โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโหมโรง (ภาพยนตร์)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโหมโรง (ภาพยนตร์)

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย vs. โหมโรง (ภาพยนตร์)

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี. หมโรง (The Overture) เป็นภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2547 ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับดนตรีไทย เนื้อเรื่องได้แรงบันดาลใจมาจากประวัติของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ได้รับรางวัลมากมายในประเทศ และยังได้รับเลือกในฐานะ Official Selection จากประเทศไทย ในการเข้าชิงสาขาภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยมในการประกาศรางวัลอะแคเดมีอีกด้วย กำกับโดย อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์ และอำนวยการผลิตโดย นนทรีย์ นิมิบุตร และ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ภาพยนตร์ทำรายได้ 52.72 ล้านบาท นำแสดงโดย อนุชิต สพันธุ์พงษ์, อดุลย์ ดุลยรัตน์, พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง, อาระตี ตันมหาพราน, สุเมธ องอาจ, ภูวฤทธิ์ พุ่มพวง และอาจารย์ณรงค์ฤทธิ์ โตสง่า จากวงบอยไทย รับบทเป็น ขุนอิน ภายหลังดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์ โดยออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส เมื่อ พ.ศ. 2555 และเป็นละครเวทีมิวสิคัลโดยเวิร์คพอยท์-โต๊ะกลมโทรทัศน์ แสดงที่โรงละครเคแบงก์สยามพิฆเนศ เมื่อ พ.ศ. 2558.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโหมโรง (ภาพยนตร์)

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโหมโรง (ภาพยนตร์) มี 16 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชุมพร เทพพิทักษ์พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี พ.ศ. 2547รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 13ลูกบ้าเที่ยวล่าสุดสมชาย ศักดิกุลสมภพ เบญจาธิกุลหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)อรรถพร ธีมากรอดุลย์ ดุลยรัตน์ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์นพพล โกมารชุนเกริกเกียรติ พันธุ์พิพัฒน์เกรียงไกร อุณหะนันทน์15 ค่ำ เดือน 11

ชุมพร เทพพิทักษ์

มพร เทพพิทักษ์ (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2482 − 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) ชื่อเล่น เดียร์ นักแสดงชาวไทยและอดีตผู้กำกับภาพยนตร์ มีชื่อจริงว่า คมสันต์ เทพพิทักษ์ เกิดที่จังหวัดชุมพรเมื่อปี พ.ศ. 2482 จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดขันเงินและโรงเรียนศรียาภัย เดินทางเข้าสู่กรุงเทพมหานคร เพื่อศึกษาต่อที่โรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย โดยพักอาศัยอยู่ในบ้านหลังเดียวกับ พล.ต.ท.วรรณรัตน์ คชรัตน์ (อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล และ ส.ส.บัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2544) ซึ่งเป็นลูกพี่ลูกน้อง แต่ขณะที่เรียนเมื่ออายุได้ 17 ปี ต้องโทษจำคุกในคดีฆาตกรรมด้วยอาวุธปืน และรับสารภาพ จึงถูกลดโทษเหลือ 25 ปี จากนั้นได้รับการลดหย่อนโทษเรื่อยมา จนได้รับอิสรภาพในที่สุด ในระหว่างต้องโทษ อยู่ห้องขังเดียวกับ แคล้ว ธนิกุล เข้าสู่วงการบันเทิงครั้งแรกด้วยการเป็นนักแสดงบทร้ายแทน ประจวบ ฤกษ์ยามดี นักแสดงบทตัวร้ายที่ไม่สบาย ด้วยความที่หน้าตาตล้ายกัน จากการชักชวนของ ปริญญา ทัศนียกุล และ ลือชัย นฤนาท ในเรื่อง คมแสนคม ในปี พ.ศ. 2507 ตามด้วยบทตัวร้ายมาโดยตลอด ในปี พ.ศ. 2511 มีผลงานละครโทรทัศน์ทางช่อง 4 บางขุนพรหม, ช่อง 5 และช่อง 7 ในยุคแพร่ภาพระบบขาวดำ ด้วยการพลิกบทบาทมารับบทเป็นพระเอกบ้าง ซึ่งก็ได้รับการวิจารณ์ในตอนต้นว่า คนดูจะรับได้หรือไม่กับการที่ผู้ร้ายในแบบภาพยนตร์ใหญ่ มารับบทพระเอกในแบบละครโทรทัศน์ ซึ่งก็ได้รับบทพระเอกแนวลูกทุ่งหรือแอ็คชั่น และถือว่าประสบความสำเร็จพอสมควร ต่อมาเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ มีผลงานมากมาย อาทิ ถุยชีวิต (พ.ศ. 2521), นักสู้ภูธร ในปีเดียวกัน, ขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก (พ.ศ. 2522) และที่ประสบความสำเร็จที่สุดคือ แหกค่ายนรกเดียนเบียนฟู ในปี พ.ศ. 2520 ซึ่งได้รับรางวัลตุ๊กตาทองสาขาผู้กำกับยอดเยี่ยม และได้รับรางวัลอื่น ๆ รวมทั้งหมด 5 รางวัล และยังคงมีผลงานออกมาเป็นระยะๆ เช่น บางระจัน (พ.ศ. 2543),โหมโรง(พ.ศ. 2547), ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ (พ.ศ. 2550), รักสยามเท่าฟ้า (พ.ศ. 2551), 2022 สึนามิ วันโลกสังหาร (พ.ศ. 2552) ผลงานละครโทรทัศน์ได้แก่ สุสานคนเป็น (พ.ศ. 2545) ธิดาวานร 2 (พ.ศ. 2552) และ เงาพราย (พ.ศ. 2554) ผลงานละครเรื่องสุดท้ายคือเรื่อง ขุนกระทิง และผลงานภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายคือเรื่อง ขุนพันธ์ (พ.ศ. 2559) ชีวิตส่วนตัว สมรสกับ มยุรี เทพพิทักษ์ (นามสกุลเดิม-ศรีสินธุ์อุไร) มีบุตรด้วยกันทั้งหมด 4 คน ซึ่งหนึ่งในจำนวนนั้นเป็นนักร้องและนักแสดงที่มีชื่อเสียง คือ ศรราม เทพพิทักษ์ ชุมพรมีอาการป่วยด้วยโรคเส้นเลือดในสมองตีบตั้งแต่ปลายปี..

ชุมพร เทพพิทักษ์และรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ชุมพร เทพพิทักษ์และโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง

งษ์พัฒน์ วชิรบรรจง (เกิด 2 กันยายน พ.ศ. 2504) ชื่อเล่น อ๊อฟ เป็นนักร้อง นักแสดง และผู้กำกับชาวไทย ทางด้านธุรกิจเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัท แอค อาร์ต เจเนอเรชั่น จำกัด อ๊อฟจบปริญญาตรี พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี พ.ศ. 2547

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี..

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี พ.ศ. 2547และรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี พ.ศ. 2547และโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14 ประจำปี..

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 13

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 13 ประจำปี 2547 ใน 11 สาขารางวัล จัดโดยชมรมวิจารณ์บันเทิง.

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 13และรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 13และโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด

ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด เป็น ภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2536 กำกับภาพยนตร์โดย อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์ อำนวยการสร้างโดยบริษัท ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น ภาพยนตร์นำเสนอด้วยแนวทางตลก เนื้อหาพูดถึงความกล้าในการทำสิ่งที่ถูกต้อง การใช้เวลาในชีวิตอย่างมีค่า และสะท้อนภาพสังคมที่ผู้คนมักจำยอมกับความเลวร้ายที่คุ้นเคย ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับรางวัล ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม, ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม, บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม และ ลำดับภาพยอดเยี่ยม จาก ชมรมวิจารณ์บันเทิง ประจำปี 2536 นำแสดงโดย สัญญา คุณากร, อังคณา ทิมดี, ชไมพร สิทธิวรนันท์, กลศ อัทธเสรี, อรุณ ภาวิไล.

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและลูกบ้าเที่ยวล่าสุด · ลูกบ้าเที่ยวล่าสุดและโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย ศักดิกุล

มชาย ศักดิกุล (ชื่อเล่น: เล็ก เกิด พ.ศ. 2496) ศิลปิน นักแสดง และนักพากย์ เป็นศิลปินรุ่นก่อตั้งของ "วงเฉลียง" ร่วมกับ นิติพงษ์ ห่อนาค วัชระ ปานเอี่ยม และ ประภาส ชลศรานนท์ สมชาย จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และเป็นนักดนตรีอาชีพ เคยเล่นดนตรีร่วมกับ ศรายุทธ สุปัญโญ อัญชลี จงคดีกิจ เคยออกเทปกับวง "เดอะบ๊องค์" วงดนตรีที่นำเอาทำนองเพลงฝรั่งมาใส่เนื้อไทยแบบกวนๆ เมื่อ พ.ศ. 2526 ก่อนจะมาร่วมวงเฉลียง โดยการแนะนำของ เรวัต พุทธินันทน์ สมชาย แสดงภาพยนตร์เรื่องแรก เรื่อง มนต์รักทรานซิสเตอร์ ต่อมามีผลงานแสดงภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มากมาย โดยมักจะได้รับบทตัวประกอบ ที่มีบุคลิกตลกหน้าตาย ได้ชื่อว่าเป็นนักขโมยซีนอันดับหนึ่ง เช่นเดียวกับ อภิชาติ ชูสกุล และมีผลงานแสดงมากที่สุดคนหนึ่งในระยะหลัง นอกเหนือจากผลงานแสดง สมชาย ศักดิกุล ยังเป็นผู้บรรยายการแข่งขันกีฬาเทนนิส ทางเคเบิลทีวี ยูบีซี และรับหน้าที่เป็นพิธีกรในรายการ เช้านี้...ที่หมอชิต อีกด้ว.

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสมชาย ศักดิกุล · สมชาย ศักดิกุลและโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สมภพ เบญจาธิกุล

มภพ เบญจาทิกุล นักแสดงชายอาวุโส เกิดเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2488 จบการศึกษาระดับปว.จากวิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ สาขาช่างไฟฟ้ากำลัง จบระดับปว.สาขาช่างไฟฟ้าจากสถาบันเทคโนโลยีช่างกลปทุมวัน มีชื่อเสียงมาจากการรับบทเกย์ในภาพยนตร์เรื่อง นางแบบมหาภัย จากการกำกับของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ในปี พ.ศ. 2518 ซึ่งนับว่าเป็นบทชายรักชายครั้งแรกในวงการภาพยนตร์ไทยเลยก็ได้ว่า และทำให้คนไทยได้รู้จักกับคำว่า "เกย์" เป็นครั้งแรก จากนั้นก็ได้แสดงในหลายต่อหลายเรื่องตามมา โดยมากจะเป็นบทร้าย แต่บางครั้งก็รับบทเป็นพระเอก เช่น ชายกลาง ใน บ้านทรายทอง ละครโทรทัศน์ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2520 คู่กับ ศันสนีย์ สมานวรวงศ์ ปัจจุบัน สมภพ เบญจาทิกุล มีบทบาทการแสดงเป็นตัวประกอบบ้างและบทของพ่อบ้าง ผลงานในระยะหลังได้รับการการกล่าวขานว่าแสดงได้สมบทบาท จนมีชื่อเข้าชิงรางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยมหลายครั้ง จากหลายเรื่อง เช่น คืนบาปพรหมพิราม ในปี พ.ศ. 2546, โหมโรง ในปี พ.ศ. 2547 และบทของ พระเจ้าบุเรงนอง จาก ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในปี พ.ศ. 2550.

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสมภพ เบญจาธิกุล · สมภพ เบญจาธิกุลและโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)

รองเสวกเอก หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) (6 สิงหาคม พ.ศ. 2424 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2497) นักดนตรีชาวไทย ผู้มีชื่อเสียงจากการเล่นเครื่องดนตรีไทย และประพันธ์เพลงไทยเดิม.

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) · หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

อรรถพร ธีมากร

อรรถพร ธีมากร (หนุ่ม) เกิดวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2516 เป็นนักแสดง นักร้อง นักดนตรี พิธีกร และผู้กำกับละคร บุตรของนายพูลสวัสดิ์ ธีมากร นักแสดงอาวุโส เข้าสู่วงการบันเทิงหลังไปออกรายการ จันทร์กะพริบ กับคุณพ่อ โดยเล่นละครเรื่อง "รุ่นหนึ่งตึกห้าหน้าเดิน" เป็นเรื่องแรก ต่อมามีผลงานแสดงละครและภาพยนตร์อีกหลายเรื่อง โดยผลงานภาพยนตร์สร้างชื่อ คือ 2499 อันธพาลครองเมือง และยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง เดอะ เลตเตอร์ จดหมายรัก ในการประกาศรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ประจำปี 2547 มีเพื่อนสนิทในวงการ คือ "กัปตัน" ภูธเนศ หงษ์มานพ และ "ติ๊ก" เจษฎาภรณ์ ผลดี ด้านการศึกษาและชีวิตส่วนตัว จบบริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น สมรสกับ อริญรดา ปิติมารัชต์ มีบุตรชาย 2 คน ชื่อ อันดาและอดัม.

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอรรถพร ธีมากร · อรรถพร ธีมากรและโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

อดุลย์ ดุลยรัตน์

อดุลย์ ดุลยรัตน์ (5 เมษายน พ.ศ. 2475 - 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักแสดง ผู้กำกับชาวไทย มีตำแหน่งเป็น คณะกรรมการของสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งประเทศไท.

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอดุลย์ ดุลยรัตน์ · อดุลย์ ดุลยรัตน์และโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์

ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์ (เต้) นักแสดง เกิดเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2525 จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกัลยา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สำเร็จการศึกษาจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา มีผลงานสร้างชื่อในวงการบันเทิง คือ ภาพยนตร์เรื่อง ไอ้ฟัก โดยแสดงคู่กับ บงกช คงมาลัย ปัจจุบันสมรสแล้วกับแฟนสาวนอกวงการหลังคบหาดูใจกันมา 5 ปีเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ปี..

ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์และรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์และโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

นพพล โกมารชุน

นพพล โกมารชุน (ชื่อเล่น: ตู่) เป็นบุตรชายของนักแสดงอาวุโส เสนอ โกมารชุน (พี่ชายของ เสน่ห์ โกมารชุน) และ จุรี โอศิริ มีพี่ชายหนึ่งคนคือ นายจามร โกมารชุน (ถึงแก่กรรม) แสดงภาพยนตร์โดยเป็นตัวเอกในหลายเรื่อง แต่ที่สร้างชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่กล่าวถึงอย่างแท้จริงด้วยกันสามบทบาท คือ การรับบท อินทร ชายหนุ่มผู้เย็นชาทนงตัวแต่แฝงด้วยความอบอุ่นอ่อนโยนและแอบรัก ละเวง มัณฑนากรสาวนางเอกของเรื่อง ในละคร เก้าอี้ขาวในห้องแดง ทางช่อง 3 (พ.ศ. 2527) ประกบคู่กับ มยุรา เศวตศิลา ซูหลิน หนุ่มจีนแผ่นดินใหญ่ผู้แสนดีและมีอุดมการณ์ ในละคร กนกลายโบตั๋น ทางช่อง 7 (พ.ศ. 2533) คู่กับ ปรียานุช ปานประดับ และเกิดเป็นความรักจนกลายเป็นคู่ชีวิตกันในเวลาต่อมา หลังจากนั้นก็สร้างความประทับใจให้ผู้ชมอีกครั้งกับบท อาเหลียง ในละครโทรทัศน์เรื่อง ลอดลายมังกร ในปี พ.ศ. 2535 ทางช่อง 7 ประกบคู่กับปรียานุช ปานประดับ และ อภิรดี ภวภูตานนท์ ประสบความสำเร็จอย่างงดงาม ต่อมา นพพลจึงเปลี่ยนบทบาทไปรับบทรองในภาพยนตร์และละครโทรทัศน์อีกหลายเรื่อง เช่น มือปืน 2 สาละวิน ในปี พ.ศ. 2536 เป็นต้น และในยุคอดีตนั้น ช่วงปลายปี พ.ศ. 2532 ถึงปลายปี พ.ศ. 2536 นพพลเคยเป็นพิธีกรรายการ จุดเดือด ของ เจเอสแอล คู่กับ กาญจนาพร ปลอดภัย และ จรียา ทิพยะวัฒน์ และเคยเป็นพิธีกรรายการ เจาะโลกมหัศจรรย์ ด้วย ช่วงเวลาดังกล่าว นอกจากนี้แล้ว นพพล ยังผันตัวเองไปทำงานเบื้องหลัง โดยเฉพาะในฐานะผู้กำกับละคร ป้อนงานผลิตให้ช่อง 3 กับบริษัท ยูม่า จำกัด เช่น กตัญญูประกาศิต (พ.ศ. 2533), น้ำตาหยดสุดท้าย (พ.ศ. 2536), โสมส่องแสง (พ.ศ. 2537) เป็นต้น โดยมีนักแสดงคู่ใจอย่าง ฉัตรชัย เปล่งพานิช รับบทเป็นพระเอกให้แทบทั้งหมด ชีวิตส่วนตัว นพพล สมรสกับ ปรียานุช ปานประดับ ภรรยานักแสดงที่พบรักกันจากการร่วมแสดงในเรื่องกนกลายโบตั๋น แต่ทั้งคู่ไม่มีบุตรด้วยกัน เนื่องจากปรียานุชร่างกายไม่แข็งแรง ปัจจุบัน ได้ผันตัวเองเป็นผู้กำกับละครและผู้จัดละคร โดยเปิดกิจการของตนเอง ชื่อ บริษัท เป่าจินจง เมื่อปี 2541.

นพพล โกมารชุนและรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · นพพล โกมารชุนและโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

เกริกเกียรติ พันธุ์พิพัฒน์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์เกริกเกียรติ พันธุ์พิพัฒน์ (? — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556) เป็นทั้งอาจารย์คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักแสดงชาวไท.

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเกริกเกียรติ พันธุ์พิพัฒน์ · เกริกเกียรติ พันธุ์พิพัฒน์และโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงไกร อุณหะนันทน์

กรียงไกร อุณหะนันทน์ เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากบทบาท "ท่านชายพจน์" ในภาพยนตร์เรื่อง ปริศนา เมื่อปี พ.ศ. 2525.

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเกรียงไกร อุณหะนันทน์ · เกรียงไกร อุณหะนันทน์และโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

15 ค่ำ เดือน 11

15 ค่ำ เดือน 11 เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายเมื่อ11 ตุลาคม พ.ศ. 2545 เป็นผลงานกำกับเรื่องแรกของ จิระ มะลิกุล เป็นภาพยนตร์ที่สร้างมาจากความเชื่อ ของชาวท้องถิ่นในแถบอีสาน เกี่ยวกับปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาค ซึ่งเป็นการเรียกขานลูกไฟประหลาดสีชมพูจำนวนมาก ที่พวยพุ่งขึ้นจากลำน้ำโขง ในคืนวันออกพรรษา ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปี โดยลูกไฟนั้นไม่มีกลิ่น ไม่มีเสียง พุ่งขึ้นสูงประมาณ 20-30 เมตร แล้วก็หายไป โดยไม่มีการโค้งลงมา เช่นเดียวกับไฟที่เกิดจากพลุทั่วไป และเกิดขึ้นเป็นจำนวนไม่แน่นอน ในท้องที่อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย 15 ค่ำ เดือน 11 เป็นภาพยนตร์อื้อฉาวแห่งปี..

15 ค่ำ เดือน 11และรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · 15 ค่ำ เดือน 11และโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโหมโรง (ภาพยนตร์)

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย มี 432 ความสัมพันธ์ขณะที่ โหมโรง (ภาพยนตร์) มี 59 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 16, ดัชนี Jaccard คือ 3.26% = 16 / (432 + 59)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโหมโรง (ภาพยนตร์) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »