นายกษิตสำเร็จการศึกษา ปริญญาตรีสาขาวิเทศสัมพันธ์ (International Affairs) จาก มหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ (Georgetown University) สหรัฐอเมริกา รุ่นเดียวกับประธานาธิบดี บิล คลินตัน แห่งสหรัฐอเมริกา และประธานาธิบดี กลอเรีย อาร์โรโย แห่งฟิลิปปินส์ และ ศึกษาต่อ สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations) ที่ Institute of Social Studies เนเธอร์แลนด์ ก่อนเข้ารับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ ยาวนานกว่า 30 ปี เคยดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยในหลายประเทศ โดยตำแหน่งสุดท้ายก่อนการเกษียณอายุราชการ คือ เอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา ระหว่างการรับราชการที่กระทรวงการต่างประเทศ นายกษิตได้รับการทาบทามจาก นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เพื่อนร่วมรุ่นรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ของน้องชายของนายกษิต ให้เข้าร่วมในคณะทำงานของ นายชวน หลีกภัย ขณะดำรงตำแหน่ง รมว.พาณิชย์ และ รมว.เกษตรและสหกรณ์ และมี นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เป็นเลขานุการรัฐมนตรี โดยนายกษิตได้รับมอบหมายให้ดูแลการติดต่อกับต่างประเทศ และการต้อนรับบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในช่วงที.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และกษิต ภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

กัญจนา ศิลปอาชา

นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา อดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี หลายสมัย เกิดวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 เป็นบุตรีของนายบรรหาร ศิลปอาชา อดีตนายกรัฐมนตรี และคุณหญิงแจ่มใส ศิลปอ.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และกัญจนา ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จสวรรคตเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

มเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 เวลา 02.54 นาฬิกา ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุมัติหมายกำหนดการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระศพระหว่างวันที่ 3 มกราคม-12 เมษายน พ.ศ. 2551 ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง หมายกำหนดการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงยกสัปตปฎลเศวตฉัตรเหนือยอดพระเมรุในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2551 และหมายกำหนดการพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพฯ ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ซึ่งพระราชพิธีสองอย่างหลังจะมีขึ้น ณ พระเมรุ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

การเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีกำหนดระหว่างวันที่ 25–29 ตุลาคม..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และการเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

ภราดร ศรีชาพันธุ์

ราดร ศรีชาพันธุ์ (ชื่อเล่น บอล, เกิด 14 มิถุนายน พ.ศ. 2522) ฉายา "ซูเปอร์บอล" เป็นนักเทนนิสชาวไทย และเป็นอดีตนักเทนนิสชายชาวเอเชียที่มีอันดับสูงที่สุดในประวัติศาสตร์ด้วยอันดับ 9 ของโลกในปี พ.ศ. 2546 ภราดรเริ่มเล่นในระดับอาชีพเมื่อปี พ.ศ. 2540 และในรายการเอทีพี ปี พ.ศ. 2541 โดยจบปีด้วยอันดับท้ายๆ ของมือวางร้อยอันดับแรกของเอทีพีมาหลายปี จนกระทั่งปี พ.ศ. 2545 สามารถเป็นขึ้นมือวาง 30 อันดับแรก ภายหลังจากสามารถเอาชนะ อังเดร อากัสซี ในรายการวิมเบิลดัน และขึ้นเป็นอันดับ 9 ของโลกในปี 2546.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และภราดร ศรีชาพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

วิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่และความรับผิดชอบใน การจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตทั้งระดับปริญญาตรีและปริญญาโท และจัดบริการวิชาการแก่สังคมในสาขาวิชาประวัติศาสตร์ รวมทั้งให้การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ทั้งนี้เพื่อพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มีคุณภาพที่ดี และสอดคล้องกับความต้องการของสังคมและประเทศชาติ ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2518 เดิมมีสถานะเป็นแผนกวิชาประวัติศาสตร์ สังกัดวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร ซึ่งต่อมาได้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒในปัจจุบัน.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ · ดูเพิ่มเติม »

มรดกโลก

ตราสัญลักษณ์ แหล่งมรดกโลก หรือ มรดกโลก (World Heritage Site; Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงคุณค่าของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติได้สร้างขึ้นมา และควรจะปกป้องสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร เพื่อให้ได้ตกทอดไปถึงอนาคต ในปัจจุบัน (กรกฎาคม 2560) มีมรดกโลกทั้งหมด 1073 แห่ง ใน 167 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 832 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 206 แห่ง และอีก 35 แห่งเป็นแบบผสมทั้งสองประเภท, UNESCO World Heritage Sites official sites.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และมรดกโลก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(มจร.) คือสถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนาชั้นสูงในรูปแบบมหาวิทยาลัย ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นเพื่อถวายแด่คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย โดยเริ่มจัดการเรียนการสอนด้านพุทธศาสตร์เป็นสาขาแรก แล้วต่อมาได้ขยายการเรียนการสอนไปยังสาขาวิชาอื่นๆ คล้ายกับรูปแบบการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ที่เริ่มต้นจากสาขาด้านศาสนาแล้วขยายไปยังสาขาอื่นอีกมายมาย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือกำเนิดจาก "มหาธาตุวิทยาลัย" ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นภายในวัดมหาธาตุฯ เมื่อปี พ.ศ. 2430 โดยเริ่มทำการสอนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

มัลลิกา มหาสุข

มัลลิกา บุญมีตระกูล พระราชทานน้ำสังข์ข้างที่ มัลลิกา บุญมีตระกูล ณัฐพล มหาสุข หรือ มัลลิกา บุญมีตระกูล มหาสุข (ชื่อเล่น: ติ่ง, มอลลี่; เกิดเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2516 ที่จังหวัดพะเยา) เป็นรองโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ และในอดีตเป็นเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เป็นที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และผู้ประกาศข่าวและพิธีกรรายการร่วมมือร่วมใจ สถานีโทรทัศน์ไอทีวี นอกจากนี้ยังเป็นประธานมูลนิธิมัลลิกาเพื่อประชาชน และประธานชมรมนักรบไซเบอร์ (ขจัดเว็บหมิ่นผิดกฎหมาย).

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และมัลลิกา มหาสุข · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิไทยรัฐ

มูลนิธิไทยรัฐ มูลนิธิไทยรัฐ (Thairath Foundation) หรือ มูลนิธิหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ (Thairath Newspaper Foundation) เป็นมูลนิธิเพื่อสาธารณประโยชน์ เป็นที่รู้จักของสังคมในฐานะ หน่วยงานอุปถัมภ์โรงเรียนไทยรัฐวิทยาทั้ง 101 แห่งทั่วประเทศไทย ก่อตั้งโดยกำพล วัชรพล ผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์ไทยรัฐคนแรก.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และมูลนิธิไทยรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์

ลโท รวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์ (23 เมษายน พ.ศ. 2469 - 4 มกราคม พ.ศ. 2556) อดีตแม่ทัพภาคที่ 3 ที่ปรึกษาทางด้านประวัติศาสตร์แก่กองทัพบก เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านประวัติศาสตร์การศึกสงครามไทย จนได้รับฉายาว่านายพลนักประวัติศาสตร์ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ให้เป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์ (ประวัติศาสตร์) เมื่อปี พ.ศ. 2531.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

รอง เค้ามูลคดี

รอง เค้ามูลคดี หรือ คเณศ เค้ามูลคดี (26 กันยายน พ.ศ. 2490 -) ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์-ละครโทรทัศน์) ประจำปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรอง เค้ามูลคดี · ดูเพิ่มเติม »

รัจนา พวงประยงค์

นางรัจนา พวงประยงค์ (6 ตุลาคม พ.ศ. 2484 - ปัจจุบัน) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์ไทย-ละคร) พ.ศ. 2554 ข้าราชการบำนาญ สังกัดกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม เป็นนาฏศิลปินที่มากความสามาร.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรัจนา พวงประยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชการส่วนภูมิภาค (ประเทศไทย)

ราชการส่วนภูมิภาค หมายถึงราชการของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ซึ่งได้แบ่งแยกออกไปดำเนินการจัดทำตามเขตการปกครอง โดยมีเจ้าหน้าที่ของทางราชการส่วนกลาง ซึ่งได้รับแต่งตั้งออกไปประจำตามเขตการปกครองต่าง ๆ ในส่วนภูมิภาคเพื่อบริหารราชการภายใต้การบังคับบัญชาของราชการส่วนกลางโดยมีการติดต่อกันอย่างใกล้ชิดเพราะถือเป็นเพียงการแบ่งอำนาจการปกครองออกมาจากการบริหารส่วนกลาง การบริหารราชการส่วนภูมิภาคเป็นการบริหารราชการตามหลักการแบ่งอำนาจโดยส่วนกลางแบ่งอำนาจในการบริหารราชการให้แก่ภูมิภาค อันได้แก่จังหวัด มีอำนาจในการดำเนินกิจการในท้องที่แทนการบริหารราชการส่วนกลาง ลักษณะการแบ่งอำนาจให้แก่การบริหารราชการส่วนภูมิภาค หมายถึง การมอบอำนาจในการตัดสินใจ วินิจฉัย สั่งการให้แก่เจ้าหน้าที่ที่ไปประจำปฏิบัติงานในภูมิภาค เจ้าหน้าที่ในว่าในภูมิภาคให้อำนาจบังคับบัญชาของส่วนกลางโดยเฉพาะในเรื่องการแต่งตั้งถอดถอนและงบประมาณซึ่งเป็นผลให้ส่วนภูมิภาคอยู่ในการควบคุมตรวจสอบจากส่วนกลางและส่วนกลางอาจเรียกอำนาจกลับคืนเมื่อใดก็ได้.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และราชการส่วนภูมิภาค (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

งประจำพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรางวัลที่สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้วได้รับ

รายชื่อรางวัลที่สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว นักร้องและนักแสดงชาวไทย สังกัดเอ็กแซ็กท์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ได้รับ มีดังนี้.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรายชื่อรางวัลที่สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้วได้รับ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรางวัลที่ธงไชย แมคอินไตย์ได้รับ

รางวัลที่ได้รับของ ธงไชย แมคอินไตย์ ในวงการบันเทิงประเภทรางวัลทางด้านดนตรี ละคร ภาพยนตร์ รวมทั้งรางวัลส่งเสริมภาพลักษณ์ และรางวัลอื่นๆที่ไม่เกี่ยวข้องกับผลงาน ที่ได้รับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรายชื่อรางวัลที่ธงไชย แมคอินไตย์ได้รับ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย

อุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย อยู่ในการดูแลของกรมศิลปากร ซึ่งเป็นหน่วยงานในกระทรวงวัฒนธรรม ปัจจุบันในประเทศไทยมีอุทยานประวัติศาสตร์ 10 แห่ง ซึ่งใน 10 แห่งนี้ มี 4 แห่งได้รับการประกาศให้เป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรายชื่ออุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผลงานของณเดชน์ คูกิมิยะ

ทความนี้รวบรวม รายชื่อผลงานของ ณเดชน์ คูกิมิยะ นักแสดงและนายแบบชาวไท.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรายชื่อผลงานของณเดชน์ คูกิมิยะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผลงานของเขมนิจ จามิกรณ์

ทความนี้เนื้อหาเกี่ยวกับผลงานของเขมนิจ จามิกรณ์ สำหรับบทความหลักดูที่ เขมนิจ จามิกรณ.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรายชื่อผลงานของเขมนิจ จามิกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการธงในประเทศไทย

งชาติไทย หน้านี้คือรายชื่อธงต่างๆ ในประเทศไท.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรายการธงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

right บุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามศิลปินสำนักการสังคีตกรมศิลปากร

รายนามศิลปินสำนักการสังคีตกรมศิลปากร.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรายนามศิลปินสำนักการสังคีตกรมศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 25

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 25 ประจำปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 25 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 26

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 26 ประจำปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 26 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลวัฒนคุณาธร

รางวัลวัฒนคุณาธร เป็นรางวัลเกียรติยศของกระทรวงวัฒนธรรม ในระดับประเทศ ที่จัดมอบโดยกระทรวงวัฒนธรรม รางวัลวัฒนคุณาธร เป็นรางวัลเกียรติยศของกระทรวงวัฒนธรรมในระดับประเทศ ที่มอบให้เพื่อยกย่องและเชิดชูเกียรติบุคคลและองค์กรที่ดำเนินงานอนุรักษ์มรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ และมีผลงานโดดเด่นในการปฏิบัติงาน ส่งเสริมงานด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ด้วยความเสียสละ วิริยะ อุตสาหะ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีผลงานเป็นที่ประจักษ์แก่ผู้ร่วมงานและสาธารณชน ที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชน สังคม และประเทศชาติ รางวัลนี้พิจารณาโดยการกลั่นกรองจากคณะกรรมการคัดเลือกผู้ทำคุณประโยชน์ฯ ระดับจังหวัด ทั้ง 76 จังหวัด ซึ่งมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน และจากหน่วยงานระดับกรม และองค์การมหาชน ในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม โดยผู้ผ่านการตรวจประเมินผลงานดีเด่นในระดับประเทศ จะได้รับการเสนอชื่อเข้ารับโล่รางวัล "วัฒนคุณาธร" ซึ่งถือเป็นรางวัลในระดับประเทศ โดยมีการมอบปีละไม่เกิน 170 รางวัลในแต่ละปี ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกเป็นผู้ทำคุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรมในระดับประเทศ จะได้เข้ารับโล่เกียรติคุณ "วัฒนคุณาธร" จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงวัฒนธรรม ในวันที่ 3 ตุลาคม ของทุก ๆ ปี ณ โรงละครแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรางวัลวัฒนคุณาธร · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลศิลปาธร

รางวัลศิลปาธร เป็นรางวัลที่มอบให้แก่ศิลปินร่วมสมัยสัญชาติไทย ผู้มีผลงานสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง และอายุตั้งแต่ 30-50 ปี จัดโดยสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย (สศร.) กระทรวงวัฒนธรรม วัตถุประสงค์เพื่อการส่งเสริม สนับสนุน และเชิดชูเกียรติศิลปินร่วมสมัยให้ก้าวไปในเส้นทางอาชีพได้อย่างมั่นคงและมีกำลังใจในการสร้างสรรค์งานอย่างอิสระ แบ่งออกเป็น 5 สาขาคือ สาขาทัศนศิลป์ สาขาวรรณศิลป์ สาขาคีตศิลป์ สาขาภาพยนตร์ และสาขาศิลปะการแสดง เริ่มมอบรางวัลครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรางวัลศิลปาธร · ดูเพิ่มเติม »

ลุงบุญมีระลึกชาติ

ลุงบุญมีระลึกชาติ (Uncle Boonmee Who Can Recall His Past Lives, Oncle Boonmee, celui qui se souvient de ses vies antérieures) เป็นภาพยนตร์ไทยนอกกระแส ออกฉายครั้งแรกในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และลุงบุญมีระลึกชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล

นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล · ดูเพิ่มเติม »

วสุ ห้าวหาญ

การศึกษาปริญญาตรีจากคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 25 ปัจจุบันทำงานเต็มรูปแบบให้กับแกรมมี่ ประพันธ์เพลง อาทิ เพลงทางเดินชาวดิน ให้ ไมค์ ภิรมย์พร ร้อง แล้วก็มาแต่งให้ ตั๊กแตน ชลดา ชุดหนาวแสงนีออน เช่น เพลงหนาวแสงนีออน เพลงนักร้องงานเลี้ยง เพลงคนของวันพรุ่งนี้ แล้วยังเขียนเพลงให้ต่าย อรทัย ร้องคือ เพลงวันที่บ่มีอ้าย เพลงให้ตายไปกับใจ เพลงคือรักหรือบ่ เพลงจนกว่าจะถึงวันนั้น นักร้องพี สะเดิด เพลงรักคนโทรมาจังเลย เพลงความต้องการทางแพทย์สูง นักร้องตั๊กแตน เพลงปลายทางของความคิดถึง เพลงดอกนีออนบานค่ำ เพลงอย่าโทรมาแค่ปลอบใจ เพลงแฟนเก็บ เพลงคืนใจให้กัน เพลงคำพิพากษา นักร้องไผ่พงศธร เพลงสุดท้ายคืออ้ายเจ็บ เพลงกลับมาถามหากำลังใจ เพลงคนบ้านเดียวกัน เพลงบังเอิญมีหัวใจ เพลงอยากบอกว่าอ้ายเหงา เพลงอยากมีเธอเป็นแฟน เพลงมีเธอจึงมีฝัน เพลงทบ2 ลูกอีสาน ฯลฯ นักร้องแสน นากา เพลงเก็บปากไว้กินข้าว เพลงดูถัวะ ดูถัวะ เพลงขอแสดงความคิดถึง นักร้องจักจั่น วันวิสา เพลงเมื่อถูกความรักหาเจอ เป็นต้น วสุประสบความสำเร็จขั้นแรกเมื่อเพลง วันที่บ่มีอ้าย ที่เขาแต่งให้ ต่าย อรทัย คำร้อง ได้รับรางวัล เพชรในเพลง ของ กระทรวงวัฒนธรรม ในปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และวสุ ห้าวหาญ · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (/พระ-เชด-ตุ-พน-วิ-มน-มัง-คะ-ลา-ราม/) หรือ วัดโพธิ์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร และเป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทั้งยังเปรียบเสมือนเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศด้วย เนื่องจากเป็นที่รวมจารึกสรรพวิชาหลายแขนง และทางยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำโลกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เมื่อ มีนาคม..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดสันปูเลยสะหลีเวียงแก้ว

'''วิหารวัดสันปูเลยสะหลีเวียงแก้ว'''.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และวัดสันปูเลยสะหลีเวียงแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

วัดคุ้งตะเภา

วัดคุ้งตะเภา เป็นวัดโบราณในเขตการปกครองของคณะสงฆ์มหานิกาย และเป็น 1 ใน 9 วัดศักดิ์สิทธิ์สำคัญของจังหวัดอุตรดิตถ์ ตั้งอยู่ที่ หมู่บ้านคุ้งตะเภา ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ใกล้กับจุดตัดสี่แยกคุ้งตะเภา บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลขที่ 11 (ถนนสายเอเชีย) วัดคุ้งตะเภา เป็นวัดโบราณมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี และได้รับสถาปนาขึ้นใหม่ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมื่อปีขาล โทศก จุลศักราช 1132 อันเป็นปีที่พระองค์เสด็จขึ้นมาปราบปรามชุมนุมเจ้าพระฝางเมืองสวางคบุรี และประทับชำระคณะสงฆ์ จัดการหัวเมืองฝ่ายเหนือใหม่ตลอดฤดูน้ำ ดังปรากฏหลักฐานในพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ซึ่งวัดคุ้งตะเภา เป็นเพียงวัดแห่งเดียวในปริมณฑลเมืองพิชัยและสวางคบุรี ที่ปรากฏหลักฐานการสถาปนาวัดในปีนั้น ตำนานวัดเล่าสืบกันมานับร้อยปีว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ผู้คนย้ายกลับมาตั้งครัวเรือน สร้างวัดและศาลาการเปรียญขึ้นใหม่ ณ ริมคุ้งสำเภา พร้อมทั้งตรัสเรียกชื่อวัดที่ตั้งขึ้นใหม่นี้ว่า "วัดคุ้งตะเภา" ปัจจุบันทางราชการได้นำชื่อคุ้งตะเภาไปใช้ตั้งเป็นชื่อหมู่บ้านและชื่อตำบลคุ้งตะเภาสืบมาจนปัจจุบัน วัดแห่งนี้เป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุดในเขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภา เคยเป็นวัดที่สถิตย์ของพระครูสวางคมุนี เจ้าคณะใหญ่เมืองฝางมาตั้งแต่โบราณ โดยเป็นวัดที่เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และสองพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นที่เคารพศรัทธายิ่งของชาวตำบลคุ้งตะเภา ซึ่งพระพุทธรูปทั้งสององค์นั้นจัดได้ว่าเป็น 2 ใน 9 พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์สำคัญคู่บ้านคู่เมืองอุตรดิตถ์ คือ พระพุทธสุวรรณเภตรา และ พระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี ปัจจุบันวัดคุ้งตะเภาเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง เป็นสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ 3 (สำนักปฏิบัติธรรมภายใต้การกำกับของมหาเถรสมาคม)หนังสือสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ที่ พศ ๐๐๐๙/๐๕๓๖๕ เรื่อง แจ้งมติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ วัดคุ้งตะเภา ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๙มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม มติที่ ๓๓๘/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ และเป็นวัดประจำตำบลที่มีสถิติพระภิกษุสามเณรจำพรรษามากที่สุดในตำบลคุ้งตะเภา เป็นศูนย์กลางทางด้านศาสนศึกษาของคณะสงฆ์และคฤหัสถ์ในเขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภาโดยพฤตินัย โดยเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่มูลนิธิ ๒๕๐ ปี วัดคุ้งตะเภา ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ สำนักเลขานุการรองเจ้าคณะอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ฝ่ายการศึกษาคณะสงฆ์ สำนักศาสนศึกษาประจำตำบล และหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบลคุ้งตะเภา (อปต.) ซึ่งเป็นหน่วยอบรมฯ ที่มีผลงานดีเด่นระดับจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมี พระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ (แสงสิน) เป็นเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา (จร.).

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และวัดคุ้งตะเภา · ดูเพิ่มเติม »

วัดเจดีย์คีรีวิหาร

วัดเจดีย์คีรีวิหาร เป็นวัดของคณะสงฆ์ไทยสังกัดคณะมหานิกาย ตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลฝายหลวง อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ห่างจากตัวจังหวัด 10 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1043 ตำนานของวัดระบุว่า วัดนี้เดิมมีชื่อว่า "วัดป่าแก้ว" สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 1519 โดยเจ้าฟ้าฮ่ามกุมาร ปฐมกษัตริย์แห่งนครลับแลโบราณ ภายในวัดมีพระเจดีย์โบราณซึ่งเจ้าฟ้าฮ่ามกุมารให้สร้างขึ้นเพื่อประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุซึ่งขอแบ่งมาจากพระมหาชินธาตุเจ้า (พระธาตุดอยตุง) จังหวัดเชียงราย ถือกันว่าพระเจดีย์แห่งนี้เป็นพระบรมธาตุเจดีย์แห่งแรก ในอำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ปัจจุบันกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรมได้ขึ้นทะเบียนไว้เป็นโบราณสถานของชาต.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และวัดเจดีย์คีรีวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วันสารทจีน

ซ้ายคือขนมเทียนและขนมเข่ง ถาดขวาคือไก่ต้ม วันสารทจีน ตามปฏิทินทางจันทรคติ เทศกาลสารทจีนจะตรงกับวันที่ 15 เดือน 7 ตามปฏิทินจีน เทศกาลสารทจีนถือเป็นวันสำคัญที่ลูกหลานชาวจีนจะแสดงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ โดยพิธีเซ่นไหว้ และยังถือเป็นเดือนที่ประตูนรกเปิดให้วิญญาณทั้งหลายมารับกุศลผลบุญได้.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และวันสารทจีน · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยช่างศิลป

วิทยาลัยช่างศิลป (College of Fine Arts) เป็นกลุ่มสถาบันการศึกษาในสังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม โดยจัดการเรียนการสอนในสาขาศิลปะ ทั้งศิลปะไทยประเพณีและศิลปะร่วมสมั.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และวิทยาลัยช่างศิลป · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยนาฏศิลป

วิทยาลัยนาฏศิลป (The College of Dramatic Arts) เป็นกลุ่มสถาบันการศึกษาในสังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม และกระทรวงศึกษาธิการ โดยเปิดสอนเพื่อผลิตครูและบุคลากรสายอาชีพในด้านนาฏศิลป์และดนตรี.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และวิทยาลัยนาฏศิลป · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์

วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ (Kalasin College of Dramatic Arts) เป็นวิทยาลัยนาฏศิลป หนึ่งในสิบสองแห่งทั่วประเทศ โดยการจัดตั้ง วันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา

วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา (Nakhon Ratchasima College of Dramatic Arts) เป็นวิทยาลัยนาฏศิลป สังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 2 มกราคม..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และวิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

วิฑูรย์ กรุณา

วิฑูรย์ กรุณา (28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 —) ชื่อเล่น แอ๊ด เป็นนักแสดงชาวไทย และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม วิฑูรย์เกิดที่ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีพี่น้อง 7 คน เป็นคนที่ 3 เริ่มเข้าวงการบันเทิงเมื่อศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยรามคำแหง โดยเริ่มจากแสดงละครเวทีอิงประวัติศาสตร์ เรื่อง เจ้าหญิงแสนหวี โดยแสดงร่วมกับ ศรีวิไล ประสุตานนท์ และ จตุพล ภูอภิรมย์ ต่อมาเข้าเป็นนักแสดงละครโทรทัศน์ ในสังกัดค่ายรัชฟิล์มทีวี มีผลงานการแสดงหลายเรื่อง และ เข้าสู่วงการภาพยนตร์โดยการชักชวนของ ฉลอง ภักดีวิจิตร จบการศึกษาปริญญาตรีสาขาศิลปศาสตร์จาก มหาวิทยาลัยรามคำแหง และ ปริญญาโทสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมจาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัจจุบันสมรสกับ นาง พิมพ์ชนก กรุณ.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และวิฑูรย์ กรุณา · ดูเพิ่มเติม »

วีระ โรจน์พจนรัตน์

นายวีระ โรจน์พจนรัตน์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมและ ประธานกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์แห่งประเทศไทย ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และเป็นอดีตปลัดกระทรวงวัฒนธรรม กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และวีระ โรจน์พจนรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

วีระศักดิ์ โควสุรัตน์

นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา รองประธานกรรมการในคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติประธานกรรมการในคณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ประธานกรรมการคณะกรรมการส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนกรรมการมูลนิธิสุรเกียรติ์ - ท่านผู้หญิงสุธาวัลย์ เสถียรไทยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมศิลปะร่วมสมัย สาขาภาพยนตร์ นักคิด นักยุทธศาสตร์ และนักวิชาการด้านกฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางทั้งในและต่างประเทศ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง เลขาธิการสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ ด้วยความที่เป็นนักวิชาการด้านการเมืองและนักพัฒนาสังคม จึงมีโอกาสได้ดำรงตำแหน่งที่สำคัญหลายตำแหน่ง อาทิ เลขานุการประธานรัฐสภา เลขานุการประธานตุลาการรัฐธรรมนูญ เลขานุการประธานคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายวุฒิสภา ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงวัฒนธรรม เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคชาติไทยอีกด้วย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา อดีตผู้อำนวยการสถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน) นอกเหนือจากทางการเมืองแล้ว ด้านงานวิชาการ ยังเป็นอาจารย์พิเศษ และผู้บรรยายพิเศษ ในมหาวิทยาลัยต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นมหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาในประเทศไทย

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรมให้ทางราชการรับรองศาสนาในประเทศไทยไว้ 5 ศาสนา ดังนี้ ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิก.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และศาสนาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปินสำนักการสังคีตกรมศิลปากร

ลปิน สำนักการสังคีต กรมศิลปากร หมายถึงบุคลากรในสังกัดของสำนักการสังคีต กรมศิลปากรกระทรวงวัฒนธรรม มีหน้าที่แสดงในศิลปการแสดงต่างๆทั้งของไทยและสากล และจะมีบุคลากรจากสังกัด สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป ซึ่งมีอาจารย์,นักเรียน,นักศึกษา ในสังกัดของสถาบันฯซึ่งรวมทั้งวิทยาลัยนาฏศิลป ต่างๆ มาร่วมในการแสดงด้วย ตามความเหมาะสมของงานแสดงนั้น.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และศิลปินสำนักการสังคีตกรมศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

ศึกกุมภกรรณ 2527

ึกกุมภกรรณ (The Noble War 2527) เป็นตอนที่ 25 ของเรื่องรามเกึยรติ์ซึ่งได้นำมาทำเป็นภาพยนตร์ที่พลิกโฉมประวัติศาสตร์ใหม่จากโขน มาเป็นภาพยนตร์รามเกึยรติ์เรื่องแรกของไทยออกฉายในประเทศไทยในปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และศึกกุมภกรรณ 2527 · ดูเพิ่มเติม »

ศุภชัย จันทร์สุวรรณ์

ร.ศุภชัย จันทร์สุวรรณ์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์)..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และศุภชัย จันทร์สุวรรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

ูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) (Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre (Public Organisation)) เป็นศูนย์ข้อมูลความรู้ทางด้านมานุษยวิทยา โบราณคดี ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ วัฒนธรรมและความรู้ท้องถิ่นของประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำหน้าที่เก็บรวบรวมบันทึกความรู้ในรูปแบบต่างๆ สนับสนุนการสร้างความรู้ใหม่ และเผยแพร่ผลงานการค้นคว้าให้แก่ประชาชนทั่วไป.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

ทความนี้เกี่ยวข้องกับสถานที่แสดงมหรสพ สำหรับสถานีรถไฟฟ้ามหานคร ดูที่ สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (Thailand Cultural Centre) เป็นสถานที่จัดแสดงนิทรรศการและจัดการแสดงต่างๆ อาทิ คอนเสิร์ต ละครเวที รวมไปถึงเป็นสถานที่จัดการประชุมต่างๆ ตั้งอยู่ที่ บ้านเลขที่ 14 ถนนเทียมร่วมมิตร แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร โดยผู้อำนวยการศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย คนปัจจุบัน คือ นางดาวลดา พันธ์วร.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8

มเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือคำให้การชาวกรุงเก่าว่า สมเด็จพระสุริเยนทราธิบดี เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 29 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สองแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองร..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐต์ หิรัญญ์ธนภูวดล

หรัฐต์ หิรัญญ์ธนภูวดล เดิมชื่อ วิรัตน์ จันทร์ภักดี โดยหลังจากเข้ารอบ 8 คนสุดท้าย ก็เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น สิงหรัตน์ ต่อมาเปลี่ยนทั้งชื่อและนามสกุลเป็น ธนณัฏฐ์ รวงงาม และเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็นทันโตวิ์ ในปี พ.ศ. 2555 ในปี พ.ศ. 2556 ได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น ทันโตวิ์ หิรัญญ์ธนภูวดล และปัจจุบันใช้ชื่อว่า สหรัฐต์ หิรัญญ์ธนภูวดล สิงโต เกิดเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ที่จังหวัดขอนแก่น ศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ โรงเรียนกัลยาณวัตร ซึ่งเป็นโรงเรียนที่มีชื่อเสียงในจังหวัดขอนแก่น จนถึงปี พ.ศ. 2552 ภายหลังจากจบการประกวด เดอะสตาร์ 5 สิงโตได้ย้ายเข้ามาศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร สายวิทย์-คณิต ด้วยเกรดเฉลี่ย 3.96 โดยสาเหตุที่ต้องย้ายโรงเรียน เนื่องจากสิงโตต้องการทำงานในวงการบันเทิงและเรียนหนังสือควบคู่กันไป ภายหลังเรียนจบมัธยมศึกษาตอนปลายสิงโตได้สอบติดคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเข้าศึกษาอยู่ที่นั้นจนถึงชั้นปีที่ 2 จึงลาออก ปัจจุบันสิงโตได้เข้าศึกษาต่อที่ สถาบันการบิน มหาวิทยาลัยรังสิต.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และสหรัฐต์ หิรัญญ์ธนภูวดล · ดูเพิ่มเติม »

สำนักศาสนศึกษาวัดคุ้งตะเภา

ำนักศาสนศึกษาวัดคุ้งตะเภา หรือ สำนักเรียนวัดคุ้งตะเภา เป็นสำนักเรียนพระปริยัติธรรมสำหรับคฤหัสถ์ประจำตำบลคุ้งตะเภา ตั้งอยู่ที่ วัดคุ้งตะเภา บ้านคุ้งตะเภา ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดคณะสงฆ์จังหวัดอุตรดิตถ์ ควบคู่กับ สำนักเรียนพระปริยัติธรรมวัดใหม่เจริญธรรม ที่เป็นสำนักเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรมและบาลีของพระสงฆ์ในตำบลคุ้งตะเภา สำนักศาสนศึกษาวัดคุ้งตะเภา เป็นสำนักเรียนพระปริยัติธรรมแผนกคฤหัสถ์ของคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภาแห่งแรกของตำบล ปัจจุบันทำการเรียนการสอนในโรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในตำบลคุ้งตะเภาทั้ง 6 โรงเรียน โดยมีคณะครูสอนพระปริยัติธรรมสังกัดวัดในตำบลคุ้งตะเภาทั้งพระสงฆ์และคฤหัสถ์เข้าสอนควบคู่กับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนในเขตตำบลคุ้งตะเภาประวัติสำนักศาสนศึกษาวัดคุ้งตะเภา-History of Watkungtaphao Buddhism School.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และสำนักศาสนศึกษาวัดคุ้งตะเภา · ดูเพิ่มเติม »

สำนักหอสมุดแห่งชาติ

ำนักหอสมุดแห่งชาติ (ตัวย่อ: หสช.) ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และสำนักหอสมุดแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (National Office of Buddhism) เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี เป็นหน่วยงานที่ไม่สังกัดกระทรวง ทบวงใด จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 มีภารกิจเกี่ยวกับการดำเนินงานสนองงานคณะสงฆ์และรัฐโดยการทำนุบำรุง ส่งเสริมกิจการพระพุทธศาสนา ให้การอุปถัมภ์ คุ้มครองและส่งเสริมพัฒนางานพระพุทธศาสนา ดูแล รักษา จัดการศาสนาสมบัติ พัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งให้การสนับสนุนส่งเสริม พัฒนาบุคลากรทางศาสน.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

ำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย เป็นส่วนราชการฐานะเทียบเท่ากรม ในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม

ำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม เป็นหน่วยงานกลางในการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงวัฒนธรรม กำกับดูแลหน่วยงานระดับกรมในสังกัด ตลอดจนนิเทศ ติดตาม และบังคับบัญชาสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดทั่วประเทศราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และสำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

สุรบถ หลีกภัย

รบถ หลีกภัย เกิดวันที่ 8 ธันวาคม..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และสุรบถ หลีกภัย · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

ันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (Bunditpatanasilpa Institute; ชื่อย่อ: BPI) เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเป็นผู้พระราชทานนามสถาบัน ซึ่งหมายถึง "สถาบันผลิตบัณฑิตทางศิลปะแห่งความเจริญ" โดยมีหน้าที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้านช่างศิลป์ นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และคีตศิลป์ ทั้งไทยและสากล รวมถึงศิลปวัฒนธรรม.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา

ันดนตรีกัลยาณิวัฒนา (Princess Galyani Vadhana Institute of Music; ชื่อย่อ: สกว. – PGVIM) เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

นีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (รหัส CUL) หรือสถานีศูนย์วัฒนธรรมฯ เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ที่ถนนรัชดาภิเษก-ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในย่านธุรกิจ ศูนย์การค้า ที่พักอาศัย และอยู่ใกล้สถานที่สำคัญด้านศิลปวัฒนธรรม เช่นศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เป็นชุมทางรถไฟฟ้าในทิศทางจากสถานีห้วยขวางขึ้นบนระดับพื้นดิน เข้าสู่ ศูนย์ซ่อมบำรุงรถไฟฟ้ามหานคร ห้วยขวาง.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และสถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สนธยา คุณปลื้ม

นธยา คุณปลื้ม ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาคนแรก อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี(ทักษิณ ชินวัตร) และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรีหลายสมั.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และสนธยา คุณปลื้ม · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)

อมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล หรือ จอมพลเรือ ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงสหกรณ์ กระทรวงวัฒนธรรม และรองนายกรัฐมนตรี จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล มีนามเดิมว่า ประยูร ศาสตระรุจิ ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือ ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และหลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล) · ดูเพิ่มเติม »

หนุมานพบ 7 ยอดมนุษย์

หนุมานพบ 7 ยอดมนุษย์ (ウルトラ6兄弟VS怪獣軍団) เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในประเทศไทยในปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และหนุมานพบ 7 ยอดมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

อภินันท์ โปษยานนท์

ตราจารย์ อภินันท์ โปษยานนท์ (27 สิงหาคม 2499) ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม คนที่ 7.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และอภินันท์ โปษยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ออกัส

ออกัส เป็นวงดนตรีชาวไทย ก่อตั้งขึ้นเพื่อร่วมแสดงเป็นวงดนตรีชื่อเดียวกัน ในภาพยนตร์ไทยเรื่อง รักแห่งสยาม (2550) ซึ่งชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล ผู้กำกับการแสดงภาพยนตร์เรื่องนี้ เป็นผู้จัดการวง และมีสมาชิกทั้งหมด 13 คน ออกอัลบั้มเพลงมาแล้วสองชุด ในช่วงต้นและปลายปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และออกัส · ดูเพิ่มเติม »

อัญชุลี ธีระวงศ์ไพศาล

ันตำรวจโทหญิง แพทย์หญิงอัญชุลี ธีระวงศ์ไพศาล หรือ หมอแอร์ อดีตรองโฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โฆษกศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และแพทย์ประจำกลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติด โรงพยาบาลตำรวจ เป็นนักแสดง พิธีกรรายการโทรทัศน.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และอัญชุลี ธีระวงศ์ไพศาล · ดูเพิ่มเติม »

อาปัติ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และอาปัติ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพุทธมณฑล

อำเภอพุทธมณฑล เป็นอำเภอที่ตั้งขึ้นใหม่ที่สุดและมีพื้นที่น้อยที่สุดในจังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และอำเภอพุทธมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

อดุล จันทรศักดิ์

นายอดุล จันทรศักดิ์ (25 ธันวาคม พ.ศ. 2489 - ปัจจุบัน) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (กวีนิพนธ์ บทความ)..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และอดุล จันทรศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อนุรักษ์ จุรีมาศ

นายอนุรักษ์ จุรีมาศ (3 สิงหาคม 2503 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์คนแรก และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม และกรรมการบริหารพรรคชาติไท.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และอนุรักษ์ จุรีมาศ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์ วงศ์วรรณ

อนุสรณ์ วงศ์วรรณ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน พรรคพลังประชาชน.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และอนุสรณ์ วงศ์วรรณ · ดูเพิ่มเติม »

จัน ดารา (ภาพยนตร์ทวิภาค)

ัน ดารา เป็นภาพยนตร์ไทยทวิภาคดัดแปลงจากนิยายข้างต้นเรื่อง เรื่องของจัน ดารา ซึ่งอุษณา เพลิงธรรมเขียนลงพิมพ์เป็นตอน ๆ ในหนังสือพิมพ์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และจัน ดารา (ภาพยนตร์ทวิภาค) · ดูเพิ่มเติม »

จณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์

ณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2515 มีชื่อเล่นว่า แบม หรือที่นิยมเรียกกันติดปากว่า น้องแบม โฆษกพรรค และรองเลขาธิการพรรคชาติไทย และ รองโฆษกรัฐบาล พิธีการรายการโทรทัศน์ที่เคยรับงานพิธีกรรายการตีสิบ โดยภายหลังจึงลาออกมาทำงานการเมือง.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

จดหมายเหตุ

หอจดหมายเหตุ (archive) หมายถึงบันทึก หรือรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ณ ช่วงเวลาหนึ่งๆ โดยผู้บันทึกอาจเป็นส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือบุคคลทั่วไปก็ได้ เพื่อบันทึกไว้สำหรับใช้อ้างอิงในอนาคต ตั้งแต่ครั้งอดีต พระมหากษัตริย์ไทย โปรดเกล้าฯให้มีธรรมเนียมการจดบันทึกเหตุการณ์สำคัญของบ้านเมือง วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ รวมถึงปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้น โดยผู้มีหน้าที่จดบันทึกดังกล่าวเรียกว่าอาลักษณ์ จดหมายเหตุนี้จะถูกเก็บรักษาไว้อย่างดีในหอจดหมายเหตุหรือหอหลวง เพื่อให้เป็นประโยชน์ทางการศึกษาต่อคนรุ่นหลัง จดหมายเหตุในราชวงศ์นี้ บางทีก็เรียกพระราชพงศาวดาร เช่น พระราชพงศาวดารกรุงเก่า และพระราชพงศาวดารเหนือในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จดหมายเหตุที่บันทึกโดยบุคคลในอดีตก็มีความสำคัญไม่น้อย มีทั้งการบันทึกเหตุการณ์ทั่วไป การบันทึกเรื่องราวของตนเองอย่างลักษณะไดอารี่ ฯลฯ บางฉบับมีคุณค่าต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างมาก เช่น จดหมายเหตุบางกอก (อังกฤษ: Bangkok Recorder) ของหมอบรัดเลย์ จดหมายเหตุลาลูแบร์ (ฝรั่งเศส: Du Royaume de Siam) เขียนโดยมองซิเออร์ เดอ ลาลูแบร์อัครราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส จดหมายเหตุเสด็จประพาสยุโรป ร.ศ.116 ของพระยาศรีสหเทพ (เส็ง) จดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี จดหมายเหตุจีนว่าด้วยกรุงสยาม เป็นต้น จดหมายเหตุในอดีตพบว่ามีการบันทึก โดยการเขียน การพิมพ์ ลงบนวัสดุต่างๆตามยุคสมัย เช่น แผ่นหิน ใบลาน กระดาษ เป็นต้น.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และจดหมายเหตุ · ดูเพิ่มเติม »

ธัชพล เสือทองคำ

ัชพล เสือทองคำ หรือ โซ่ ธัชพล, โซ่ สตรอเบอรี่ครับเค้ก (ชื่อเดิม ทศพล เสือทองคำ) เป็นดารานักแสดงและพิธีกรสังกัดไทยทีวีสีช่อง 3 เกิดเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และธัชพล เสือทองคำ · ดูเพิ่มเติม »

ธาร ยุทธชัยบดินทร์

ร ยุทธชัยบดินทร์ นักเขียนเชื้อสายไทย-จีน เกิดเมื่อ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 ที่ โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร มีผลงานวรรณกรรมพิมพ์เผยแพร่ในนิตยสารต่าง ๆ ทั้งบทความและเรื่องสั้น รวมถึงหนังสือเล่มซึ่งได้รับรางวัลระดับประเทศหลายครั้ง.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และธาร ยุทธชัยบดินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ธีระ สลักเพชร

นายธีระ สลักเพชร (9 พฤศจิกายน 2500 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม รองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราด หลายสมั.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และธีระ สลักเพชร · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไทย

งชาติไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีหลักในธง 3 สี คือ สีแดง ขาว และสีน้ำเงินขาบ ภายในแบ่งเป็นแถบ 5 แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ ชาติ (สีแดง) ศาสนา (สีขาว) และพระมหากษัตริย์ (สีน้ำเงิน) สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์ (ไตร.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และธงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ธงศาสนาคริสต์

งศาสนาคริสต์ หรือธงคริสเตียน ธงศาสนาคริสต์ หรือ ธงคริสเตียน (Christian Flag) เป็นสัญลักษณ์ของศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ ถูกออกแบบในช่วงคริสศตวรรษที่ 20 และได้รับความนิยมมากที่สุดในกลุ่มของโบสถ์นิกายโปรเตสแตนต์ ในทวีปอเมริกา แอฟริกา และละตินอเมริกา โดยสีพื้นของธงเป็นสีขาว ประกอบด้วยสัญลักษณ์กางเขนละตินสีแดง บนกรอบสีน้ำเงินสี่เหลี่ยม.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และธงศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงทอง จันทรางศุ

ตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ (8 มิถุนายน 2498 -) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ภายใต้คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติและการสร้างความสามัคคีปรองดอง (ป.ย.ป.), กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 8, กรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์ในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ,ประธานกรรมการ บริษัท ท่าเรือราชาเฟอร์รี่ จำกัด (มหาชน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ไวยาวัจกร วัดโสมนัสวิหาร, อุปนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประธานอนุกรรมการเครือข่ายสถาบันการศึกษาในรัชกาลที่ 6, ประธานกรรมการพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาบันพระปกเกล้า, นายกสมาคมศิษย์เก่าสาธิตปทุมวัน, อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 (ส.ส.ร.) ประเภทผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายมหาชน, อดีตที่ปรึกษาประจำสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตเลขาธิการสภาการศึกษา, อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม, อดีตรองโฆษกกระทรวงยุติธรรม, อดีตรองอธิบดีกรมคุมประพฤติ, อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตผู้ประสานงานคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา (CPLO) นอกจากนี้แล้ว ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ ยังมีความเชี่ยวชาญในด้านประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม รวมทั้งเรื่องราวประวัติศาสตร์ทางราชสำนัก และพระราชพิธีเป็นอย่างมาก จนได้แต่งหนังสือเกี่ยวกับเรื่องราวด้านประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องราวประวัติศาสตร์ทางราชสำนัก และพระราชพิธี เป็นจำนวนมาก ตลอดจนยังได้หนังสือกฎหมายต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องทางด้านประวัติศาสตร์อีกด้วย และยังได้รับเชิญให้มาร่วมบรรยายถ่ายทอดสดในการพระราชพิธีต่างๆ ที่สำคัญมาแล้วหลายวาระ และล่าสุดในปีพ.ศ. 2559 ได้รับเชิญให้มาร่วมบรรยายถ่าดทอดสดในการพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และธงทอง จันทรางศุ · ดูเพิ่มเติม »

ธงไชย แมคอินไตย์

งไชย แมคอินไตย์ (เกิด 8 ธันวาคม พ.ศ. 2501) เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย ได้รับขนานนามว่าเป็นซูเปอร์สตาร์เมืองไทย แรกเข้าวงการบันเทิงเป็นนักแสดงสมทบ ต่อมาได้รับบทพระเอก โดยภาพยนตร์ที่สร้างชื่อเสียงให้กับเขาที่สุดเรื่อง ด้วยรักคือรัก ส่วนละครที่สร้างชื่อเสียงที่สุดของเขาคือบท "โกโบริ" ในละครคู่กรรม ด้านวงการเพลงซึ่งเป็นอาชีพหลักเขาเริ่มต้นจากการประกวดร้องเพลงของสยามกลการ และเป็นนักร้องในสังกัดบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) โดยเขามีอัลบั้มเพลงทั้งหมด 17 อัลบั้ม นอกจากผลงานประจำแล้ว เขาได้รับเกียรติให้ขับร้องเพลงเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสที่สำคัญหลายบทเพลง และในช่วง 25 ปีที่ผ่านมามีคอนเสิร์ตใหญ่ โดยเฉพาะคอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 9 และ คอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 10 สร้างปรากฏการณ์ยอดผู้ชมสูงสุดในประเทศไทย สำหรับบทบาทอื่น ๆ ของเขาในช่วงแรกของวงการบันเทิงเขาเป็นพิธีกรรายการถ่ายทอดสด 7 สีคอนเสิร์ต นอกจากนั้นเขายังเป็นนักพากย์ และผู้บรรยาย ชีวิตของธงไชยทุ่มเทให้กับการทำงานเป็นหลัก เขามีผู้จัดการ 2 คน ที่ดูแลเรื่องส่วนตัว และเรื่องงาน และมีเจ้าหน้าที่ของบริษัทแกรมมี่ช่วยทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ชีวิตส่วนตัวของเขาเป็นโสดและไม่พยายามออกไปไหน เขามี "ไร่อุดมสุข" ที่จังหวัดเชียงราย ซึ่งตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ด้านความพอเพียง จากความกตัญญูของเขาภายหลังจากสูญเสียมารดา หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ประทานพระเมตตา รับเขาเป็นเสมือนบุตรบุญธรรม ธงไชยเป็นศิลปินที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในรอบ 30 ปี ของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และประสบความสำเร็จสูงสุดของประเทศไทย โดยมียอดจำหน่ายอัลบั้มทั้งหมดสูงสุดของประเทศไทย กว่า 25 ล้านชุด ติดระดับแนวหน้าของทวีปเอเชีย และเป็นศิลปินคนแรกของแกรมมี่ที่ทำยอดขายอัลบั้มเกินสองล้านตลับ และมีสตูดิโออัลบั้มเดี่ยวที่ล้านตลับมากที่สุด 7 ชุด โดยเฉพาะอัลบั้มที่ยอดจำหน่ายสูงสุดของเขาคืออัลบั้ม ชุดรับแขก ซึ่งขายได้มากกว่า 5 ล้านชุด จนสื่อบันเทิงต่างประเทศ นำโดยนิตยสาร เอนเตอร์เทนเมนต์วีกลี ยกให้ธงไชยเป็นศิลปินนักร้องผู้ทรงอิทธิพลที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของประเทศไทย และเป็นระดับแนวหน้าของทวีปเอเชีย ธงไชยได้รับรางวัลต่าง ๆ จำนวนมาก รวมทั้งบิลบอร์ดวิวเออส์ชอยส์อะวอดส์ 1997 ณ สหรัฐ เป็นนักร้องจากทวีปเอเชียคนแรกที่ได้รับรางวัลดังกล่าว เขาได้รับฉายา "ดาวค้างกรุ" ในปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และธงไชย แมคอินไตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทศพร เทวาพิทักษ์ธรรม

นางทศพร เทวาพิทักษ์ธรรม ทศพร เทวาพิทักษ์ธรรม หรือชื่อเดิมคือ ทศพร บุญเทวาพิทักษ์, ทศพร ชัยประคอง, ธนพร ชัยประคอง และ มาลินี ชัยประคอง ตามลำดับ หรือมักเรียกกันว่า แม่ชีทศพร (5 พฤษภาคม 2501 —) เป็นนางชีชาวไทย ทศพรเกิดที่อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม มีชื่อแต่แรกเกิดว่า มาลินี ชัยประคอง สำเร็จการศึกษาเพียงประถมศึกษาปีที่ 7 แล้วมีสามี เธอกับสามีมีบุตรด้วยกันทั้งหมดห้าคน แต่ชีวิตครอบครัวล่มสลาย จึงบวชชีที่วัดเขาอิติสุคโต อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จากนั้นไปพักอาศัยที่วัดพิชยญาติการามวรวิหาร แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร เรื่อยมา ทศพรมีชื่อเสียงเป็นอันมาก จากการอ้างว่าบรรลุธรรมจนสามารถระลึกอดีตชาติของตนได้ และสามารถแก้บาปกรรมที่ผู้คนเคยกระทำไปแล้วได้ นอกจากนี้ เธอยังเขียนหนังสือเกี่ยวกับลัทธิปุพเพกตวาท หรือลัทธิกรรมเก่าที่เธอเชื่อถือ เพื่อขายเชิงพาณิชย์ และยังลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์เชิญชวนผู้คนโทรศัพท์มาใช้บริการแก้กรรมเก่ากับเธอด้วย ซึ่งปรากฏว่าได้รับความนิยม มีผู้ใช้บริการเดือนละมากกว่าห้าพันคน อนึ่ง ณ ที่อาศัยของเธอ ยังมีประชาชนเข้าใช้บริการแก้กรรมอย่างเนืองแน่น โดยถ้าเป็นวันทำงาน มีราว ๆ วันละหกร้อยคน ส่วนวันหยุด มีราวหนึ่งพันคน รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ ศาสตราจารย์คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง กล่าวถึงเธอว่า "เราเชื่อเรื่องกรรมมาแต่เดิมอยู่แล้ว มีอยู่ในระบบสังคมไท...คือคำตอบของคนที่เหว่ว้า ความเชื่อนี้คนใหญ่คนโตก็เชื่อ ไม่ใช่แค่ชาวบ้าน มีบทบาทมีความคิดอ่านที่แสดงต่อสังคมชัดเจน...อย่างปี 2540 ก็เคยมีหนังสือของแม่ชีทศพรที่ดังมาก...มองว่าเป็นการอาศัยเวลาสั่งสมบ่มเพาะความนิยมขึ้นมา และสำนักพิมพ์เองก็สนับสนุน...จะเห็นว่านี่ไม่ใช่การสร้างคนเขียน ทว่า เป็นการสร้างความคิดความเชื่อขึ้นมา เป็นการมองในแง่บทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ ว่าให้ผลประโยชน์กับใครมากกว่าระหว่างผู้อ่านและผลกำไรทางธุรกิจ" ขณะที่ พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี ว่า "พิธีแก้กรรมไม่มีอยู่ในหลักพุทธศาสนา แต่ถือเป็นลัทธิกรรมพาณิชย์ หนทางแก้กรรมต้องทำที่ตัวเอง พระพุทธเจ้าไม่เคยแสดงธรรมคำสอนเรื่องกรรมว่า ผู้อื่นสามารถแก้กรรมของตนได้ ให้ดูชีวิตในปัจจุบันว่าหว่านพืชชนิดใดก็ย่อมได้ผลเช่นนั้น "...พระพุทธเจ้าตรัสว่า ลัทธิที่สวนทางกับหลักพระพุทธศาสนามีอยู่สามลัทธิ คือ 1.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และทศพร เทวาพิทักษ์ธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลของก้อย

ทะเลของก้อย (The Sanctuary of Sea) เป็นภาพยนตร์ไทยขนาดสั้น ในโครงการภาพยนตร์เฉลิมพระเกียรติ แด่พระผู้ทรงธรรม เนื่องในในศุภวาระพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และทะเลของก้อย · ดูเพิ่มเติม »

ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ

ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ เป็นศิลปินนักแสดงชาวไทย ประจำสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

ทิพาวดี เมฆสวรรค์

ณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์ (1 มกราคม พ.ศ. 2489 - ปัจจุบัน) กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตปลัดกระทรวงวัฒนธรรม, อดีตปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และอดีตเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญร่วมกับกระทรวงการคลังและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาและผลักดันให้เกิดกองทุนบำเหน็จบำนาญ ข้าราชการ (กบข.) การให้ความสำคัญต่อความเสมอภาคของบทบาทชายหญิง ทั้งในสถานที่ทำงานและภายนอก รวมทั้งเป็นผู้ที่มีความโดดเด่นยิ่งด้านการต่างประเทศ สามารถระดมความช่วยเหลือจากองค์กรระหว่างประเทศต่าง ๆ มาสู่สำนักงาน ก..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และทิพาวดี เมฆสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวทิพย์ ธิดาดิน

้าวทิพย์ ธิดาดิน นักร้องเพลงลูกทุ่งหญิง สังกัดค่าย แกรมมี่โกลด์ ในเครือ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ หนึ่งในนักร้องกลุ่ม น้องใหม่ไต่ดาว โครงการ 1 รวมดาวที่ราบสูง เป็นนักร้องลูกทุ่งที่มีชื่อเสียงโด่งดังในปัจจุบันจากผลงานเพลง สาว ม.ปลายยังอายฮัก,อ้ายอย่าเว้าเล่น,สาวหมอลำส่ำน้อย,อยู่กับเขาเหงาด้วยหรือ,OK.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และข้าวทิพย์ ธิดาดิน · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวต้มมัด

อีบอส ขนมของฟิลิปปินส์ที่คล้ายข้าวต้มมัดของไทย ข้าวต้มมัดไส้กล้วย หรือ ข้าวต้มกล้วย ข้าวต้มมัด หรือ ข้าวต้มผัด เป็นขนมชนิดหนึ่งที่ทำด้วยข้าวเหนียวผัดกับกะทิ แล้วนำไปห่อด้วยใบตองหรือใบมะพร้าวอ่อน ใส่ไส้กล้วย นำไปนึ่งให้สุก ทางภาคใต้ใช้ข้าวเหนียวกับน้ำกะทิ ห่อด้วยใบพ้อ เรียกห่อต้ม ถ้าห่อด้วยใบมะพร้าว และมัดด้วยเชือกเรียกห่อมัด ขนมแบบเดียวกับข้าวต้มยังพบในประเทศอื่นอีก เช่นในฟิลิปปินส์เรียก อีบอส หรือ ซูมัน ที่แบ่งย่อยได้หลายชนิดเช่นเดียวกับข้าวต้มมัดของไทย ข้าวต้มมัดอีกชนิดหนึ่งเรียก ข้าวต้มลูกโยน เป็นขนมที่ใช้ในเทศกาลออกพรรษา ห่อด้วยใบพ้อหรือยอดมะพร้าวเป็นรูปรี ข้างในเป็นข้าวเหนียวผสมถั่วดำไม่มีไส้ ผูกเข้าด้วยกันเป็นพวงแล้วนำไปต้ม ส่วน ข้าวต้มมัดไต้ เป็นข้าวต้มที่ห่อแล้วมัดให้มีลักษณะเหมือนไต้ที่ใช้จุดไฟ ไส้เป็นถั่วทองโขลกกับรากผักชี กระเทียม พริกไทย ใส่หมู มันหมู ปรุงรสด้วยเกลือ น้ำ น้ำตาลทราย ห่อด้วยใบตองเป็นแท่ง มัดเป็นเปลาะ 4-5 เปลาะ แล้วนำไปต้ม บางท้องที่ใช้เป็นขนมไหว้เจ้าในเทศกาลตรุษจีนและสารทจีนด้วย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกข้าวต้มมัดว่า ข้าวต้มกล้วย ใช้ข้าวเหนียวดิบมาห่อ ปรุงรสด้วยเกลือนิดหน่อย ใส่ถั่วลิสงต้มสุกเคล้าให้เข้ากันแล้วจึงห่อเป็นมัด ใส่ไส้กล้วย เอาไปต้มให้สุก ถ้าเป็นแบบผัด จะผัดข้าวเหนียวกับกะทิก่อนแล้วจึงห่อใส่ไส้กล้วย แล้วต้มให้สุก ถ้าต้องการหวานจะเอามาจิ้มน้ำตาล ส่วนทางภาคเหนือนิยมนำข้าวต้มมัดที่สุกแล้วมาหั่นเป็นชิ้นๆ คลุกกับมะพร้าวขูด โรยน้ำตาลทราย เรียก ข้าวต้มหัวหงอก ในประเทศลาวมีข้าวต้มมัดเช่นเดียวกันเรียกว่า "เข้าต้ม" ไส้เค็มใส่มันหมูกับถั่วเขียว ไส้หวานใส่กล้วย ข้าวต้มมัดทางภาคใต้ไม่มีไส้ เป็นข้าวเหนียวผัดกับกะทิ ใส่ถั่วขาว ไม่นิยมใช้ถั่วดำ ออกรสเค็มเป็นหลัก ถ้าต้องการให้มีรสหวานจะเอาไปจิ้มน้ำตาล เส้นทางขนมไท.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และข้าวต้มมัด · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐ ยนตรรักษ์

ณัฐ ยนตรรักษ์ เป็นนักเปียโน นักประพันธ์เพลงที่มีชื่อเสียงของไทย มีผลงานการเล่นเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ เป็นผู้ได้รับรางวัลศิลปาธร สาขาคีตศิลป์ จัดโดยสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ประจำปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และณัฐ ยนตรรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดอกส้มสีทอง

อกส้มสีทอง เป็นละครสะท้อนสังคมที่ออกฉายทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โดยเป็นภาคต่อจากละครเรื่องมงกุฎดอกส้ม ละครพัฒนาจากบทประพันธ์ในชื่อเดียวกันเรื่อง ดอกส้มสีทอง บทประพันธ์ของ ถ่ายเถา สุจริตกุล สำหรับละครในตอนจบของเรื่อง เฉพาะในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล กลุ่มคนดูอายุ 15-44 ปี วัดเรตติ้งได้ 24.7.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และดอกส้มสีทอง · ดูเพิ่มเติม »

ดายทูมอร์โรว์

รุ่งนี้ตาย หรือ ดายทูมอร์โรว์ (Die Tomorrow) เป็นภาพยนตร์ไทยกึ่งชีวิต-สารคดี เขียนบทและกำกับโดยนวพล ธำรงรัตนฤทธิ์ เป็นการนำเรื่องราวที่สร้างจาก 6 เหตุการณ์การเสียชีวิตอันแปลกประหลาดบนหน้าหนังสือพิมพ์มาสร้างเป็นหนังสั้นที่ไม่มีจุดเชื่อมโยงกัน และฉายสลับกับสารคดีว่าด้วยเรื่องมุมมองการตายของคนต่างวัย นำแสดงโดย ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์, พัชชา พูนพิริยะ, สิราษฎร์ อินทรโชติ, รัตนรัตน์ เอื้อทวีกุล มรกต หลิว, กัญญภัค วุธรา, ชุติมณฑน์ จึงเจริญสุขยิ่ง, วิโอเลต วอเทียร์, กรมิษฐ์ วัชรเสถียร, ชนนิกานต์ เนตรจุ้ย, จรินทร์พร จุนเกียรติ และค่อม ชวนชื่น อนึ่งภาพยนตร์นี้ยังเป็น 1 ใน 3 โปรเจ็คหนังที่ถูกกระทรวงวัฒนธรรมเข้าร่วมในงาน Thai Film Pitching Project 2016 ซึ่งจัดขึ้นที่เทศกาลภาพยนตร์กาน เมื่อปี 2016.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และดายทูมอร์โรว์ · ดูเพิ่มเติม »

ดนัย จันทร์เจ้าฉาย

นัย จันทร์เจ้าฉาย เกิดวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2509 เป็นบุตรของนายดำรงค์ จันทร์เจ้าฉาย (เสียชีวิต) และนางชนิตร์นันท์ จันทร์เจ้าฉาย เกิดที่จังหวัดนครราชสีมา ดนัย เป็น นักคิด นักเขียน นักจัดรายการวิทยุ นักบรรยาย นักบริหารการตลาดและประชาสัมพันธ์ ที่ปลูกฝังแนวคิดธุรกิจสีขาว ด้วยหลักการกลยุทธ์น่านน้ำสีขาว (White Ocean Strategy) และการสื่อสารบนพื้นฐานของความเป็นจริง ซึ่งเป็นต้นแบบการประชาสัมพันธ์ที่มุ่งเน้น เรื่องคุณธรรมจริยธรรมอย่างเป็นรูปธรรม ขยายผลอย่างกว้างขวางในสังคมทุกภาคส่วน และยังเป็นวิทยากรรับเชิญบรรยายในหัวข้อ คุณธรรม จริยธรรม ธรรมะ การตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์ กลยุทธ์การสื่อสารในภาวะวิกฤต ให้กับสถาบันทั้งในและต่างประเทศ ผู้ดำเนินรายการ CEO Vision และHuman Talk คลื่นความคิด 96.5 FM อสมท. ร่วมกับ คุณวิชัย วรธานีวง.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และดนัย จันทร์เจ้าฉาย · ดูเพิ่มเติม »

คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

ณะรัฐประหารในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ. (National Council for Peace and Order (NCPO) เดิมใช้ชื่อ National Peace and Order Maintaining Council (NPOMC)) เป็นคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง โดยรัฐประหารยึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และคณะรักษาความสงบแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 55 (11 มีนาคม พ.ศ. 2548 - 19 กันยายน พ.ศ. 2549) พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 11 มีนาคม 2548 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56

รัฐบาลพลเรือน ที่ตั้งขึ้นภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 57 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 - 18 กันยายน พ.ศ. 2551) นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายยงยุทธ ติยะไพรัช ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 58 (24 กันยายน พ.ศ. 2551 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2551) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะรัฐมนตรีสมชาย (ครม.สมชาย 1) นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายชัย ชิดชอบ ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59

ณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 (20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554) มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายชัย ชิดชอบ ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ คณะรัฐมนตรีไทย คณะนี้ เป็นคณะที่ ประกาศใช้ พระราชกำหนดบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 60 (9 สิงหาคม พ.ศ. 2554 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) เป็นคณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม ประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2554 ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 และการแต่งตั้ง ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ตาม ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2554 โดยลำดับ คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เมื่อนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 61 (30 สิงหาคม พ.ศ. 2557 — ปัจจุบัน) คณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม พระบรมราชโองการประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2557 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/RKJ/announce/answer.jsp?id.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์)

ณะรัฐมนตรีเงา เริ่มมีการจัดตั้งในประเทศไทย เมื่อ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ผู้นำฝ่ายค้าน ได้ประกาศติดตามการทำงานของรัฐบาลผสมที่มีพรรคพลังประชาชนเป็นแกนนำ ในสมัยที่นายสมัคร สุนทรเวช และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย และได้มีการจัดตั้งคณะรัฐมนตรีเงาเป็นคณะที่ 2 ในช่วงรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์) · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่เป็นอันดับ 2 ผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ทั้งระดับปริญญาตรี โท และเอก.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

ณะศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (Faculty of Art Education, Bunditpatanasilpa Institute) เป็นคณะวิชาสังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ มีหน้าที่ผลิตบัณฑิตด้านศึกษาศาสตร์ที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญทางด้านนาฏศิลป์ ดนตรีและคตีศิลป.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และคณะศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

ตั้งวง

ตั้งวง เป็นภาพยนตร์ไทย เขียนบทและกำกับโดยคงเดช จาตุรันต์รัศมี อำนวยการสร้างโดย ติ๊ก กัญญารัตน์ เป็นภาพยนตร์ที่สร้างจากเงินทุนสนับสนุนของสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม มีเนื้อหาเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย โดยสอดแทรกเหตุการณ์ทางการเมืองไทยไว้เป็นฉากหลัง ในแง่มุมของบริบททางสังคม ภาพยนตร์ได้รับการคัดเลือกให้เข้าประกวดในเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเบอร์ลิน สาย Generation และเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติฮ่องกง เนื้อเรื่องกล่าวถึงเด็กวัยรุ่น 4 คนที่ประสบปัญหาชีวิต จึงมาบนบานศาลกล่าวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และจำเป็นต้องมาฝึกฝนรำไทยกับนางรำ เพื่อรำแก้บนตามที่ได้บนบานไว้.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และตั้งวง · ดูเพิ่มเติม »

ฉวีรัตน์ เกษตรสุนทร

ฉวีรัตน์ เกษตรสุนทร เป็นผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในสมัย นายวีระ โรจน์พจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อีกทั้งยังเป็นคณะกรรมการประเมินผลการดำเนินการตามมาตรฐานความโปร่งใสของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และเป็นอดีตรองปลัดกระทรวงวัฒนธรรม และคณะอนุกรรมการกำหนดนโยบายการจัดให้มีบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และฉวีรัตน์ เกษตรสุนทร · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์ (history; รากศัพท์ภาษากรีก ἱστορία หมายถึง "การสอบถามหาความรู้ที่ได้มาโดยการสอบสวน") เป็นการค้นพบ ค้นหา รวบรวม จัดระเบียบและนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตประวัติศาสตร์ยังอาจหมายถึงช่วงเวลาหลังมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้น นักวิชาการผู้เขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เรียกนักประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์เป็นสาขาการวิจัยซึ่งใช้การบรรยายเพื่อพิจารณาและวิเคราะห์ลำดับของเหตุการณ์ และบางครั้งพยายามสอบสวนรูปแบบของเหตุและผลซึ่งมีอิทธิพลต่อเหตุการณ์อย่างยุติธรรม นักประวัติศาสตร์ถกเถียงกันเรื่องธรรมชาติของประวัติศาสตร์และประโยชน์ของมัน ซึ่งรวมทั้งถกเถียงการศึกษาสาขาวิชาเป็นจุดจบในตัวมันเองและเป็นเสมือนวิถีการให้ "มุมมอง" ต่อปัญหาในปัจจุบันp 52 เรื่องเล่าซึ่งเป็นสิ่งธรรมดาในวัฒนธรรมใดวัฒนธรรมหนึ่ง แต่ไม่มีการสนับสนุนจากแหล่งข้อมูลภายนอก (เช่น ตำนานเกี่ยวกับกษัตริย์อาเธอร์) มักจัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมมากกว่า "การสอบสวนอย่างไม่นำพา" ที่จำเป็นตามสาขาประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ในอดีตก่อนมีบันทึกลายลักษณ์อักษรเรียกว่า ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในบรรดานักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล เฮโรโดตัส ถูกพิจารณาว่าเป็น "บิดาแห่งประวัติศาสตร์" เขาร่วมกับธูซิดดิดีส0 นักประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ก่อตั้งรากฐานของการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ อิทธิพลของพวกเขา ร่วมกับแบบแผนทางประวัติศาสตร์อื่นในส่วนอื่นของโลก ได้ก่อให้เกิดการตีความธรรมชาติของประวัติศาสตร์ไปต่าง ๆ นานา ซึ่งได้วิวัฒนามาเป็นเวลาหลายศตวรรษและยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ในปัจจุบัน การศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีหลายสาขา รวมทั้งสาขาที่มุ่งศึกษาภูมิภาคหนึ่งโดยเฉพาะ และสาขาที่มุ่งศึกษาองค์ประกอบเฉพาะหัวข้อหรือใจความของการสอบสวนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์มักสอนเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษาขั้นประถมและมัธยม และการศึกษาวิชาการประวัติศาสตร์เป็นสาขาหลักในระดับอุดมศึกษ.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และประวัติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประคอง นิมมานเหมินท์

ตราจารย์ ดร.ประคอง นิมมานเหมินท์ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ประคอง นิมมานเหมินท์ (27 พฤษภาคม 2482 -) นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญภาษาไทยและวรรณคดีไทยเป็นผู้บุกเบิกการศึกษาวรรณกรรมท้องถิ่นด้วยการเขียนวิทยานิพนธ์เรื่อง "ลักษณะวรรณกรรมภาคเหนือ" และจากนั้นยังมีผลงานศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมไทยและวรรณกรรมชนชาติไทจำนวนมาก ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์พิเศษ ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นราชบัณฑิต ประจำสำนักศิลปกรรม ราชบัณฑิต.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และประคอง นิมมานเหมินท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบันทายศรี

ลักบนหน้าบันสลักของสถาปัตยกรรมขอม ปรากฏครั้งแรกที่ปราสาทบันทายศรีแห่งนี้ กลุ่มอาคารปราสาทบันทายศรี รูปสลักหินทรายสีชมพูรูปพญานาค ที่มีความคมชัดกว่ารูปสลักที่อื่นๆ ความละเอียดของงานแกะสลัก แผนผังปราสาท ปราสาทบันทายศรี (ប្រាសាទបន្ទាយស្រី ปราสาทบนฺทายศฺรี) เป็นปราสาทหินที่ถือได้ว่างดงามที่สุดในประเทศกัมพูชา มีความกลมกลืนอย่างสมบูรณ์ และเป็นปราสาทแห่งเดียวที่สร้างเสร็จแล้วกว่า 1000 ปี แต่ลวดลายก็ยังมีความคมชัด เหมือนกับสร้างเสร็จใหม่ ๆ ปราสาทบันทายศรีหรือเรียกตามสำเนียงเขมรว่า บันเตียไสร หมายถึง ปราสาทสตรีหรือป้อมสตรี อยู่ห่างจากตัวเมืองเสียมราฐไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 30 กิโลเมตร ใกล้กับแม่น้ำเสียมราฐในบริเวณที่เรียกว่า อิศวรปุระ หรือเมืองของพระอิศวร.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และปราสาทบันทายศรี · ดูเพิ่มเติม »

ปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล

นางปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล หรือชื่อเล่นว่า แมว (25 กรกฎาคม 2496 —) ประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม คนที่ 5 มีความสนใจในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงาน จนเคยได้รับการตั้งฉายาจากสื่อมวลชนว่า "อธิบดีออนไลน์" โดยนางปริศนาค่อนข้างโดดเด่น จากบทบาทสำคัญในการอนุรักษ์ สร้างสรรค์ และการรักษาศิลปวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะมรดกภูมิปัญญาที่จับต้องไม่ได้ (ICH) ซึ่งต้องอาศัยเม็ดเงินเข้ามาผลักดันสนับสนุนจึงจะประสบความสำเร็จไทยรั.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่ทอง

ปลาบู่ทอง เป็นนิทานพื้นบ้านทางภาคกลางของไทย ที่เล่าโดยผ่านวิธีมุขปาฐะ, ร้อยแก้ว, ร้อยกรอง มีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กสาวชาวบ้านผู้มีใจเมตตาได้แต่งงานกับกษัตริย์ เคยเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มาแล้วหลายครั้ง โดยเชื่อว่ามีที่มาจากชนชาติจ้วง-ลาว-ไท ในภาคใต้ของจีน เล่าถ่ายทอดกันมาแต่ดึกดำบรรพ์ และในชนพื้นเมืองในหลายชาติของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ เช่น ลาว, เขมร, พม่า ก็มีเรื่องราวทำนองคล้ายกันนี้ แต่เรียกชื่อต่างออกไป และคล้ายคลึงกับนิทานพื้นบ้านของยุโรป คือ ซินเดอเรลลา ในปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และปลาบู่ทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปัทมา ลีสวัสดิ์ตระกูล

ณหญิงปัทมา ลีสวัสดิ์ตระกูล (Khunying Patama Leeswadtrakul) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริม ศิลปะร่วมสมัยชุดใหม่สมัยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 ภายหลังรัฐประหารในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติอดีตประธานคณะกรรมการกองทุนส่งเสริมงานวัฒนธรรม นักธุรกิจหญิงชาวไทย ประธานกรรมการโรงแรมอโนมา แกรนด์ กรุงเทพ, โรงแรมเฟลิกซ์ ริเวอร์แคว รีสอร์ท กาญจนบุรี กรรมการบริษัท บริษัท จีสตีล จำกัด (มหาชน) และนักกิจกรรมสังคม.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และปัทมา ลีสวัสดิ์ตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

นภัทร อินทร์ใจเอื้อ

นภัทร อินทร์ใจเอื้อ (ชื่อเดิม: ชนินทร์ อินทร์ใจเอื้อ; ชื่อเล่น: กัน เป็นนักร้องชาวไทย ซึ่งเป็นที่รู้จักจากการได้รับตำแหน่งชนะเลิศการแข่งขันรายการเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 6(2553) และเป็น 1 ใน 3 คนของแก๊งอสรพิษซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันในช่วงแข่งขันรายการเดอะสตาร์และยังคงคบหาสนิทสนมกันจนมาถึงปัจจุบัน อันประกอบไปด้วย ภาคิน คำวิลัยศักดิ์ และ เรืองฤทธิ์ ศิริพานิช, ได้รับรางวัลมณีเมขลาดีเด่นยอดนิยม ประเภท ดารานำชายดีเด่นยอดนิยมจากผลงานละครเรื่องแรกในชีวิตของเขา"เรือนแพ"(2554), รับบทคุณเปรม(วัยหนุ่ม) ในละครเวทีเรื่อง สี่แผ่นดิน เดอะมิวสิคัล(2554-2555/2557/2560), รับบทพัดใน ลมหายใจ เดอะมิวสิคัล(2559), ร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ แผลเก่า(2557), คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 12 สาขายอดนิยมขวัญใจมหาชนฝ่ายชาย ปี 2558, รางวัล "ลูกที่มีความกตัญญูกตเวทีอย่างสูงต่อแม่" เนื่องในวันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2558 คัดเลือกโดยสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 13 สาขายอดนิยมขวัญใจมหาชนฝ่ายชายปี 2559 และรางวัล เพลงประกอบละครยอดนิยม ขวัญใจมหาชน (เพลง คนไม่สำคัญ ประกอบละครบัลลังก์เมฆ) Maya Awards 2559.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และนภัทร อินทร์ใจเอื้อ · ดูเพิ่มเติม »

นาคปรก (ภาพยนตร์)

นาคปรก (อังกฤษ: In the Shadow of the Naga) เป็นภาพยนตร์ไทย แนวแอ็กชั่น-ดราม่า ผลงานกำกับการแสดงโดย ภวัต พนังคศิริ ผลิตโดย สหมงคลฟิล์ม ออกฉายเมื่อ 18 มีนาคม พ.ศ. 2553 (2010) ได้รับการจัดเรตติ้งภาพยนตร์ประเภท น 18+ (ภาพยนตร์ที่เหมาะสมกับผู้มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป) เขียนบทโดย ภวัต พนังคศิริ, ณัฐ นวลแพง, โกเศส ชฤทธิ์พร, พีระภัทร ชูตระกูล, โยธิน สวัสดิ์เรือง นำแสดงโดย สมชาย เข็มกลัด, เรย์ แมคโดนัลด์, ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์, พศิน เรืองวุฒิ, ทราย เจริญปุระ, สะอาด เปี่ยมพงษ์สานต์, ธีรยุทธ ปรัชญาบำรุง, อรรคพันธ์ นะมาตร์ และ รัชนู บุญชูดวง ภาพยนตร์ทำรายได้ 35 ล้านบาท.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และนาคปรก (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

นางอาย (ละครโทรทัศน์)

นางอาย เป็นนวนิยายของ เพ็ญศรี เคียงศิริ หรือที่รู้จักจากนามปากกา "นราวดี" ที่เขียนขึ้นจากประสบการณ์จากชีวิตจริงของตัวเอง โดยได้ตีพิมพ์ในนิตยสารกุลสตรี เมื่อปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และนางอาย (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

แฟตเฟสติวัล

แฟตเฟสติวัล เป็นเทศกาลดนตรีในประเทศไทย ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีโดย สถานีวิทยุ 104.5 แฟตเรดิโอ เริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ 1 - 2 กันยายน พ.ศ. 2544 ที่โรงงานยาสูบเก่า เป็นจัดเป็นประจำเรื่อยมาจวบจนปัจจุบัน เดิมมีสปอนเซอร์หลักเป็นเบียร์ไฮเนเก้น ทำให้ใช้ชื่องานเทศกาลว่า "ไฮเนเก้น แฟตเฟสติวัล" แต่ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงสปอนเซอร์ ทำให้เปลี่ยนมาใช้ชื่อ "แฟตเฟสติวัล" ในปัจจุบัน ลักษณะของงาน จะเป็นเทศกาลที่มุ่งเน้นกิจกรรมทางดนตรีเป็นหลัก จัดขึ้นปีละครั้ง แต่ละครั้งจะจัดขึ้นเป็นเวลา 2 วัน คือวันเสาร์และอาทิตย์แรกหรือที่สองของเดือนพฤศจิกายน ตั้งแต่เที่ยงวันไปจนถึงเที่ยงคืน โดยเปลี่ยนแปลงสถานที่จัดไปเรื่อยๆ ทุกปี.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และแฟตเฟสติวัล · ดูเพิ่มเติม »

แมลงรักในสวนหลังบ้าน

แมลงรักในสวนหลังบ้าน (Insects in the Backyard) เป็นภาพยนตร์สะท้อนปัญหาสังคม กำกับโดยธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ เป็นภาพยนตร์อิสระในโครงการ Indy Spirit Project ของนิตยสารไบโอสโคป ออกฉายครั้งแรกในเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติแวนคูเวอร์ 2010 และได้รับเสนอชื่อเข้าชิงรางวัล Dragons and Tigers Competition ต่อมาได้เข้าฉายในเทศกาลภาพยนตร์โลกกรุงเทพ เมื่อ 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และแมลงรักในสวนหลังบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

แสงหนึ่งคือรุ้งงาม

แสงหนึ่งคือรุ้งงาม เป็นนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชันษา 84 ปี โดยนิทรรศการนำเสนอพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของพระองค์ โดยสะท้อนภาพลักษณ์อันโดดเด่น เสมือนเป็นแสงทอเป็นรุ้งเจ็ดสี นอกจากนี้ ยังมีการจัดทำหนังสือและเพลงประกอบนิทรรศการนี้อีกด้ว.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และแสงหนึ่งคือรุ้งงาม · ดูเพิ่มเติม »

แด่พระผู้ทรงธรรม

แด่พระผู้ทรงธรรม เป็นภาพยนตร์ไทยเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในในศุภวาระพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 จัดสร้างโดยสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม แด่พระผู้ทรงธรรมประกอบด้วยภาพยนตร์สั้นจำนวน 9 เรื่อง กำกับโดยผู้กำกับภาพยนตร์ ที่มีชื่อ 1 คน คือ บัณฑิต ฤทธิ์ถกล และผู้กำกับภาพยนตร์ร่วมสมัย ที่เคยได้รับรางวัลศิลปาธร อีก 3 คน คือ เป็นเอก รัตนเรือง, อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล, วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง สำหรับภาพยนตร์สั้นอีก 5 เรื่อง มาจากการคัดเลือกโครงเรื่อง ของผู้กำกับรุ่นใหม่ โดยมีโครงเรื่องที่ส่งเข้าประกวดทั้งหมดจำนวน 57 เรื่อง.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และแด่พระผู้ทรงธรรม · ดูเพิ่มเติม »

โรงละครแห่งชาติ (ประเทศไทย)

รงละครแห่งชาติ (ประเทศไทย) โรงละครแห่งชาติ (The National Theatre) เป็นโรงละครแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในบริเวณพระราชวังบวรสถานมงคลหรือ พระบวรราชวัง (เดิม) ข้างสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และโรงละครแห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

โรงละครแห่งชาติภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา

รงละครแห่งชาติภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา เป็นโรงละครแห่งชาติส่วนภูมิภาค ตั้งอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา มีขนาด 515 ที่นั่ง เปิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2544 โดยมีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดโรงละครฯ.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และโรงละครแห่งชาติภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

โรงละครแห่งชาติภาคตะวันตก จังหวัดสุพรรณบุรี

รงละครแห่งชาติภาคตะวันตก จังหวัดสุพรรณบุรี โรงละครแห่งชาติเป็นองค์กรของรัฐที่มีการบริหารงานแบบไม่หวังผลกำไร ดำเนินงานภายใต้การกำกับดูแลของกลุ่มโรงละครแห่งชาติ เป็นหน่วยงานในสังกัด สำนักการสังคีตกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ปัจจุบัน มี นายเอนก อาจมังกร เป็นผู้อำนวยการสำนัก มี นายนิรันดร์ ใจชนะ เป็นหัวหน้ากลุ่มโรงละครแห่งชาติ โรงละครแห่งชาติปัจจุบันมีอยู่รวมทั้งหมดจำนวน ๓ แห่ง โดยอยู่ในส่วนกลาง ๑ แห่ง และอยู่ในส่วนภูมิภาค ๒ แห่ง ที่จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดนครราชสีมา โดยมีฐานะเป็นฝ่ายในสังกัดโรงละครแห่งชาติ โรงละครแห่งชาติภาคตะวันตกจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นโรงละครแห่งชาติในส่วนภูมิภาคขนาด ๘๕๐ ที่นั่ง มูลค่า ๒๙๓ ล้านบาท ซึ่งกำหนดให้สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นสถานที่จัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์ด้านการแสดง ให้บริการทางวิชาการด้านนาฏศิลป์ ดนตรี รวมทั้งเป็นสถานที่จัดกิจกรรมเพื่อเผยแพร่และแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมระหว่างชาติ ประจำภาคตะวันตก ปัจจุบันมีนายวิรัตน์ คำแข็งขวา เป็นหัวหน้าโรงละครแห่งชาติภาคตะวันตก จังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และโรงละครแห่งชาติภาคตะวันตก จังหวัดสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบ้านหาดเสือเต้น

รงเรียนบ้านหาดเสือเต้น เป็นโรงเรียนประจำหมู่บ้านหาดเสือเต้น ตั้งอยู่ที่ บ้านหาดเสือเต้น ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนบ้านหาดเสือเต้น เป็นสถานศึกษารางวัลโรงเรียนพระราชทานในระดับประถมศึกษา ปัจจุบันโรงเรียนแบ่งการเปิดการสอนเป็น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับประถมศึกษา และระดับก่อนประถมศึกษา โรงเรียนบ้านหาดเสือเต้น เดิมชื่อว่า "โรงเรียนบ้านงิ้วงาม 2" เปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรกในปี พ.ศ. 2496 โดยอาศัยศาลาการเปรียญวัดหาดเสือเต้นเป็นสถานที่เรียน (ได้อาศัยเรียนอยู่ที่วัดหาดเสือเต้นจนถึง พ.ศ. 2512 จึงย้ายมายังที่ตั้งปัจจุบัน) ปัจจุบันโรงเรียนบ้านหาดเสือเต้นเปิดทำการเรียนการสอนเป็น 3 ระดับชั้น คือระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีนายอุดม รัตนสังข์ ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหาดเสือเต้นคนปัจจุบัน.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และโรงเรียนบ้านหาดเสือเต้น · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน

ก่อนชื่อพระราชทาน..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และโรงเรียนขอนแก่นวิทยายน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม

รงเรียนเมืองพลพิทยาคม (Muangphonpittayakom School) อักษรย่อ (ม.พ.ค.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ประเภท เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัด ตั้งอยู่ เลขที่ 123 ถนนเมืองพล-แวงน้อย ตำบลลอมคอม อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และโรงเรียนเมืองพลพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โผน กิ่งเพชร

ผน กิ่งเพชร (12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2478 — 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2525) แชมป์โลกชาวไทยคนแรกในประวัติศาสตร์ โผนเป็นนักมวยรูปร่างผอมบาง มีช่วงขาที่ยาว ถนัดขวา และเป็นแชมป์โลกชาวไทยคนแรกที่ได้ครองแชมป์โลกถึง 3 สมัย แต่ด้วยปัญหาส่วนตัว ทำให้โผนติดสุราจนการชกตกต่ำลง จนเสียแชมป์ไปและไม่มีโอกาสชิงแชมป์คืนได้อีก โผนถือเป็นตำนานของวงการมวยสากลคนหนึ่งของไทย วันที่โผนชิงแชมป์โลกได้ถูกกำหนดให้เป็นวันนักกีฬาไทย และมีการสร้างอนุสรณ์สถานของโผนที่หัวหินหลังจากที่โผนเสียชีวิตไปแล้ว 10 ปี.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และโผน กิ่งเพชร · ดูเพิ่มเติม »

โคโยตี้

ในสังคมไทย คำว่า "โคโยตี้" หมายถึง บุคคลที่หาเลี้ยงชีพด้วยเต้นทำเพลงทำนองเร้าใจในแนวเย้ายวนกามารมณ์ ชื่ออาชีพนี้มาจากชื่อภาพยนตร์ตะวันตกเรื่อง "โคโยตี้ อั๊กลี่ บาร์ห้าวสาวฮ็อต" เนื้อหาเกี่ยวกับหญิงที่ทำงานในสถานบันเทิงและเต้นในบาร์ ในเมืองไทยเริ่มมีสาวโคโยตี้ครั้งแรกที่ฟอร์เต้ สถานบันเทิงแห่งหนึ่งในซอยสุขุมวิท 24 ในช่วง พ.ศ. 2545.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และโคโยตี้ · ดูเพิ่มเติม »

ไขศรี ศรีอรุณ

ตราจารย์เกียรติคุณ คุณหญิง ไขศรี ศรีอรุณ (29 มกราคม 2480 -ปัจจุบัน) นายกสภามหาวิทยาลัยพะเยา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร และอีกทั้งยังเคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร และนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และไขศรี ศรีอรุณ · ดูเพิ่มเติม »

ไนน์เอ็นเตอร์เทนอวอร์ดส 2008

นน์เอ็นเตอร์เทนอวอร์ดส 2008 เป็นการประกาศผลรางวัลไนน์เอ็นเตอร์เทนอวอร์ดส สำหรับบุคคลและผลงานดีเด่นในรอบปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และไนน์เอ็นเตอร์เทนอวอร์ดส 2008 · ดูเพิ่มเติม »

เชคสเปียร์ต้องตาย

ปียร์ต้องตาย (Shakespeare Must Die) เป็นภาพยนตร์นอกกระแส เขียนบทและกำกับโดยสมานรัชฎ์ กาญจนะวณิชย์ หรือ อิ๋ง เค ดัดแปลงจากบทละครโศกนาฏกรรมแม็คเบ็ธ ของวิลเลียม เชกสเปียร์ โดยมีการดัดแปลงเพื่อให้เป็นภาษาภาพยนตร์ และเข้ากับบริบทของวัฒนธรรมไทย เชคสเปียร์ต้องตายใช้วิธีการเล่าเรื่องแบบละครซ้อนละคร ดำเนินเรื่องควบคู่กันไป มีเหตุการณ์สองส่วน คือละครเวที และโลกภายนอกในเหตุการณ์ร่วมสมัย มีตัวละครนำชื่อ "เมฆเด็ด" (Mekhdeth) เป็นขุนนางที่ล้มอำนาจกษัตริย์ และสถาปนาตัวเองเป็นกษัตริย์พระองค์ใหม่ เมฆเด็ดลุ่มหลงในอำนาจ เกิดหวาดระแวงว่าจะถูกล้มล้าง จนต้องฆ่าใครต่อใครเพื่อจะได้อยู่ในอำนาจต่อไป เรื่องราวทั้งหมดเล่าผ่านมุมมองของตัวละครที่ชื่อว่า "บุญรอด" สมานรัชฎ์เรียกภาพยนตร์เรื่องนี้ว่าเป็น "หนังผีต้นทุนต่ำ" สร้างจากเงินทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมภาพยนตร์ สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ภายใต้โครงการไทยเข้มแข็ง มติชน, 3 เมษายน..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และเชคสเปียร์ต้องตาย · ดูเพิ่มเติม »

เฟรนช์พอลินีเชีย

ฟรนช์พอลินีเชีย (French Polynesia; Polynésie française; ตาฮีตี: Pōrīnetia Farāni) เป็นดินแดนของฝรั่งเศสในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ มีฐานะเป็น "overseas collectivity" พร้อมกับ "overseas country" ซึ่งเป็นตำแหน่งเฉพาะตัว ประกอบด้วยกลุ่มเกาะหลายเกาะในภูมิภาคโพลินีเซีย เกาะที่มีชื่อเสียงที่สุดได้แก่ตาฮีตีในหมู่เกาะโซไซตี ซึ่งยังเป็นเกาะที่มีผู้อยู่อาศัยมากที่สุดและเป็นที่ตั้งเมืองหลวงของดินแดน (ปาเปเอเต) อีกด้วย และแม้จะไม่ได้อยู่ในบริเวณเดียวกัน แต่เกาะกลีแปร์ตอนก็ถูกบริหารโดยเฟรนช์พอลินีเชี.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และเฟรนช์พอลินีเชีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติไทย

ลงชาติไทย เป็นชื่อเพลงชาติของสยามและประเทศไทย ประพันธ์ทำนองโดย พระเจนดุริยางค์ ในช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อปี พ.ศ. 2475 คำร้องฉบับแรกสุดโดยขุนวิจิตรมาตรา ซึ่งแต่งขึ้นภายหลังในปีเดียวกัน ต่อมาได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อร้องอีกหลายครั้งและได้เปลี่ยนมาใช้เนื้อร้องฉบับปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2482.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และเพลงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงลูกทุ่ง

ลงลูกทุ่ง คือเพลงที่สะท้อนวิถีชีวิต สภาพสังคมอุดมคติและวัฒนธรรมไทย โดยมีท่วงทำนอง คำร้อง สำเนียง และลีลาการร้องการบรรเลงที่เป็นแบบแผน มีลักษณะเฉพาะซึ่งให้บรรยากาศ ความเป็นลูกทุ่ง ขุนวิจิตรมาตราบันทึกไว้ในหนังสือเรื่องของละครและเพลง ว่าเพลงลูกทุ่งเป็นวงดนตรีแบบสากลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปีหรือสองปี ลักษณะเพลงลูกทุ่งในระยะเริ่มแรก มาจากการร้องรำทำเพลงของไทยดั้งเดิม อาทิ แหล่เทศน์ สวดคฤหัสถ์ จำอวด ลิเก (ทรงเครื่อง) ลิเกลูกบท (ไม่แต่งเครื่อง) ลิเกบันตน ลำตัด เพลงขอทาน เพลงพื้นเมืองบางเพลง ฯลฯ โดยเพลงลูกทุ่งนำมาดัดแปลงแล้วใส่ดนตรีแบบสากล เป็นลักษณะเพลงแบบใหม่ ส่วนคำว่า "เพลงลูกทุ่ง" อาจารย์จำนง รังสิกุล คิดประดิษฐ์ขึ้นใช้เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 คอลัมน์ รู้ไปโม้ด เพลงลูกทุ่งมีความชัดเจนจากเพลงลูกกรุงโดยประกอบ ไชยพิพัฒน์ จัดรายการเพลงสถานีไทย โทรทัศน์ ใช้ชื่อรายการว่า "เพลงลูกทุ่ง" สุรพล สมบัติเจริญ ได้ทำให้เพลงลูกทุ่งอยู่ในความนิยม ในช่วงปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และเพลงลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

เมี่ยงคำ

มี่ยงคำ เมี่ยงคำ เป็นอาหารว่างชนิดหนึ่งที่มีคุณค่าทางสมุนไพรสูงเพราะมีคุณสมบัติในการบำรุงรักษาธาตุทั้ง 4 เพื่อให้สมดุลกัน.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และเมี่ยงคำ · ดูเพิ่มเติม »

เหมียว คุณาธาร

หมียว คุณาธาร เป็นชื่อในวงการเพลงลูกทุ่งของ เสาวลักษณ์ โกสุมพันธุ์ นักร้องหญิงที่มีชื่อเสียงของไทย เจ้าของฉายาสาวลูกทุ่งวินเทจ เริ่มเข้าวงการเพลงตั้งแต่อายุ 17 ปี มีภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นบุตรสาวคนโตในจำนวนพี่น้อง 2 คน ของครอบครัวข้าราชการ ซึ่งที่มาของชื่อ เหมียว คุณาธาร มาจากชื่อเล่นที่มีชื่อว่า เหมียว ส่วน คุณาธาร นั้นมาจากชื่อ โรงเรียนสิชลคุณาธารวิทยา ที่เหมียวสำเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ส่วนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสำเร็จการศึกษาจาก โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม และในระดับปริญญาตรีสำเร็จการศึกษาจาก สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เหมียวเข้ารอบ 40 คนสุดท้าย เคพีเอ็น อวอร์ด 2005 เข้ารอบชิงชนะเลิศการประกวดขับร้องเพลงลูกทุ่งไทย ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 5..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และเหมียว คุณาธาร · ดูเพิ่มเติม »

เอื้อ สุนทรสนาน

อื้อ สุนทรสนาน หรือเรียกกันว่า "ครูเอื้อ" (21 มกราคม พ.ศ. 2453 - 1 เมษายน พ.ศ. 2524) เป็นทั้งนักร้อง นักประพันธ์เพลงและหัวหน้าวงดนตรีสุนทราภรณ์ นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกวงการเพลงไทยสากล โดยริเริ่มก่อตั้ง สมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ทั้งมีผลงานมากมายจนนับไม่ถ้วนเป็นที่คุ้นเคยของผู้ฟังมากว่าครึ่งศตวรรษ เช่น เพลงเทศกาล/ประจำจังหวัด/สถาบันการศึกษา/สดุดี/ปลุกใจ ซึ่งคาดว่ามีมากกว่า 2,000 เพลง เช่น รำวงลอยกระทง,รำวงเริงสงกรานต์,นางฟ้าจำแลง ฯลฯ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ในปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และเอื้อ สุนทรสนาน · ดูเพิ่มเติม »

เจนภพ จบกระบวนวรรณ

นภพ จบกระบวนวรรณ (21 เมษายน พ.ศ. 2498 - ปัจจุบัน) นักจดหมายเหตุ-นักวิชาการเพลงไทยลูกทุ่งชาย นักจัดรายการวิทยุ-โทรทัศน์ เป็นผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์เพลงลูกทุ่ง, สถานีวิทยุเสียงศิลปิน 105.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และเจนภพ จบกระบวนวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

เขตห้วยขวาง

ตห้วยขวาง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และเขตห้วยขวาง · ดูเพิ่มเติม »

เด่น อยู่ประเสริฐ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เด่น อยู่ประเสริฐ (23 มีนาคม พ.ศ. 2512 -, กรุงเทพมหานคร) นักเปียโนแจ๊ส นักวิชาการ นักแต่งเพลง และวาทยกร เป็นผู้ได้รับรางวัลศิลปาธร สาขาดนตรี จัดโดยสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ประจำปี..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และเด่น อยู่ประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม ม่วงแพรศรี

นายเฉลิม ม่วงแพรศรี (2 สิงหาคม พ.ศ. 2481 - 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2557) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย)..

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และเฉลิม ม่วงแพรศรี · ดูเพิ่มเติม »

100 หนังสือดีเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทย

ัญลักษณ์โครงการ 100 หนังสือดีเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทย 100 หนังสือดีเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทย เป็นโครงการที่จัดขึ้นโดยสำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน ในงานมหกรรมหนังสือระดับชาติ ครั้งที่ 17 วันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ที่ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนไทยมีนิสัยรักการอ่าน.

ใหม่!!: กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และ100 หนังสือดีเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กระทรวงวัฒนธรรมกระทรวงวัฒนธรรมของไทย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »