โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

ดัชนี รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

432 ความสัมพันธ์: ชลประคัลภ์ จันทร์เรืองบอดี้ ศพ*19ชัยพล จูเลี่ยน พูพาร์ตชั่วฟ้าดินสลาย (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2553)ชาลี อินทรวิจิตรบางระจัน (ภาพยนตร์)บิลลี่ โอแกนบิวตี้ฟูล บ๊อกเซอร์บุญส่ง นาคภู่ชุมพร เทพพิทักษ์ช็อคโกแลต (ภาพยนตร์)บ้านฉัน..ตลกไว้ก่อน (พ่อสอนไว้)ฟ. ฮีแลร์ฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอฟ้า (ภาพยนตร์ไทย)ฟ้าทะลายโจรฟ้าทะลายโจร (ภาพยนตร์)พชร จิราธิวัฒน์พระองคุลิมาลเถระพรางชมพู กะเทยประจัญบานพันธุ์ร็อกหน้าย่นพิศาล อัครเศรณีพิษณุ นิ่มสกุลพุ่มพวง (ภาพยนตร์)พุ่มพวง ดวงจันทร์พีท ทองเจือพี่ชาย My Heroพี่มาก..พระโขนงพงศธร ศรีปินตาพงศธร จงวิลาสพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงกระสือวาเลนไทน์กรุง ศรีวิไลกฤษณภูมิ พิบูลสงครามกฤษณ์ ศุกระมงคลกฤษณ์ เศรษฐธำรงค์กฤษดา สุโกศล แคลปป์กฤตกร ทองแสงกอล์ฟ-ไมค์กะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อนกาลครั้งหนึ่งเมื่อเช้านี้กาเหว่าที่บางเพลงกิตติศักดิ์ ปฐมบูรณาก้องเกียรติ โขมศิริญาณี ตราโมทฝัน บ้า คาราโอเกะฝันติดไฟ หัวใจติดดินฝนตกขึ้นฟ้าภพธร สุนทรญาณกิจภวังค์รัก...ภูธฤทธิ์ พรหมบันดาลมหา'ลัย เหมืองแร่มานพ อัศวเทพมือปืน 2 สาละวินมือปืน/โลก/พระ/จันมนต์รักทรานซิสเตอร์ยอดมนุษย์เงินเดือนยังบาวยุวชนทหาร เปิดเทอมไปรบรอง เค้ามูลคดีรัชชุ สุระจรัสรัก-ออกแบบไม่ได้รักสยาม เท่าฟ้ารักจังรักที่รอคอยรักนะ 24 ชั่วโมงรักแห่งสยามรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2533รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2534รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2535รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2536รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2537รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2538รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2539รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2540รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2541รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2542รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2543รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2544รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2545รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2546รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2547รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2548รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2549รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2550รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2551รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2552รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2553รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2554รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2555รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2556รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2557รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2558รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2559รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดีรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 11 ประจำปี พ.ศ. 2530รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2535รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 21 ประจำปี พ.ศ. 2540รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2541รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี พ.ศ. 2542รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2543รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 25 ประจำปี พ.ศ. 2544รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2545รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี พ.ศ. 2547รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 11รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 13รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 18รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 2รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 20รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 21รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 22รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 23รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 25รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 26รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 3รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 4รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 5รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 6รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 7รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 8รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 9รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิงรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 1รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 10รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 11รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 12รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 13รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 14รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 15รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 16รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 17รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 18รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 19รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 2รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 20รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 21รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 22รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 23รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 24รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 25รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 3รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 4รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 5รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 6รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 7รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 8รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 9รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2546รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 10 ประจำปี พ.ศ. 2555รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 11 ประจำปี พ.ศ. 2556รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 12 ประจำปี พ.ศ. 2557รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 13 ประจำปี พ.ศ. 2558รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 14 ประจำปี พ.ศ. 2559รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2547รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2548รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2549รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2550รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2551รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2552รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2553รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2554รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 10รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 11รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 12รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 13รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 14รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 15รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 16รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 17รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 18รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 25รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 26รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 27รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 28รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2503รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2505รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2507รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2508รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 9รุจน์ รณภพรณ ฤทธิชัยฤดูร้อนนั้น ฉันตายลุงบุญมีระลึกชาติลูกบ้าเที่ยวล่าสุดลีโอ พุฒล้อต๊อกวรเชษฐ์ นิ่มสุวรรณวัชระ ปานเอี่ยมวันเดอร์ฟูลทาวน์วิชญ์ พิมพ์กาญจนพงศ์วิลลี่ แมคอินทอชวิถีคนกล้าวิทิต แลตศรัณยู วงษ์กระจ่างศักราช ฤกษ์ธำรงค์ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทองศัมภลาศิรชัช เจียรถาวรศุภกรณ์ กิจสุวรรณส.อ.ว.ห้อง 2 รุ่น 44สมบัติ เมทะนีสมชาย ศักดิกุลสมชาย อาสนจินดาสมชาย เข็มกลัดสมพงษ์ คุนาประถมสมภพ เบญจาธิกุลสมจินต์ ธรรมทัตสมควร กระจ่างศาสตร์สมเกียรติสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชสรพงศ์ ชาตรีสราวุธ มาตรทองสหัสชัย ชุมรุมสอาด เปี่ยมพงษ์สานต์สันติสุข พรหมศิริสายล่อฟ้า (ภาพยนตร์)สุริโยไทสุประวัติ ปัทมสูตสุเชาว์ พงษ์วิไลสุเทพ ประยูรพิทักษ์สี่แพร่งสีเทา เพ็ชรเจริญสครับบ์สตรีเหล็กสตางค์ (ภาพยนตร์)สนธยา ชิตมณีหม่อมราชวงศ์มงคลชาย ยุคลหม่ำ จ๊กมกหย่าเพราะมีชู้หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)หลุดสี่หลุดหอ หึ หึหอบรักมาห่มป่าหนีตามกาลิเลโอห้าแพร่งอภิชาติ ชูสกุลอภิชาติ หาลำเจียกอรรถพร ธีมากรอรรถพันธ์ พูลสวัสดิ์อรุณ ภาวิไลอวสานโลกสวยอัมรินทร์ นิติพนอัฒรุต คงราศรีอัครินทร์ อัครนิธิเมธรัฐอันธพาลอันดากับฟ้าใสอารักษ์ อมรศุภศิริอาปัติอำแดงเหมือนกับนายริดอิงครัต ดำรงค์ศักดิ์กุลอดุลย์ ดุลยรัตน์อครา อมาตยกุลองค์บากองค์บาก 2อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮมอนันต์ บุนนาคอนึ่ง คิดถึงพอสังเขปอนธการอโนเชาว์ ยอดบุตรผีจ้างหนังผีเสื้อและดอกไม้จรัล มโนเพ็ชรจอห์น รัตนเวโรจน์จอนนี่ แอนโฟเน่จักรกฤษณ์ อำมรัตน์จัน ดารา (ภาพยนตร์ทวิภาค)จาตุรงค์ มกจ๊กจิรายุ ละอองมณีจิราวัฒน์ วชิรศรัณย์ภัทรจุฑาวุฒิ ภัทรกำพลจีรุตม์ ณ นครธานินทร์ ทัพมงคลธีรพงศ์ เหลียวรักวงศ์ธนภพ ลีรัตนขจรถิร ชุติกุลทรงวุฒิ ศรีเชิดชูธรรมทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรีทูน หิรัญทรัพย์ท็อป ซีเคร็ต วัยรุ่นพันล้านขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุนขุนพันธ์ขจรศักดิ์ รัตนนิสสัยณ ขณะรักณัฏฐพงษ์ ชาติพงษ์ณัฐพัชร์ นิมจิรวัฒน์ณัฐวุฒิ สกิดใจณัฐสิทธิ์ โกฏิมนัสวนิชย์ดรีมทีมดอกดิน กัญญามาลย์ดอกไม้ในทางปืนดอม เหตระกูลดามพ์ ดัสกรดาวคะนอง (ภาพยนตร์)ดี๋ ดอกมะดันดนัย จารุจินดาคมชัดลึก อวอร์ดคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 10คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 12คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 13คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 14คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 2คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 3คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 4คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 5คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 6คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 7คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 8คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 9คมสัน นันทจิตครูสมศรีความรักครั้งสุดท้ายความจำสั้น แต่รักฉันยาวคาดเชือกคำพิพากษาของมหาสมุทรคืนบาป พรหมพิรามคน ผี ปีศาจคนป่วนสายฟ้าคนเลี้ยงช้างตั้งวงตายโหง ตายเฮี้ยนตุ๊กแกรักแป้งมากตีสาม คืนสาม 3Dต้มยำกุ้ง (ภาพยนตร์)ต้องปล้นฅนไฟบินฉัตรชัย เปล่งพานิชซักซี้ด ห่วยขั้นเทพซาไกยูไนเต็ดซุ้มมือปืนปรมะ อิ่มอโนทัยประจวบ ฤกษ์ยามดีปราโมทย์ แสงศรปริญญา เจริญผลปรีชา ชนะภัยปรเมศร์ น้อยอ่ำปัญญา นิรันดร์กุลปิดเทอมใหญ่ หัวใจว้าวุ่นปิติศักดิ์ เยาวนานนท์ปืนใหญ่จอมสลัดน.ช. นักโทษชายนพชัย ชัยนามนพพล โกมารชุนนพัตฏ์ธร มัททวีวงศ์นกน้อยนะโม ทองกำเหนิดนาคปรก (ภาพยนตร์)นิรุตติ์ ศิริจรรยาน้องเมียแบล็ค ผมทองแฟนฉันแก๊งชะนีกับอีแอบแสบสนิท ศิษย์ส่ายหน้าแผลเก่า (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2557)โกวิท วัฒนกุลโก๊ะตี๋ อารามบอยโลกทั้งใบให้นายคนเดียวโหมโรงโหมโรง (ภาพยนตร์)โหน่ง ชะชะช่าโอบนิธิ วิวรรธนวรางค์โน้ต เชิญยิ้มไชยา (ภาพยนตร์)ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้วไกรลาศ เกรียงไกรไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้เชษฐวุฒิ วัชรคุณเฟค โกหกทั้งเพเพลงสุดท้ายเพื่อน...กูรักมึงว่ะเพ็ญเพ็ชร เพ็ญกุลเกริกเกียรติ พันธุ์พิพัฒน์เกรียงศักดิ์ เหรียญทองเกรียงไกร อุณหะนันทน์เกรียน ฟิคชั่นเกิร์ลเฟรนด์ 14 ใสกำลังเหมาะเกียรติ กิจเจริญเก๋า..เก๋าเมมโมรี่ รักหลอนเมย์ไหน..ไฟแรงเฟร่อเมล์นรก หมวยยกล้อเรย์ แมคโดนัลด์เรืองศักดิ์ ลอยชูศักดิ์เรือนแพเรื่องตลก 69เวลาในขวดแก้วเศรษฐพงศ์ เพียงพอเศรษฐา ศิระฉายาเสือ โจรพันธุ์เสือเสือมเหศวรเสียดายเสียดาย 2เอกชัย ศรีวิชัยเอ๋อเหรอเจสัน ยังเจาะเวลาหาโก๊ะเจ้าสาวผัดไทยเทพ โพธิ์งามเทพธิดาบาร์ 21เทพธิดาโรงงานเทริดเด็กหอเด็กเสเพล (2539)เงาะป่าเฉลิมพล ทิฆัมพรธีรวงศ์เฉือนเปี๊ยก โปสเตอร์Goal Club เกมล้มโต๊ะHome ความรัก ความสุข ความทรงจำIt Gets Better ไม่ได้ขอให้มารักMary is happy, Mary is happyTimeline จดหมาย ความทรงจำTogether วันที่รัก15 ค่ำ เดือน 1120 ใหม่ ยูเทิร์นวัย หัวใจรีเทิร์น2499 อันธพาลครองเมือง303 กลัว/กล้า/อาฆาต32 ธันวา ขยายดัชนี (382 มากกว่า) »

ชลประคัลภ์ จันทร์เรือง

ลประคัลภ์ จันทร์เรือง เจ้าของฉายา "ครูช่าง" เป็นนักแสดง ผู้กำกับและเขียนบทละครเวที ปัจจุบันเป็นผู้ฝึกสอนวิชาการแสดง โดยก่อตั้งโรงเรียนการแสดงชื่อ โรงเรียนมรดกใหม่ ได้รับการเชิดชูเกียรติรางวัลศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและชลประคัลภ์ จันทร์เรือง · ดูเพิ่มเติม »

บอดี้ ศพ*19

อดี้ ศพ #19 (Body) เป็นภาพยนตร์สยองขวัญแนวจิตวิทยา กำกับโดย ปวีณ ภูริจิตปัญญา เข้าฉายในโรงภาพยนตร์เมื่อ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและบอดี้ ศพ*19 · ดูเพิ่มเติม »

ชัยพล จูเลี่ยน พูพาร์ต

ัยพล จูเลี่ยน พูพาร์ต เป็น นักแสดงชาวไทย ที่มีเชื้อสายไทย-เบลเยียม สังกัด สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและชัยพล จูเลี่ยน พูพาร์ต · ดูเพิ่มเติม »

ชั่วฟ้าดินสลาย (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2553)

ั่วฟ้าดินสลาย เป็นภาพยนตร์โศกนาฏกรรมความรัก กำกับโดย หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล ดัดแปลงจากบทประพันธ์ของ มาลัย ชูพินิจ นำแสดงโดย อนันดา เอเวอริ่งแฮม, เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์, ธีรพงศ์ เหลียวรักวงศ์, ศักราช ฤกษ์ธำรงค์, เพ็ญเพชร เพ็ญกุล และ ดารณีนุช โพธิปิติ ชั่วฟ้าดินสลายเป็นการกลับร่วมงานกันอีกครั้งระหว่างหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพกับสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล หลังจากผลงานเรื่องแรกคือ เพลิงพิศวาส ที่สร้างชื่อให้กับ สินจัย เปล่งพานิช ถึง 26 ปี และห่างจากผลงานกำกับภาพยนตร์เรื่องล่าสุด อันดากับฟ้าใส ที่อนันดาแสดงเป็นพระเอก ถึง 13 ปี ออกฉายวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2553 ชั่วฟ้าดินสลาย เป็นผลงานกำกับและเขียบทภาพยนตร์เรื่องที่ 9 ของหม่อมน้อยในรอบ 26 ปี ซึ่งจะโดดเด่นด้วยการออกแบบงานสร้างในรูปแบบศิลปกรรมล้านนาโบราณและเครื่องแต่งกายตามขนบธรรมเนียมล้านนา ได้รับเรตติ้ง "น 18+" (ภาพยนตร์ที่เหมาะสมกับผู้มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป) ได้เปิดตัวรอบสื่อมวลชน ณ บริเวณชั้น 6 โรงภาพยนตร์พารากอน ซีนีเพล็กซ์ เมื่อวันที่ 9 กันยายน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและชั่วฟ้าดินสลาย (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2553) · ดูเพิ่มเติม »

ชาลี อินทรวิจิตร

ลี อินทรวิจิตร เป็นผู้ประพันธ์คำร้อง ผู้กำกับภาพยนตร์ ได้รับยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้ประพันธ์คำร้อง-ผู้กำกับภาพยนตร์) ประจำปีพุทธศักราช 2536 มีผลงานประพันธ์คำร้องเพลงที่มีชื่อเสียง ได้แก่ สดุดีมหาราชา, แสนแสบ, ท่าฉลอม, สาวนครชัยศรี, ทุ่งรวงทอง, มนต์รักดอกคำใต้, แม่กลอง, เรือนแพ, จำเลยรัก ฯลฯ เดิมชื่อ สง่า อินทรวิจิตร เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและชาลี อินทรวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

บางระจัน (ภาพยนตร์)

งระจัน (Bang Rajan: The Legend of the Village's Warriors) ภาพยนตร์ไทยอิงประวัติศาสตร์ ผลงานลำดับที่ 10 ของ ธนิตย์ จิตนุกูล เข้าฉายเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ความยาว 127 นาที.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและบางระจัน (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

บิลลี่ โอแกน

ลลี่ โอแกน มีชื่อจริงว่า บิณฑ์ลี่ฎ์ มิตตกริน โอแกน เป็นนักร้อง นักแสดง นักแต่งเพลง นักเขียน พิธีกร ชาวไท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและบิลลี่ โอแกน · ดูเพิ่มเติม »

บิวตี้ฟูล บ๊อกเซอร์

วตี้ฟูล บ๊อกเซอร์ (Beautiful Boxer) เป็นภาพยนตร์ไทยอิงชีวประวัติ น้องตุ้ม (ปริญญา เจริญผล) ซึ่งเป็นภาพยนตร์ที่ได้รับการกล่าวว่าไม่ค่อยประสบความสำเร็จในประเทศไทยเท่าใดนัก หากแต่ประสบความสำเร็จในเวทีสากล โดยภาพยนตร์ชุดนี้สามารถทำรายได้นอกประเทศไทยรวม 1 ล้านเหรียญ ซึ่งส่วนหนึ่งของการตอบรับ มาจากความนิยมของมวยไทยของผู้ชม ทั้งนี้ อัสนี สุวรรณ ซึ่งเป็นนักแสดงนำผู้รับบทเป็นน้องตุ้มในภาพยนตร์ชุดนี้ ยังเคยเป็นนักมวยไทยมาก่อนด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและบิวตี้ฟูล บ๊อกเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญส่ง นาคภู่

ญส่ง นาคภู่ (ชื่อเล่น: สืบ) นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์อิสระชาวไทย เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2511 ในครอบครัวชาวนาที่อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย บุญส่งชื่นชอบในศาสตร์ทางด้านภาพยนตร์มาตั้งแต่เด็ก ๆ โดยมี สรพงษ์ ชาตรี เป็นนักแสดงในดวงใจ บุญส่งเดินทางเข้าสู่กรุงเทพมหานคร ด้วยการเข้าเรียนทางด้านการแสดง ในคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเริ่มทำงานเบื้องหลังภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 ด้วยการเป็นผู้ช่วยผู้กำกับในหลาย ๆ เรื่อง เช่น สมองกล คนอัจฉริยะ และสร้างภาพยนตร์สั้นหลายต่อหลายเรื่อง จากนั้นได้เป็นผู้ฝึกสอนนักแสดงใน บางระจัน และ ทวิภพ และร่วมแสดงใน 15 ค่ำเดือน 11, ฟอร์มาลีนแมน รักเธอเท่าฟ้า, แม่เบี้ย ก่อนที่จะได้ลงมือกำกับเองจริง ๆ เป็นเรื่องแรก ใน 191 ครึ่ง มือปราบทราบแล้วป่วน ซึ่งภาพยนตร์ไม่ประสบความสำเร็จเลย ผลงานในระยะหลัง ๆ ได้แก่ เป็นผู้กำกับตอน ผีปอบ ใน หลอน ในปี พ.ศ. 2546 ร่วมแสดงใน เฉือน ในปี พ.ศ. 2552, พุ่มพวง ในปี พ.ศ. 2554 และอันธพาล ในปี พ.ศ. 2555 ซึ่งทั้ง 2 เรื่องหลังเป็นผลงานการกำกับของ ก้องเกียรติ โขมศิริ ซึ่งได้รับคำวิจารณ์ว่าแสดงได้ดี ทั้ง ๆ ที่เป็นแค่ตัวประกอ.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและบุญส่ง นาคภู่ · ดูเพิ่มเติม »

ชุมพร เทพพิทักษ์

มพร เทพพิทักษ์ (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2482 − 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) ชื่อเล่น เดียร์ นักแสดงชาวไทยและอดีตผู้กำกับภาพยนตร์ มีชื่อจริงว่า คมสันต์ เทพพิทักษ์ เกิดที่จังหวัดชุมพรเมื่อปี พ.ศ. 2482 จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดขันเงินและโรงเรียนศรียาภัย เดินทางเข้าสู่กรุงเทพมหานคร เพื่อศึกษาต่อที่โรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย โดยพักอาศัยอยู่ในบ้านหลังเดียวกับ พล.ต.ท.วรรณรัตน์ คชรัตน์ (อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล และ ส.ส.บัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2544) ซึ่งเป็นลูกพี่ลูกน้อง แต่ขณะที่เรียนเมื่ออายุได้ 17 ปี ต้องโทษจำคุกในคดีฆาตกรรมด้วยอาวุธปืน และรับสารภาพ จึงถูกลดโทษเหลือ 25 ปี จากนั้นได้รับการลดหย่อนโทษเรื่อยมา จนได้รับอิสรภาพในที่สุด ในระหว่างต้องโทษ อยู่ห้องขังเดียวกับ แคล้ว ธนิกุล เข้าสู่วงการบันเทิงครั้งแรกด้วยการเป็นนักแสดงบทร้ายแทน ประจวบ ฤกษ์ยามดี นักแสดงบทตัวร้ายที่ไม่สบาย ด้วยความที่หน้าตาตล้ายกัน จากการชักชวนของ ปริญญา ทัศนียกุล และ ลือชัย นฤนาท ในเรื่อง คมแสนคม ในปี พ.ศ. 2507 ตามด้วยบทตัวร้ายมาโดยตลอด ในปี พ.ศ. 2511 มีผลงานละครโทรทัศน์ทางช่อง 4 บางขุนพรหม, ช่อง 5 และช่อง 7 ในยุคแพร่ภาพระบบขาวดำ ด้วยการพลิกบทบาทมารับบทเป็นพระเอกบ้าง ซึ่งก็ได้รับการวิจารณ์ในตอนต้นว่า คนดูจะรับได้หรือไม่กับการที่ผู้ร้ายในแบบภาพยนตร์ใหญ่ มารับบทพระเอกในแบบละครโทรทัศน์ ซึ่งก็ได้รับบทพระเอกแนวลูกทุ่งหรือแอ็คชั่น และถือว่าประสบความสำเร็จพอสมควร ต่อมาเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ มีผลงานมากมาย อาทิ ถุยชีวิต (พ.ศ. 2521), นักสู้ภูธร ในปีเดียวกัน, ขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก (พ.ศ. 2522) และที่ประสบความสำเร็จที่สุดคือ แหกค่ายนรกเดียนเบียนฟู ในปี พ.ศ. 2520 ซึ่งได้รับรางวัลตุ๊กตาทองสาขาผู้กำกับยอดเยี่ยม และได้รับรางวัลอื่น ๆ รวมทั้งหมด 5 รางวัล และยังคงมีผลงานออกมาเป็นระยะๆ เช่น บางระจัน (พ.ศ. 2543),โหมโรง(พ.ศ. 2547), ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ (พ.ศ. 2550), รักสยามเท่าฟ้า (พ.ศ. 2551), 2022 สึนามิ วันโลกสังหาร (พ.ศ. 2552) ผลงานละครโทรทัศน์ได้แก่ สุสานคนเป็น (พ.ศ. 2545) ธิดาวานร 2 (พ.ศ. 2552) และ เงาพราย (พ.ศ. 2554) ผลงานละครเรื่องสุดท้ายคือเรื่อง ขุนกระทิง และผลงานภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายคือเรื่อง ขุนพันธ์ (พ.ศ. 2559) ชีวิตส่วนตัว สมรสกับ มยุรี เทพพิทักษ์ (นามสกุลเดิม-ศรีสินธุ์อุไร) มีบุตรด้วยกันทั้งหมด 4 คน ซึ่งหนึ่งในจำนวนนั้นเป็นนักร้องและนักแสดงที่มีชื่อเสียง คือ ศรราม เทพพิทักษ์ ชุมพรมีอาการป่วยด้วยโรคเส้นเลือดในสมองตีบตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและชุมพร เทพพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ช็อคโกแลต (ภาพยนตร์)

็อคโกแลต (Chocolate) เป็น ภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2551 กำกับโดยปรัชญา ปิ่นแก้ว สร้างและจัดจำหน่ายโดย สหมงคลฟิล์ม ด้วยทุนสร้าง 120 ล้านบาท และทำรายได้รวม 78.5 ล้านบาท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและช็อคโกแลต (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

บ้านฉัน..ตลกไว้ก่อน (พ่อสอนไว้)

้านฉัน..ตลกไว้ก่อน (พ่อสอนไว้) (เดิมชื่อ บ้านฉัน..ตะหลึ่งตึ่งโป๊ะ) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวตลก น่ารัก อบอุ่น เกี่ยวกับครอบครัว เข้าฉายเมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2553 กำกับภาพยนตร์โดย วิทยา ทองอยู่ยงและ เมษ ธราธร นักแสดงโดย ชวิน ลิขิตเจริญพงษ์, พอลล่า เทเลอร์, จตุรงค์ มกจ๊ก, ณิชาพัชร์ จารุรัตนวารี ภาพยนตร์ทำรายได้ 42 ล้านบาท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและบ้านฉัน..ตลกไว้ก่อน (พ่อสอนไว้) · ดูเพิ่มเติม »

ฟ. ฮีแลร์

ฟร็องซัว ตูเวอแน อีแลร์ (François Touvenet Hilaire) หรือที่รู้จักในนาม ฟ.ฮีแลร์ (F. Hilaire) หรือ เจษฎาจารย์ฮีแลร์ (18 มกราคม 2424 – 3 ตุลาคม 2511) เป็นนักบวชคณะภราดาเซนต์คาเบรียล เจ้าของสมญานาม "ปราชญ์แห่งอัสสัมชัญ" ได้รับการยกย่องในด้านความแตกฉานภาษาไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากท่านเป็นชาวฝรั่งเศสมาแต่กำเนิด จนเมื่อได้มาอยู่ที่ประเทศไทย ท่านก็ศึกษาภาษาไทยจนแตกฉานและสามารถแต่งหนังสือเรียนภาษาไทยให้เด็กไทยเรียนได้ นามว่า "ดรุณศึกษา" ท่าน ฟ.ฮีแลร์ เป็นหนึ่งในสองบุคคลที่สำคัญที่สุดของโรงเรียนอัสสัมชัญ ร่วมกับ คุณพ่อกอลมเบต์ ปัจจุบัน ณ โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้มีการสร้างอนุสาวรีย์ และสร้างอาคารโดยใช้ชื่อตามภราดา ฟ.ฮีแลร์ เพื่อเป็นการรำลึกถึงคุณงามความดีของท่านทั้งต่อโรงเรียนและต่อประเทศชาติ คำว่า ฟ.ฮีแลร์ เป็นศาสนนามของภราดาฟร็องซัว ตูเวอแน โดย ฟ. มิได้ย่อมาจากนามเดิม หากย่อมาจากภาษาฝรั่งเศส frère ที่ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Brother ซึ่งบัญญัติศัพท์เป็นภาษาไทยว่า "เจษฎาจารย์" หรือ ภร.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและฟ. ฮีแลร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ

"ฟรีแลนซ..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ" (Heart Attack) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2558 เขียนบทและกำกับโดย นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์ นำแสดงโดย ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ และดาวิกา โฮร์เน่ กำหนดออกฉายในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้า (ภาพยนตร์ไทย)

ฟ้า (Fah) ภาพยนตร์ไทยแนวแอ๊คชั่นออกฉายในปลายปี พ.ศ. 2541 นำแสดงโดย สุนิสา เจทท์, ดอน ธีระธาดา, ฉัตรชัย เปล่งพานิช, จอนนี่ แอนโฟเน่ กำกับการแสดงโดย วิชช์ เกาไศยนันท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและฟ้า (ภาพยนตร์ไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้าทะลายโจร

ฟ้าทะลายโจร อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและฟ้าทะลายโจร · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้าทะลายโจร (ภาพยนตร์)

ฟ้าทะลายโจร (Tears of the Black Tiger) เป็นผลงานกำกับภาพยนตร์เรื่องแรกของวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง เมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและฟ้าทะลายโจร (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พชร จิราธิวัฒน์

ร จิราธิวัฒน์ (เกิด 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2536) ชื่อเล่น พีช เป็นนักร้อง นักแสดง นายแบบ และ นักดนตรีชาวไทย มีชื่อเสียงมาจากบท คุ้ง และ เค ในภาพยนตร์เรื่อง ซักซี้ด ห่วยขั้นเทพ มีผลงานเพลงร่วมกับกลุ่มเพื่อนในนามวงรูฟท็อป โดยเขาอยู่ในตำแหน่งมือคีย์บอร์ดและกีต้าร์ ปัจจุบันเป็นนักร้องนำร่วมกับ บีม ภากร มุสิกบุญเลิศ ในนามของ วงไวท์โรส (WHITE ROSE) มีสไตล์เพลงแนวอิเลคทรอนิคร็อค สังกัดค่ายสไปซีดิสก์ (SPICY DISC).

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและพชร จิราธิวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระองคุลิมาลเถระ

องคุลิมาล หรือ พระองคุลิมาลเถระ เป็นบุคคลสำคัญในยุคต้นแห่งพุทธศาสนา โดยเฉพาะตามพุทธประวัติพุทธฝ่ายเถรวาท เดิมนั้นเป็นโจรปล้นฆ่าคน แต่ภายหลังมีศรัทธาในพุทธศาสนา ได้กลับใจบวชเป็นพระภิกษุ และบรรลุเป็นพระอรหันต์ อีกทั้งมียังบทสวดของท่านอีกด้วย ชื่อ อังคุลิมาลปริตร คำว่า องคุลิมาล นั้นมาจากคำว่า อังคุลี (นิ้วมือ) + มาลา (มาลัย สร้อยคอ สาย แถว) แปลว่า ผู้มีนิ้วมือเป็นมาลัย แต่เดิมนั้นองคุลิมาลชื่อว่า อหิงสกะ เป็นบุตรของปุโรหิตของพระเจ้าปเสนทิโกศล เมืองสาวัตถี มารดาของชื่อ นางมันตานี อหิงสกะได้ไปเรียนวิชาที่เมืองตักกสิลา และสามารถเรียนได้รวดเร็วอีกทั้งยังปรนนิบัติอาจารย์อย่างดี จนเป็นที่รักใคร่ของอาจารย์อย่างมาก เป็นเหตุให้ศิษย์อื่นริษยา จึงยุยงอาจารย์ว่าองคุลิมาลคิดจะทำร้าย อาจารย์จึงคิดจะกำจัดองคุลิมาลเสีย โดยบอกกองคุลิมาลว่า ถ้าจะสำเร็จวิชาต้องฆ่าคนให้ได้ 1,000 คนเสียก่อน องคุลิมาลจึงออกเดินทางฆ่าคน แล้วตัดนิ้วหัวแม่มือมาคล้องที่คอเพื่อให้จำได้ว่าฆ่าไปกี่คนแล้ว เหตุนี้เอง อหิงสกะจึงได้รับสมญานามว่า องคุลิมาล เมื่อฆ่าจนครบ 999 คน ก็มาพบพระพุทธเจ้า และได้เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ออกบวชเป็นพุทธสาวก เรื่องราวขององคุลิมาลมีการเล่าขยายความเอาไว้ในเรื่อง กามนิต ของคาร์ล อดอล์ฟ เจลเลอร์รุป กวีชาวเดนมาร์ก.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและพระองคุลิมาลเถระ · ดูเพิ่มเติม »

พรางชมพู กะเทยประจัญบาน

รางชมพู กะเทยประจัญบาน เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 โดยฟิล์มบางกอก กำกับโดย กิตติกร เลียวศิริกุล ทางด้านฝ่ายกะเทยนำแสดงโดย อ.เสรี วงษ์มณฑา, อรนภา กฤษฎี, ธงธง มกจ๊ก หรือ คัชฑาเทพ เอี่ยมศิริ, ส้มโอ - ยลรตี โคมกลอง, แจ็ค - บริวัตร อยู่โต และ บดินทร์ ดุ๊ก ส่วนนักแสดงทางฝ่ายทหาร นำแสดงโดย สรพงษ์ ชาตรี, โกวิท วัฒนกุล และ กอล์ฟ - พุฒิชัย อมาตยกุล และยังมีนักแสดงร่วมอย่าง แอ๊ด คาราบาว นักร้องนักดนตรีเพื่อชีวิต ที่รับเชิญมาแสดงเป็น ปางโหลง และยังร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ในเพลง 'เรากระทบตุ๊ด' ภาพยนตร์ทำรายได้ 47 ล้านบาท ภาพยนตร์เรื่องนี้มีชื่อภาษาอังกฤษว่า "Saving Private Tootsie" ซึ่งล้อเลียนภาพยนตร์เรื่อง Saving Private Ryan ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและพรางชมพู กะเทยประจัญบาน · ดูเพิ่มเติม »

พันธุ์ร็อกหน้าย่น

ันธุ์ร็อกหน้าย่น (Old Mad Rock) ภาพยนตร์ไทยในแนวเพลงและตลกในปี พ.ศ. 2546 นำแสดงโดย เทพ โพธิ์งาม, อนันต์ บุนนาค, ทูน หิรัญทรัพย์, ปฐมพงศ์ สมบัติพิบูลย์, เพ็ญพักตร์ ศิริกุล, วงศ์วรุตม์ ตันตระกูล, มนัสนันท์ พันเลิศวงศ์สกุล กำกับโดย พิสุทธิ์ แพร่แสงเอี่ยม อำนวยการสร้างโดย อาร์เอสฟิล์ม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและพันธุ์ร็อกหน้าย่น · ดูเพิ่มเติม »

พิศาล อัครเศรณี

ละครขุนศึก ปี พ.ศ. 2520 - พิศาล อัครเศรณี และ ผุสดี พลางกูล พิศาล อัครเศรณี (เปี๊ยก) (21 มิถุนายน พ.ศ. 2488 -) เป็นผู้กำกับ นักแสดง โฆษก มีผลงานภาพยนตร์ไทยสร้างชื่ออย่าง “เพลงสุดท้าย” เป็นผู้ที่ได้รับฉายาว่า "พระเอกซาดิสต์" หรือ "ผู้กำกับซาดิสต์" เนื่องจากมักได้รับบทหรือกำกับละครหรือภาพยนตร์ที่พระเอกมักจะทำร้ายนางเอกด้วยการตบตี แต่ลงท้ายด้วยการจูบหรือแสดงความรัก ทำให้นางเอกใจอ่อนทุกที.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและพิศาล อัครเศรณี · ดูเพิ่มเติม »

พิษณุ นิ่มสกุล

ษณุ นิ่มสกุล (เกิด 10 สิงหาคม พ.ศ. 2521) ชื่อเล่น บอย เป็นนักร้อง นักแสดง และพิธีกรชาวไทย มีชื่อเสียงจากรายการเรียลลิตีโชว์ ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 2 โดยได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 โดยมีผลงานเพลงที่สร้างชื่อคือเพลง "อยากบอกเธอเหลือเกิน" ด้านการแสดง เขาได้รับรางวัลจากการแสดงรางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ, รางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง และรางวัลแฮมเบอร์เกอร์อวอร์ดในสาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง รักที่รอคอ.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและพิษณุ นิ่มสกุล · ดูเพิ่มเติม »

พุ่มพวง (ภาพยนตร์)

มพวง (The Moon) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและพุ่มพวง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พุ่มพวง ดวงจันทร์

มพวง ดวงจันทร์ (4 สิงหาคม พ.ศ. 2504 – 13 มิถุนายน พ.ศ. 2535) ชื่อเล่น ผึ้ง ชื่อจริง รำพึง จิตรหาญ เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่ง เจ้าของฉายา ราชินีลูกทุ่ง ได้ชื่อว่ามีน้ำเสียงออดอ้อน หวาน จำเนื้อร้องได้แม่นทั้งที่ไม่รู้หนังสือ และเป็นแม่แบบให้แก่นักร้องรุ่นหลัง พุ่มพวงเกิดในครอบครัวที่ยากจนมาก และเรียนจบเพียงแค่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ทำให้อ่านหนังสือไม่ออก แต่มีความจำดีและมีความสามารถด้านการร้องเพลงจึงทำให้ไวพจน์ เพชรสุพรรณ ซึ่งได้เข้ามาทำการแสดงที่วัดทับกระดาน จังหวัดสุพรรณบุรีซึ่งเป็นบ้านของเธอได้เห็นแววความสามารถของเธอจึงรับไปเป็นบุตรบุญธรรม เธอมีเพลงดังในวงการมากมาย เช่น นักร้องบ้านนอก, กระแซะเข้ามาซิ, อื้อหือหล่อจัง, หนูไม่รู้, หัวใจถวายวัด, ขุดดินแช่ง, ขอให้รวย, หม้ายขันหมาก, อนิจจาทิงเจอร์, เสียสาวเมื่ออยู่ ม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและพุ่มพวง ดวงจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พีท ทองเจือ

ีท ทองเจือ เดิมมีชื่อจริงว่า พันธกานต์ ทองเจือ ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อมาเป็น ธนภณ ทองเจือ เกิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2511 เป็นบุตรชายของภิญโญ ทองเจือ อดีตพระเอกภาพยนตร์ กับนิธิกานต์ ทองเจือ และเป็นพี่ชายต่างมารดากับสายฟ้า เศรษฐบุตร จบการศึกษา Advertising ที่ Academy of Arts College เมืองซานฟรานซิสโก เป็นลูกหลานเชื้อสายของแม่นาคพระโขนง ปัจจุบันเป็นนักแข่งรถมืออาชี.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและพีท ทองเจือ · ดูเพิ่มเติม »

พี่ชาย My Hero

ี่ชาย My Hero (How To Win At Checkers (Every Time)) เป็นภาพยนตร์ไทย กำกับโดยผู้กำกับชาวเกาหลี-อเมริกัน จอช คิม นำแสดงโดย ถิร ชุติกุล, อิงครัต ดำรงค์ศักดิ์กุล, จิณณะ นวรัตน์ และ โทนี่ รากแก่น ภายใต้การควบคุมการผลิตของ อิเล็คทริค อีลล์ ฟิล์ม เป็นภาพยนตร์แนวชีวิต ประเภทการเปลี่ยนผ่านของวัย (coming of age) มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ของพี่ชายที่เป็นเกย์ กับน้องชายที่เป็นชายแท้ และการเกณฑ์ทหารในประเทศไทย และประเด็นเรื่องความรุนแรงในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ การขายบริการทางเพศของชายรักชาย พิษร้ายแรงของยาเสพติด ความรักต้องร่วมฝ่าฟันของชาวเกย์ ความเหลื่อมล้ำระหว่างคนจน-คนรวย เนื้อเรื่องมาจากหนังสือ Sightseeing เรื่องสั้น "Draft Day" คือเรื่องของการจับใบดำ-ใบแดง และ "At the Cafe Lovely" โดย รัฐวุฒิ ลาภเจริญทรัพย์ ออกฉายรอบปฐมทัศน์เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเบอร์ลิน ในโปรแกรมพาโนรามา Berlin International Film Festival 2015 (Panorama) เมื่อวันที่ 8 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและพี่ชาย My Hero · ดูเพิ่มเติม »

พี่มาก..พระโขนง

ี่มาก..พระโขนง เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและพี่มาก..พระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

พงศธร ศรีปินตา

งศธร ศรีปินตา เกิดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2539 เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิง โดยการแคสติ้งหนังเรื่องพี่ชาย แต่เรื่องแรกที่ได้เข้าฉายก่อน คือ เรื่องเกรียนฟิคชั่น และเรื่องตีสาม คืนสาม 3D จนในปี 2557 ฟลุ๊คมีผลงานแสดงภาพยนตร์เรื่อง ตีสาม คืนสาม 3D ซึ่งรับบทเป็น "ขะมอด" ร่วมกับสินจัย เปล่งพานิช และจิราวัฒน์ วชิรศรัณย์ภัทร และมีผลงานสร้างชื่อจากภาพยนตร์ไทยเรื่อง พี่ชาย My Bromance แสดงคู่กับธีรภัทร โลหนันทน์ ซึ่งจากบทบาท "แบงค์" ใน พี่ชาย นี้ ทำให้ฟลุ๊คเป็นที่รู้จักในฐานะนักแสดงวัยรุ่นชายขึ้นมาทันที นอกจากนี้ภาพยนตร์เรื่องนี้ถือได้ว่าประสบความสำเร็จจากการฉายจำกัดโรง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและพงศธร ศรีปินตา · ดูเพิ่มเติม »

พงศธร จงวิลาส

งศธร จงวิลาส ชื่อเล่น: บอย (เผือก เป็นชื่อที่อาจารย์ตั้งให้สมัยป.5) เป็นดีเจ นักแสดงชาวไทย จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจาก โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาระดับอุดมศึกษาจากคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเป็นเพื่อนสนิทของ โบ ธนากร ชินกูล ตั้งแต่เรียนชั้นประถมศึกษา ปัจจุบันเป็นดีเจอยู่ที่ 94 อีเอฟเอ็ม และเป็นพนักงานบริษัทโฆษณา Y&R (ครีเอทีฟ) มีผลงานเรื่องแรกคือ ภาพยนตร์ กั๊กกะกาวน์ และผลงานล่าสุด คือ ภาพยนตร์ เรื่อง มิสเตอร์เฮิท มือวางอันดับเจ็บ รับบท จิมมี่ (Jimmy the rocket).

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและพงศธร จงวิลาส · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง

งษ์พัฒน์ วชิรบรรจง (เกิด 2 กันยายน พ.ศ. 2504) ชื่อเล่น อ๊อฟ เป็นนักร้อง นักแสดง และผู้กำกับชาวไทย ทางด้านธุรกิจเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัท แอค อาร์ต เจเนอเรชั่น จำกัด อ๊อฟจบปริญญาตรี พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · ดูเพิ่มเติม »

กระสือวาเลนไทน์

กระสือวาเลนไทน์ เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและกระสือวาเลนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

กรุง ศรีวิไล

กรุง ศรีวิไล มีชื่อจริงว่า กรุงศรีวิไล สุทินเผือก (ชื่อเดิม: นที สุทินเผือก; ชื่อเล่น: เอ๊ด) เกิดวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 ที่อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานอย่างเช่นเรื่อง ลูกยอด ชู้ ทอง ตัดเหลี่ยมเพชร ซุปเปอร์ลูกทุ่ง คืนนี้ไม่มีพระจันทร์ มีนัดไว้กับหัวใจ เสาร์ห้า เดียมห์ เพศสัมพันธ์อันตราย แมงดาปีกทอง สาวแรงสูง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและกรุง ศรีวิไล · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณภูมิ พิบูลสงคราม

กฤษณภูมิ พิบูลสงคราม (ชื่อเล่น: เจเจ; เกิด: 15 สิงหาคม พ.ศ. 2539) เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานจากภาพยนตร์เรื่อง เกรียน ฟิคชั่น.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและกฤษณภูมิ พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณ์ ศุกระมงคล

กฤษณ์ ศุกระมงคล เป็นนักแสดง ผู้กำกับชาวไทย มีชื่อเสียงจากการแสดงในภาพยนตร์ชุด บุญชู โดยรับบทเป็น คำมูล เพื่อนร่วมกลุ่มของบุญชู นักศึกษาคณะโบราณคดีที่ชื่นชอบปลากระป๋อง และโฆษณาห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล จนเป็นที่รู้จักและเรียกขานว่า "หนุ่ม เซ็นทรัล" นอกจากนี้ยังรับบทเป็นนักแสดงสมทบในภาพยนตร์หลายต่อหลายเรื่อง และมักแสดงบทสนุกสนาน นอกจากนี้ยังเคยเป็นพิธีกร เสาร์นี้มีอะไร, คุณขอมา และนักร้องที่มีอัลบั้มเพลงชุดเดียว คือ หนุ่มแดดเดียว ตอน ตะลุยแบกแดด กับค่าย เอสพี ศุภมิตร ซึ่งมี ยิ่งยง (อี๊ด) โอภากุล เป็นโปรดิวเซอร์ นอกจากบทบาทการเป็นนักแสดง ยังมีบทบาทเป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์ทางไทยทีวีสีช่อง 3 มีผลงานการกำกับหลายเรื่อง เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง นักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง ส.อ.ว.ห้อง 2 รุ่น 44 ด้านการกำกับการแสดง เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลสาขาผู้กำกับยอดเยี่ยม จากรางวัลนาฏราช, คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 7 และท็อปอวอร์ด 2009 จากการกำกับละครเรื่อง ผู้ใหญ่ลีกับนางม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและกฤษณ์ ศุกระมงคล · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณ์ เศรษฐธำรงค์

กฤษณ์ เศรษฐดำรงค์ (ชื่อเล่น:ตู่) เป็นนักแสดงชายชาวไท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและกฤษณ์ เศรษฐธำรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

กฤษดา สุโกศล แคลปป์

กฤษดา สุโกศล แคลปป์ หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ น้อย วงพรู (ชื่อเล่น: น้อย) เกิดเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2513 เป็นนักร้องนำวงพรู นักแสดงชาวไทย นอกเหนือจากผลงานการแสดงเขายังเป็นผู้บริหารกิจการโรงแรม เดอะ สยามร่วมกับครอบครัว กมลา สุโกศล หลังห่างหายไปถึงสิบสองปี น้อยก็กลับมาในฐานะศิลปินเดี่ยว โดยได้ศิลปินมาช่วยแต่งเพลงอย่าง บอย โกสิยพงษ์ อภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข และ ตรัย ภูมิรัตน.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและกฤษดา สุโกศล แคลปป์ · ดูเพิ่มเติม »

กฤตกร ทองแสง

กฤตกร ทองแสง (ชื่อเล่น ต๊อบ) เป็นนักแสดง นายแบบชาวไท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและกฤตกร ทองแสง · ดูเพิ่มเติม »

กอล์ฟ-ไมค์

กอล์ฟ - พิชญะ นิธิไพศาลกุล และ ไมค์ - พิรัชต์ นิธิไพศาลกุล เป็นคู่ศิลปินนักร้องเพลงไทยสากลแนวป็อป และ ฮิปฮอป อาร์แอนด์บี สังกัดบริษัทจีเอ็มเอ็ม แกรมมี.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและกอล์ฟ-ไมค์ · ดูเพิ่มเติม »

กะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อน

กะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อน ภาพยนตร์ไทย กำกับโดย มานพ อุดมเดช ฉายในปี พ.ศ. 2534 โดย บริษัท ที เค อาร์ กรุ๊ป ความยาว 118 นาที นำแสดงโดย สุรศักดิ์ วงษ์ไทย, อังคณา ทิมดี, ขจรศักดิ์ รัตนนิสสัย, มานพ อัศวเทพ เป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกที่เป็นภาพยนตร์ในแนวฟิล์มนัวร์ (Film Noir) โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากเรื่อง The Postman Alway Rings Twice.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและกะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อน · ดูเพิ่มเติม »

กาลครั้งหนึ่งเมื่อเช้านี้

กาลครั้งหนึ่งเมื่อเช้านี้ (ชื่ออังกฤษ: Once Upon a Time) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2537 กำกับโดยบัณฑิต ฤทธิ์ถกล นำแสดงโดย สันติสุข พรหมศิริ, จินตหรา สุขพัฒน์, มาตัง จันทรานี, รณรงค์ บูรณัติ, ปรมัติ ธรรมมล, ชาลี ไตรรัตน์ และ ภูมิ พัฒนายุท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและกาลครั้งหนึ่งเมื่อเช้านี้ · ดูเพิ่มเติม »

กาเหว่าที่บางเพลง

ฉากภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2537 กาเหว่าที่บางเพลง เป็นนิยายวิทยาศาสตร์ ผลงานประพันธ์ของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ตีพิมพ์เป็นตอนๆ ลงในหนังสือพิมพ์สยามรัฐรายวัน ช่วงประมาณ..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและกาเหว่าที่บางเพลง · ดูเพิ่มเติม »

กิตติศักดิ์ ปฐมบูรณา

กิตติศักดิ์ ปฐมบูรณา ชื่อเล่น แจ็ค เป็นนักแสดงชายชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 15 เมษายน 2537 จบการศึกษาจาก โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ตอนนี้กำลังศึกษาในระดับอุดมศึกษาในชั้นปีที่ 4 ที่ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะ นิเทศศาสตร์ เป็นที่รู้จักดีในบท บีม ในภาพยนตร์เรื่อง Home ความรัก ความสุข ความทรงจำ และ เกรียนฟิคชั่น รับบทเป็น โมน.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและกิตติศักดิ์ ปฐมบูรณา · ดูเพิ่มเติม »

ก้องเกียรติ โขมศิริ

ก้องเกียรติ โขมศิริ (ชื่อเล่น: โขม) เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและก้องเกียรติ โขมศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ญาณี ตราโมท

ญาณี ตราโมท ญาณี ตราโมท เกิดวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 เป็นบุตรของนายมนตรี ตราโมท ศิลปินแห่งชาติ สาขาดนตรีไทย จบมัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัดบวรนิเวศ และปริญญาตรีจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจบการศึกษา คุณญาณีได้เข้าทำงานที่ธนาคารไทยพาณิชย์ ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและญาณี ตราโมท · ดูเพิ่มเติม »

ฝัน บ้า คาราโอเกะ

ฝัน บ้า คาราโอเกะ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและฝัน บ้า คาราโอเกะ · ดูเพิ่มเติม »

ฝันติดไฟ หัวใจติดดิน

ฝันติดไฟ หัวใจติดดิน (Dreamers) เป็นภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2540 นำแสดงโดย ศรราม เทพพิทักษ์, กุลสตรี ศิริพงษ์ปรีดา, อนันต์ บุนนาค, รวิชญ์ เทิดวงศ์ ร่วมด้วย อรุณ ภาวิไล, วิทิต แลต, เกียรติศักดิ์ อุดมนาค, ปอรรัชม์ ยอดเณร, สุเทพ ประยูรพิทักษ์, ปิยะ เศวตพิกุล, พจน์ อานนท์, ดารณีนุช โพธิปิติ, ปทุมวดี เค้ามูลคดี, ปทุมรัตน์ วรมาลี, ภานุชนารถ ทองเจือ กำกับโดย องอาจ สิงห์ลำพอง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและฝันติดไฟ หัวใจติดดิน · ดูเพิ่มเติม »

ฝนตกขึ้นฟ้า

ฝนตกขึ้นฟ้า ภาพยนตร์ลำดับที่แปดโดย เป็นเอก รัตนเรือง กำหนดออกฉายในประเทศไทยในวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ดัดแปลงจากหนังสือชื่อเดียวกันของ วินทร์ เลียววาริณ เรื่องราวของมือปืนที่ถูกยิงที่หัวจนประสาทมองเห็นผิดปกติ มองเห็นภาพรอบตัวกลับหัว เขาพยายามกลับไปเป็นมือปืนอีกครั้ง พยายามค้นหาตัวตนของตนเอง พร้อมกับการมาของหญิงสาวที่ทำให้ชีวิตของเขายุ่งเหยิงขึ้นไปอีก.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและฝนตกขึ้นฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ภพธร สุนทรญาณกิจ

ร สุนทรญาณกิจ เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2523 เป็นนักร้องชาวไทย เติบโตที่สหรัฐอเมริกา สนใจด้านดนตรีและศิลปะตั้งแต่ยังเล็ก เมื่ออายุ 5 ขวบ เริ่มเรียนพื้นฐานดนตรีและเรียนคีย์บอร์ดที่โรงเรียนดนตรียามาฮ่า ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ที่สหรัฐอเมริกาตั้งแต่อายุ 14 ปี และเรียนมัธยมที่ออเรนจ์เคาน์ตี รัฐแคลิฟอร์เนีย ที่ Sonora High school จบการศึกษาจาก Academy of Entertainment สาขาคอมพิวเตอร์แอนิเมชัน จากเมืองแซนทาโมนิกา รัฐแคลิฟอร์เนีย เริ่มร้องเพลงโดยใช้ชื่อวง “Sunday school” ที่ร้านอาหารไทยที่ชื่อ “เครื่องเทศ” เป็นเวลา 3 ปี จึงได้รู้จักกับต้อย สินประยูร ซึ่งเป็นเพื่อนกับบอย โกสิยพงษ์ จากนั้นเขาได้เป็นนักร้องแบ็กอัปให้กับบอย โกสิยพงษ์ และยังได้รับการชักชวนให้มาร้องเพลงในอัลบั้ม Rhythm & Boyd E1EVEN1H ในเพลง “จะทำยังไง” (What will I do) จากนั้นได้ร่วมร้องในอัลบั้ม The Strangers กับเพลง “สักเท่าไหร่” ภพธรยังได้รับเลือกให้เป็นตัวแทนศิลปินจากประเทศไทยเพียงคนเดียว เพื่อร้องเพลง ‘It’s a small world’ ในพิธีเปิดตัวเครื่องเล่นใหม่ ‘Small World’ ของดิสนีย์แลนด์ฮ่องกง จากศิลปิน 4 ประเทศคือ ฟิลิปปินส์, มาเลเซีย, ฮ่องกงและไทย ภพธรยังได้รับตำแหน่ง The Most Chilled Guy of The Year จากเวที CLEO The Most Eligible Bachelor of the Year 2008 จากนั้นมีผลงานอัลบั้มชุดแรกที่ชื่อชุด Two กับค่ายเลิฟอีส มีเพลงดังอย่าง "คิดอะไร" และ "โปรดอย่ามาสงสาร" ต่อมาจึงได้ออกอัลบั้มชุดที่สองในปี 2557 ในชื่ออัลบั้ม Music from Another Room ซึ่งชื่อนี้ได้รับแรงบันดาลใจมาจากหนังเรื่อง Music from Another Room นอกจากผลงานเพลงแล้ว ตู่ยังมีความสามารถในด้านอื่นๆไม่ว่าจะเป็นการเล่นละคร ซีรีส์ ภาพยนตร์ พิธีกร หรือแม้กระทั่งการเป็นดีไซเนอร์เสื้อผ้าร่วมกับแบรนด์ Dapper อีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและภพธร สุนทรญาณกิจ · ดูเพิ่มเติม »

ภวังค์รัก

"ภวังค์รัก" (Concrete Clouds) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวดราม่า ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2557 เขียนบทและกำกับโดย ลี ชาตะเมธีกุล นำแสดงโดย อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม, เจนสุดา ปานโต, อภิญญา สกุลเจริญสุข และประวิทย์ ฮันสเตน กำหนดออกฉายในวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและภวังค์รัก · ดูเพิ่มเติม »

ภูธฤทธิ์ พรหมบันดาล

ูธฤทธิ์ พรหมบันดาล (ชื่อเล่น: วิทย์) เป็นนายแบบและนักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและภูธฤทธิ์ พรหมบันดาล · ดูเพิ่มเติม »

มหา'ลัย เหมืองแร่

อาจินต์ ปัญจพรรค์ มหา'ลัย เหมืองแร่ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและมหา'ลัย เหมืองแร่ · ดูเพิ่มเติม »

มานพ อัศวเทพ

มานพ อัศวเทพ มีชื่อจริงคือ ว่า วิริยะ จุลมกร เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและมานพ อัศวเทพ · ดูเพิ่มเติม »

มือปืน 2 สาละวิน

มือปืน 2 สาละวิน (Salween, Gunman II) ภาพยนตร์ไท..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและมือปืน 2 สาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

มือปืน/โลก/พระ/จัน

มือปืน โลก/พระ/จัน เป็นภาพยนตร์แอคชั่น ดรามา ตลก ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและมือปืน/โลก/พระ/จัน · ดูเพิ่มเติม »

มนต์รักทรานซิสเตอร์

มนต์รักทรานซิสเตอร์ (Transistor Love Story) เป็นภาพยนตร์ไทยโดยผู้กำกับเป็นเอก รัตนเรือง ที่สร้างจากวรรณกรรมขายดีของ วัฒน์ วรรลยางกูร โดยผนวกภาพยนตร์หลายๆ แนวรวมเข้าด้วยกันทั้งตลก โรแมนติก สืบสวน และเป็นภาพยนตร์เพลงอีกด้วย ซึ่งอุทิศให้กับผลงานเพลงของ สุรพล สมบัติเจริญ.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและมนต์รักทรานซิสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดมนุษย์เงินเดือน

อดมนุษย์เงินเดือน เป็น ภาพยนตร์ไทย สร้างโดย สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล, เวิร์คพอยท์ พิคเจอร์ส และ โต๊ะกลม ออกฉายวันที่ 5 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและยอดมนุษย์เงินเดือน · ดูเพิ่มเติม »

ยังบาว

ังบาว (Young Bao The Movie) เป็นภาพยนตร์ไทยที่เข้าฉายเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและยังบาว · ดูเพิ่มเติม »

ยุวชนทหาร เปิดเทอมไปรบ

วชนทหาร เปิดเทอมไปรบ เป็นภาพยนตร์ประเภท ดราม่า, โรแมนติค, สงคราม ที่เข้าฉายเมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2543 โดยมีชื่ออังกฤษว่า Boys Will Be Boys - Boys Will Be Men.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและยุวชนทหาร เปิดเทอมไปรบ · ดูเพิ่มเติม »

รอง เค้ามูลคดี

รอง เค้ามูลคดี หรือ คเณศ เค้ามูลคดี (26 กันยายน พ.ศ. 2490 -) ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์-ละครโทรทัศน์) ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรอง เค้ามูลคดี · ดูเพิ่มเติม »

รัชชุ สุระจรัส

รัชชุ สุระจรัส (ว่าน) เกิดเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 เป็นลูกชายคนโต มีน้องสาว 1 คน คือ ป่าน-ระภา สุระจรัส (ป่าน ไมค์ไอดอล) และน้องชายอีก 1 คน จบการศึกษาระดับมัธยมปลายจากโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน จบการศึกษาระดับปริญญาตรี เกียรตินิยมอันดับ 2 จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีผลงานการแสดงภาพยนตร์อย่างเรื่อง Seasons Change เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย, ปิดเทอมใหญ่ หัวใจว้าวุ่น และ บุญชู ไอ-เลิฟ-สระ-อู.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรัชชุ สุระจรัส · ดูเพิ่มเติม »

รัก-ออกแบบไม่ได้

รัก-ออกแบบไม่ได้ หรือ O-Negative เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรัก-ออกแบบไม่ได้ · ดูเพิ่มเติม »

รักสยาม เท่าฟ้า

รักสยาม เท่าฟ้า หรือ แรกบิน เป็นภาพยนตร์ไทยที่กำกับโดย ธนิตย์ จิตนุกูล เป็นภาพยนตร์ย้อนยุค เรื่องราวเกี่ยวกับการก่อตั้ง กองบินทหารบกของไทย ในสมัยรัชกาลที่ 6 ซึ่งต่อมาได้กลายมาเป็นกองทัพอากาศไทย ภาพยนตร์เรื่องนี้ นำแสดงโดย ศรราม เทพพิทักษ์ เป็น ดวง เด็กหนุ่มลูกชาวบ้านที่เห็นเครื่องบินเป็นครั้งแรกในชีวิต แล้วเกิดประทับใจใฝ่ฝันจะเป็นนักบิน และขจรศักดิ์ รัตนนิสสัย เป็น พันตรีหลวงกาจยุทธการ หนึ่งในทหารไทยรุ่นแรกที่ไปฝึกเป็นนักบินที่ประเทศฝรั่งเศส และทอม เคลย์เตอร์ เป็น ปิแอร์ ปูร์ปอง ครูฝึกบินชาวฝรั่งเศส ที่มาช่วยจัดตั้งกองการบินสยาม เป็นหน่วยเล็กที่ตั้งขึ้นใหม่ในกองทัพบกไทย กองการบินสยามประสบอุปสรรคมากมายในช่วงก่อตั้ง ทั้งในเรื่องงบประมาณ อาคารสถานที่ และถูกขัดขวางจากผู้ใหญ่ในกองทัพที่ไม่เห็นด้วย ถูกเหยียดหยามจากทหารหน่วยอื่น แต่ด้วยความมานะพยายาม กองการบินสยามก็จัดตั้งขึ้นได้เป็นผลสำเร็จ และทำการบินเหิรเวหา แสดงแก่ประชาชนทั่วไปได้เป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2457 และได้รับมอบหมายให้ไปร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในทวีปยุโรป ภาพยนตร์เรื่องนี้ เดิมใช้ชื่อว่า แรกบิน มีกำหนดฉายในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 แต่ภายหลังเกิดอุบัติเหตุวัน-ทู-โก เที่ยวบินที่ 269 ตกที่สนามบินภูเก็ตเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2550 ทางอาร์เอสฟิล์มได้เลื่อนวันฉายเป็นเดือนธันวาคม พร้อมกับเปลี่ยนชื่อภาพยนตร์ และได้เลื่อนวันฉายอีกครั้งเป็นเดือนมกราคม 2551 ทำรายได้รวม 5 ล้านบาท ภาพยนตร์ถ่ายทำที่จังหวัดนครสวรรค์ และอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรักสยาม เท่าฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

รักจัง

รักจัง (The Memory) ภาพยนตร์รักโรแมนติก-คอมเมดี้ เป็นผลงานลำดับที่สี่ของเหมันต์ เชตมี ต่อจากเรื่อง ปอบ หวีด สยอง, Sexphone คลื่นเหงา สาวข้างบ้าน และ พันธุ์เอ็กซ์ เด็กสุดขั้ว นำแสดงโดย ฟิล์ม รัฐภูมิ และ พอลล่า เทเลอร์ ร่วมด้วย โปงลางสะออน เข้าฉายเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรักจัง · ดูเพิ่มเติม »

รักที่รอคอย

รักที่รอคอย หรือ October Sonata เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายเมื่อ 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรักที่รอคอย · ดูเพิ่มเติม »

รักนะ 24 ชั่วโมง

ป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรักนะ 24 ชั่วโมง · ดูเพิ่มเติม »

รักแห่งสยาม

รักแห่งสยาม เป็นภาพยนตร์ไทย กำกับโดย ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล นำแสดงโดย สินจัย เปล่งพานิช, เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์, ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี, มาริโอ้ เมาเร่อ และ วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรัก และการค้นหาตัวตน ผ่านมุมมองของเด็กชายสองคน โดยมีสยามสแควร์เป็นสถานที่เชื่อมโยงเรื่องราวทั้งหมด ซึ่งการถ่ายทำเป็นไปอย่างยากลำบาก เนื่องจากสยามสแควร์เป็นสถานที่ซึ่งมีผู้คนพลุกพล่านเป็นอุปสรรคต่อการถ่ายทำ การประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์ก่อนการออกฉาย นำเสนอว่าเป็นภาพยนตร์เกี่ยวกับความรักใส ๆ ของวัยรุ่นหญิงชาย แต่เมื่อภาพยนตร์ออกฉายจริง กลับมีเนื้อหาเกี่ยวกับความสับสนในจิตใจของวัยรุ่นชาย รวมถึงมีฉากล่อแหลม ทำให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง ส่วนเสียงตอบรับในด้านกลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์นั้นก่อให้เกิดข้อถกเถียงทั้งในแง่บวกและแง่ลบ ภาพยนตร์ออกฉายเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยทำรายได้ในสัปดาห์แรก 18.5 ล้านบาท และปิดรายได้รวมที่ 42 ล้านบาท นอกจากนั้นยังมีการฉายในฉบับ “Director's Cut” มีความยาวประมาณ 3 ชั่วโมงเศษ ที่โรงภาพยนตร์เฮาส์ อาร์ซีเอ และจากกระแสตอบรับที่ดีของภาพยนตร์เรื่องนี้ จึงมีกิจกรรมเพิ่มเติมสำหรับผู้ที่ชื่นชอบและทีมงาน เช่น รอบพิเศษ ที่โรงภาพยนตร์สกาลา สยามสแควร์ เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรักแห่งสยาม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2533

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2534

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2535

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2536

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2537

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2538

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2539

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2540

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2541

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2542

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2543

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2544

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2545

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2546

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2547

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2548

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2549

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2550

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2551

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2552

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน พ.ศ. 2552 ทั้งหมด ซึ่งมีทั้ง และภาคต่อ เป็นต้น.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2553

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2554

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2555

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2556

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2557

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2558

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2559

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี หรือ รางวัลตุ๊กตาทอง เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคลในวงการผลิตภาพยนตร์ไทย ที่มีผลงานดีเด่นที่สุดในสาขาต่างๆ ในแต่ละปี โดยหอการค้ากรุงเทพ จัดพิธีมอบรางวัลนี้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2500 และผลัดเปลี่ยนผู้จัดทุกปีจนถึง พ.ศ. 2508 หลังจากนั้นได้งดไปหลายปี สมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทยได้จัดงานประกาศผลรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดีอีกครั้ง ตั้งแต่ครั้งที่ 9 (นับเป็นครั้งที่หนึ่งใหม่) ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 11 ประจำปี พ.ศ. 2530

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 11 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 11 ประจำปี พ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2535

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 16 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 21 ประจำปี พ.ศ. 2540

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 21 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 21 ประจำปี พ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2541

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 22 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี พ.ศ. 2542

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี พ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2543

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 24 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 25 ประจำปี พ.ศ. 2544

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 25 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 25 ประจำปี พ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2545

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี พ.ศ. 2547

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549

ีมอบรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549 จัดโดยสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย จัดขึ้นเมื่อคืนวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ณ โรงภาพยนตร์สยามภาวลัย พารากอนซินีเพล็กซ์ ศูนย์การค้าสยามพารากอน โดยมี พล.ร.อ.บรรณวิทย์ เก่งเรียน รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธาน นับเป็นรางวัลตุ๊กตาทองครั้งที่ 36 นับจากครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2500 และถือเป็นครั้งสุดท้ายของการจัดงานนี้ ภาพยนตร์ที่เข้าประกวดมีทั้งหมด 21 เรื่อง จากภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2549 จำนวน 42 เรื่อง ภาพยนตร์เรื่อง เปนชู้กับผี เข้าชิงมากที่สุด 13 รางวัล จากทั้งหมด 16 รางวัล ผู้ชนะรางวัล จะเน้นด้วย ตัวหน.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ หรือ รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคลในวงการผลิตภาพยนตร์ไทย ที่มีผลงานดีเด่นที่สุดในสาขาต่างๆ ในแต่ละปี โดยได้จัดให้มีพิธีมอบรางวัลนี้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2535 ประจำปี 2534 จัดโดยสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาต.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 11

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 11 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 13

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 13 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15 ประจำปี พ.ศ. 2548 จัดโดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ จัดขึ้นเมื่อคืนวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2549 ณ บริเวณอนุสรณ์สถาน เรือตรวจการ 813 บ้านบางเนียง ตำบลคึกคัก อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา '''ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม''' - ''มหา'ลัยเหมืองแร่'' จิระ มะลิกุล ผู้ชนะรางวัลผู้กำกับยอดเยี่ยม ฉัตรชัย เปล่งพานิช ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม สนธยา ชิตมณี ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม ผู้ชนะรางวัล จะเน้นด้วย ตัวหน.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16

พิธีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2549 จัดโดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ จัดขึ้นเมื่อคืนวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 ณ สวนรัก อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา โดยมี นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ เป็นประธาน ภาพยนตร์ที่เข้าประกวดมีทั้งหมด 41 เรื่อง จากภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2549 ภาพยนตร์เรื่อง 13 เกมสยอง เข้าชิงมากที่สุด 13 รางวัล จากทั้งหมด 16 รางวัล โดยไม่มีภาพยนตร์จาก ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น เข้าประกวด เนื่องจากความขัดแย้งในการประกวดประจำปี 2548 (คือเรื่อง เปนชู้กับผี และ Invisible Waves คำพิพากษาของมหาสมุทร) กฤษดา สุโกศล แคลปป์ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รุ้งลาวัณย์ โทนะหงษา ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม นิรุตติ์ ศิริจรรยา ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม ผู้ชนะรางวัล จะเน้นด้วย ตัวหนา.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 ประจำปี พ.ศ. 2550 จัดโดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ จัดขึ้นในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ณ โรงละครสยามนิรมิต กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีภาพยนตร์ส่งเข้าประกวด 43 เรื่อง โดย 2 เรื่องที่ถอนตัวไปร่วมประกวดคือ "ตำนานสมเด็จพระเนรศวร ภาค 1 และ 2" ของ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (จากซ้าย) '''สนธยา ชิตมณี''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงสมทบชายยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''ไชยา'' '''เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''รักแห่งสยาม'' '''มาช่า วัฒนพานิช''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''แฝด'' และ '''อัครา อมาตยกุล''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''ไชยา'' ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล ผู้ชนะรางวัลผู้กำกับยอดเยี่ยม อัครา อมาตยกุล ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยมมาช่า วัฒนพานิช ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมสนธยา ชิตมณี ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม ผู้ชนะรางวัล จะเน้นด้วย ตัวหน.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 18

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 18 ประจำปี พ.ศ. 2551 จัดโดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ จัดขึ้นในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร '''อนันดา เอเวอริ่งแฮม''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''แฮปปี้เบิร์ธเดย์'' และ '''รัชวิน วงศ์วิริยะ''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''รัก/สาม/เศร้า'' อนันดา เอเวอริ่งแฮม ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รัชวิน วงศ์วิริยะ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม สรพงศ์ ชาตรี ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม โฟกัส จีระกุล ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 2

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 2 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 20

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 20 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 21

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 21 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 21 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 22

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 22 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 22 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 23

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 23 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 25

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 25 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 25 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 26

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 26 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 26 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 3

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 3 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 4

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 4 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 5

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 5 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 6

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 6 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 7

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 7 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 8

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 8 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 9

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 9 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง (Bangkok Critics Assembly) เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคลในวงการผลิตภาพยนตร์ของไทย ที่มีผลงานดีเด่นที่สุดในสาขาต่างๆ ในแต่ละปี โดยได้จัดให้มีพิธีมอบรางวัลนี้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2534 โดยชมรมวิจารณ์บันเทิง ซึ่งประกอบด้วยนักวิจารณ์ภาพยนตร์จากนิตยสาร หนังสือพิมพ์ วิทยุ และโทรทัศน์ มีประธานชมรมคือ นายนคร วีระประวัติ การประกาศผลรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง มีขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 รางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง ออกแบบเป็นรูปปิรามิดบนฐานกลมและสี่เหลี่ยม มีความหมายว่าเป็น ปลายปากก.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 1

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2533 ผู้ที่ได้รับรางวัลได้แก.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 10

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 10 ประจำปี พ.ศ. 2544.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 11

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 11 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 12

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 12 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 13

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 13 ประจำปี 2547 ใน 11 สาขารางวัล จัดโดยชมรมวิจารณ์บันเทิง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 14

ีมอบรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 14 ประจำปี พ.ศ. 2548 จัดโดยชมรมวิจารณ์บันเทิง ประกาศผลวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ณ โรงแรม เดอะแกรนด์ ถนนรัชดาภิเษก ผู้ชนะรางวัล จะเน้นด้วย ตัวหน.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 15

ีมอบรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 15 ประจำปี พ.ศ. 2549 จัดโดยชมรมวิจารณ์บันเทิง ประกาศผลวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 ผู้ชนะรางวัล จะเน้นด้วย ตัวหน.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 16

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2550 จัดโดยชมรมวิจารณ์บันเทิง ประกาศผลเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2551 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 17

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 17 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 18

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 18 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 19

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 19 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 2

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2534 ผู้ที่ได้รับรางวัลได้แก.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 20

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 20 ประจำปี 2554 จัดโดยชมรมวิจารณ์บันเทิง ประกาศผู้ได้รับการเสนอชื่อเมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 21

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 21 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 21 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 22

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 22 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 22 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 23

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 24

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 24 เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคลากรในวงการภาพยนตร์ไทย จัดโดยชมรมวิจารณ์บันเทิง โดยพิจารณาจากภาพยนตร์ไทยที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 24 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 25

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 25 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 3

ลสุรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 3 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 4

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2536 ผู้ที่ได้รับรางวัลได้แก.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 5

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2537 ผู้ที่ได้รับรางวัลได้แก.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 6

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2540 ผู้ที่ได้รับรางวัลได้แก.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 7

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 7 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 8

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2542 ผู้ที่ได้รับรางวัลได้แก.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 9

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 9 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2546

ป็นเอก รัตนเรือง ผู้ชนะรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม สินิทธา บุญยศักดิ์ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 10 ประจำปี พ.ศ. 2555

อภิชัย ตระกูลเผด็จไกร ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม เพ็ญพักตร์ ศิริกุล ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ศิรพันธ์ วัฒนจินดา ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 10 ประจำปี พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 11 ประจำปี พ.ศ. 2556

นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม ณเดชน์ คูกิมิยะ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม คีรติ มหาพฤกษ์พงศ์ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 11 ประจำปี พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 12 ประจำปี พ.ศ. 2557

นสุดา ปานโต ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม อภิญญา สกุลเจริญสุข ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 12 ประจำปี พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 13 ประจำปี พ.ศ. 2558

นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์ ผู้ชนะรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ซันนี่ ซี สุวรรณเมธานนท์ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม ดาวิกา โฮร์เน่ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ดนัย จารุจินดา ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 13 ประจำปี พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 14 ประจำปี พ.ศ. 2559

อกชัย ศรีวิชัย ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นิษฐา จิรยั่งยืน ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ณัฐสิทธิ์ โกฏิมนัสวนิชย์ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม อาภา ภาวิไล ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 14 ประจำปี พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2547

อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล ผู้ชนะรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม แอน ทองประสม ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2548

ฉัตรชัย เปล่งพานิช ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม วรนุช วงษ์สวรรค์ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม มณีรัตน์ คำอ้วน ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2549

ป็นเอก รัตนเรือง ผู้ชนะรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม กฤษดา สุโกศล แคลปป์ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2550

ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล ผู้ชนะรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม มาริโอ้ เมาเร่อ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม สินจัย เปล่งพานิช ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม ภัทรวรินทร์ ทิมกุล ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม รางวัล Starpics Thai Films Awards # 5 (๒๕๕๐).

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2551

อนันดา เอเวอริ่งแฮม ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม สรพงศ์ ชาตรี ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม โฟกัส จีระกุล ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม 1.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2552

ก้องเกียรติ โขมศิริ ผู้ชนะรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ปรเมศร์ น้อยอ่ำ(ขวา) ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม และ ศิริน หอวัง(ซ้าย) ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม เดือนเต็ม สาลิตุล ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2553

อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล ผู้ชนะรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม สอาด เปี่ยมพงษ์สานต์ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม อินทิรา เจริญปุระ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2554

รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 9 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500

การประกวดภาพยนตร์ ชิงรางวัลตุ๊กตาทอง และสำเภาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 10

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 11

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 12

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 13

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 14

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 15

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 16

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 17

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 18

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 25

หมวดหมู่:กล่องท้ายเรื่อง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 25 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 26

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 26 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 27

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 27 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 28

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 28 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2503

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 4 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2505

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2507

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 7 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2508

ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานรางวัลให้แก่ผู้ได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 9

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

รุจน์ รณภพ

รุจน์ รณภพ (พ.ศ. 2474บางแหล่งก็ว่า พ.ศ. 2474 บางแหล่งก็ว่า พ.ศ. 2475 ส่วนวันที่นั้นบางแหล่งระบุว่า 17 กรกฎาคม บางแหล่งระบุว่า 13 กรกฎาคม — 27 ธันวาคม พ.ศ. 2552) มีชื่อจริงว่า สุรินทร์ เจริญปุระ อดีตนักแสดง นักเขียนบท ผู้กำกับภาพยนตร์ และผู้กำกับละครโทรทัศน์ เข้าเรียนที่โรงเรียนวิศวกรรมรถไฟ มักกะสัน เลขประจำตัว 1286 เมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรุจน์ รณภพ · ดูเพิ่มเติม »

รณ ฤทธิชัย

รณ ฤทธิชัย มีชื่อจริงว่า รณฤทธิชัย คานเขต (12 กันยายน พ.ศ. 2492 -) นักแสดงชาวไทยที่เคยได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรณ ฤทธิชัย · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูร้อนนั้น ฉันตาย

Last Summer ฤดูร้อนนั้น ฉันตาย เป็นภาพยนตร์ไทย แนวสยองขวัญ เข้าฉายในโรงภาพยนตร์ในวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและฤดูร้อนนั้น ฉันตาย · ดูเพิ่มเติม »

ลุงบุญมีระลึกชาติ

ลุงบุญมีระลึกชาติ (Uncle Boonmee Who Can Recall His Past Lives, Oncle Boonmee, celui qui se souvient de ses vies antérieures) เป็นภาพยนตร์ไทยนอกกระแส ออกฉายครั้งแรกในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและลุงบุญมีระลึกชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด

ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด เป็น ภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2536 กำกับภาพยนตร์โดย อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์ อำนวยการสร้างโดยบริษัท ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น ภาพยนตร์นำเสนอด้วยแนวทางตลก เนื้อหาพูดถึงความกล้าในการทำสิ่งที่ถูกต้อง การใช้เวลาในชีวิตอย่างมีค่า และสะท้อนภาพสังคมที่ผู้คนมักจำยอมกับความเลวร้ายที่คุ้นเคย ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับรางวัล ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม, ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม, บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม และ ลำดับภาพยอดเยี่ยม จาก ชมรมวิจารณ์บันเทิง ประจำปี 2536 นำแสดงโดย สัญญา คุณากร, อังคณา ทิมดี, ชไมพร สิทธิวรนันท์, กลศ อัทธเสรี, อรุณ ภาวิไล.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและลูกบ้าเที่ยวล่าสุด · ดูเพิ่มเติม »

ลีโอ พุฒ

ลีโอ พุฒ มีชื่อจริงตามบัตรประจำตัวประชาชน ว่า พุฒิพงศ์ ศรีวัฒน์ (1 เมษายน พ.ศ. 2519 -) เป็นนักร้อง นักแสดง และพิธีกรชาวไทย เข้าสู่วงการบันเทิง โดยการแสดงมิวสิควีดีโอเพลง "SORRY" ของ พาเมล่า เบาว์เด้น และเคยออกผลงานอัลบั้มในสังกัด แกรมมี่ และอีกทั้งยังเป็นอดีตสมาชิกวง Room 99 ชาวไทย จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปลายจากโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี และในปี 2542 ลีโอ พุฒ เคยเข้ารับราชการทหาร 1 ปี สังกัดกองพันทหารราบ มณฑลทหารบกที่ ๑๑ ชีวิตครอบครัว เคยสมรสกับ เบส - จันทร์พิมพ์(อดีตสมาชิกวง เอลิน เบส) เมื่อปี พ.ศ. 2552 มีบุตรชายเพียงคนเดียว ชื่อ คีตะ ในวันที่ 8 พฤษภาคม 2558 หลังจากที่มีข่าวว่า ลีโอ พุฒ แยกทางกับภรรยา ซึ่งก็ได้ออกมาชี้แจงประเด็นดังกล่าวว่าที่ไม่ค่อยถ่ายภาพด้วยกันกับภรรยา เพราะแยกย้ายกันอยู่คนละบ้าน เพราะโรงเรียนของน้องคีตะอยู่ใกล้กับบ้านของภรรยาของลีโอ พุฒมากกว่าจึงทำให้ต้องแยกทางกันอยู.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและลีโอ พุฒ · ดูเพิ่มเติม »

ล้อต๊อก

ใบปิดภาพยนตร์ ตลกร้องไห้ (2522) ใบปิดภาพยนตร์ แดร๊กคูล่าต๊อก (2522) ใบปิดภาพยนตร์ หลวงตา (2523) ล้อต๊อก มีชื่อจริงว่า สวง ทรัพย์สำรวย (สะ-หฺวง) (1 เมษายน พ.ศ. 2457 — 30 เมษายน พ.ศ. 2545) เป็นนักแสดงตลกและศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง พื้นเพเป็นคนบ้านสวน คลองเสาหิน ตำบลท่าพระ อำเภอบางกอกใหญ่ จังหวัดธนบุรี เป็นบุตรของ นายนุ่ม-นางขม มีอาชีพทำสวนผลไม้ หมากพลู มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน ล้อต๊อกเป็นคนที่ 3 ชื่อ ล้อต๊อก มาจากการแสดงภาพยนตร์ ใกล้เกลือกินเกลือ รับบทเป็น เสี่ยล้อต๊อก คนจนที่ร่ำรวยขึ้นมาแล้วลืมกำพืดตัวเอง เมื่อ พ.ศ. 2495 ต่อด้วยงานกำกับของ ดอกดิน กัญญามาลย์ แนวตลกชุดสามเกลอ (ล้อต๊อก - สมพงษ์ พงษ์มิตร - ดอกดิน) สามเกลอถ่ายหนัง ปีเดียวกัน และ สามเกลอเจอจานผี ปีถัดมา สมรสครั้งแรกกับ สมจิตต์ ทรัพย์สำรวย นางเอกละครคณะจันทรโอภาส และเป็นดาราภาพยนตร์ชื่อดัง เมื่อสมจิตต์เสียชีวิตจึงสมรสใหม่อีกหลายครั้ง หลังสุดแต่งงานกับ ชุลีพร ระมาด มีบุตร 1 คนชื่อ "อุ้มบุญ" หรือมงคลชัย ทรัพย์สำรวย ใช้ชีวิตอยู่บ้านที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ก่อนจะเสียชีวิต.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและล้อต๊อก · ดูเพิ่มเติม »

วรเชษฐ์ นิ่มสุวรรณ

วรเชษฐ์ นิ่มสุวรรณ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2509 -) นักแสดง เกิดที่จังหวัดกรุงเทพฯ เป็นลูกชายคนโต จบการศึกษาจากโรงเรียนอำนวยศิลป์, วิทยาลัยเซนต์จอห์น และคณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้ถูกชักนำเข้าสู่วงการบันเทิงในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและวรเชษฐ์ นิ่มสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

วัชระ ปานเอี่ยม

วัชระ ปานเอี่ยม เกิดเมื่อวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2503 เริ่มต้นเข้ารับการศึกษาในในโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และได้ศึกษาต่อชั้นอุดมศึกษาในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2521 หลังจากจบการศึกษาระดับปริญญาตรีแล้วได้เข้าทำงานเป็นสถาปนิกของสำนักงานสถาปนิก สันธยาและคณะ ต่อจากนั้นก็ได้พลิกผันอาชีพของตนเองมาเป็น คอปปีไรเตอร์, Creative & Director, producer (TV Program) และงานอื่นๆ ที่อาศัยความคิดสร้างสรรค์ในเรื่องต่างๆเรื่อยมาจนถึงปัจจุบันกำลังสนุกกับการทำหน้าที่เป็นนักแสดง, ผู้กำกับ, ที่ปรึกษาบทละคร-ภาพยนตร์อิสระที่เราคุ้นหน้าคุ้นตากันดี และเป็นหนึ่งในซูโม่สำอางในรายการเพชฌฆาตความเครียด โดยใช้ชื่อว่า ซูโม่เจี๊ยบ และในปี พ.ศ. 2533 ถึงปี พ.ศ. 2535 เขาได้เป็นพิธีกรรายการ "เวทีทอง" ของบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) นับเป็นรายการแรกในการเป็นพิธีกรของเขา จนกระทั่งถึงทุกวันนี้เจี๊ยบ ได้สร้างสรรค์ผลงานเอาไว้มากมายอย่างเช่น การเป็นนักร้องนำของวงดนตรีเฉลียง, เจ้าของอัลบัมเพลงยามรัก 1-2 ที่เป็นการนำเอาเพลงของ ม.ร.ว.ถนัดศรี สวัสดิวัฒน์ มาขับร้องใหม่ รวมถึงรวมเล่มผลงานเขียนหนังสือต่างๆ และยังเป็นผู้กำกับภาพยนตร์เรื่อง วอนทั้งโลกโขกหัวเธอ (พ.ศ. 2539) ซึ่งผลงานที่เขาได้ฝากไว้นั้นดีถูกใจผู้ชมและคณะกรรมการจากหลายหน่วยงานจนกระทั่งได้รับเลือกให้เป็นนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ปี พ.ศ. 2530 นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม รางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง ปี พ.ศ. 2532 ผู้ผลิตมิวสิกวีดีโอดีเด่นรางวัลโทรทัศน์ทองคำปี พ.ศ. 2532 เป็นต้น ในปีพ.ศ. 2553 เขาได้มีงานคอนเสิร์ตเดี่ยวครั้งแรก ในชื่อ "คอนเสิร์ตสวิงสวาย แบบวัชระ ปานเอี่ยม" (Swing Survive Concert) ที่หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย โดยมีแขกรับเชิญ เช่น สมาชิกวงเฉลียง เกียรติ กิจเจริญ สันติสุข พรหมศิริ เป็นต้น ชีวิตส่วนตัวได้สมรสกับ ลัดดาวัลย์ ปานเอี่ยม มีบุตรและธิดา 2 คน ได้แก่ นายเพลงเอก และ นางสาวเพลงขวัญ ปานเอี่ยม นอกจากผลงานต่าง ๆ แล้ว ปัจจุบัน เขายังทำหน้าที่จัดรายการวิทยุอยู่ที่คลื่น 98.75 Yes Radio (เวลา 5:00-8:00) อีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและวัชระ ปานเอี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

วันเดอร์ฟูลทาวน์

วันเดอร์ฟูลทาวน์ หรือ เมืองเหงาซ่อนรัก เป็นภาพยนตร์ความยาว 92 นาที กำกับโดย อาทิตย์ อัสสรัตน์ ออกฉายครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและวันเดอร์ฟูลทาวน์ · ดูเพิ่มเติม »

วิชญ์ พิมพ์กาญจนพงศ์

วิชญ์ พิมพ์กาญจนพงศ์ (เกิด 1 เมษายน พ.ศ. 2519) เป็นนักแสดงชายรางวัลสุพรรณหงส์ และนักออกแบบกราฟิก นิวมีเดีย และมีเดียอาร์ต ของดั๊กยูนิต วิชญ์จบมัธยมจากโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาตรีเข้าเรียนที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่ไม่จบการศึกษา และปริญญาโทศิลปศาสตร์ (นิเทศศิลป์) จากมหาวิทยาลัยเคนต์ สหราชอาณาจักร เคยเป็นพิธีกรรายการยุทธการขยับเหงือก ในชื่อ "เสนาวิชญ์" ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการบริษัทดั๊กยูนิต.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและวิชญ์ พิมพ์กาญจนพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลลี่ แมคอินทอช

วิลลี่ แมคอินทอช หรือ เริงฤทธิ์ แมคอินทอช เกิดเมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2513 ที่กรุงเทพฯ เป็นลูกครึ่ง ไทย-สก็อต และชาติจีน มีอาชีพนักแสดง นายแบบ, พิธีกร ปัจจุบันเป็นประธานบริษัท ลักษ์ 666 มีคุณพ่อชาวสก็อต ชื่อคุณวิลเลียม แมคอินทอชซึ่งเมื่อครั้งยังหนุ่มเป็นนักรบสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ประจำฝ่ายบิน เมื่อหมดสงคราม จึงไปสมัครเข้าสายการบินเอ.เอ.เอสของเดนมาร์ค การบินไทยเช่าเครื่องบินจากบริษัทนี้ และยังเป็นหุ้นส่วนกันด้วย ต่อมามิสเตอร์วิลเลี่ยม แมคอินทอชจึงถูกส่งตัวมาทำงานกับการบินไทย และได้เจอกับคุณแม่ของเขาคุณยุรภรณ์ มีน้องสาวเป็นนักแสดง พิธีกร คือ คัทลียา แมคอินทอช สมรสกับนางแบบชื่อดัง เยลหลี ริคอร์เดล มีผลงานชิ้นแรกคือ ธัญญา แม่มดยอดยุ่ง (คู่กับ หมิว ลลิตา) วิลลี่จบการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมิชชิแกน สหรัฐอเมริกา ด้านชีวิตส่วนตัว สมรสกับ เยลหลี ริคอร์เดล อดีตนางแบบและพิธีกรชื่อดัง มีบุตรคนแรกชื่อ ธาดาฤทธิ์ แมคอินทอช (วิน) เป็นบุตรชาย คลอดที่โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2554 เวลา 06.40 น.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและวิลลี่ แมคอินทอช · ดูเพิ่มเติม »

วิถีคนกล้า

วิถีคนกล้า เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2534 กำกับโดย ยุทธนา มุกดาสนิท ซึ่งสร้างจากบทประพันธ์ชื่อเรื่องเดียวกันของ มาลา คำจันทร์(นักกวีซีไรต์) นำแสดงโดย นรินทร์ ทองคำ, ณหทัย พิจิตรา, ธิศวรรณ สุวรรณโพธิ์, จรัล มโนเพ็ชร และ พุฒิชัย (อครา) อมาตยกุล โดยมีประโยคจั่วหัวของเรื่องคือ "ทำให้คนอื่นกลัว ทำให้ไม่กลัวคนอื่น" ภาพยนตร์ได้รับรางวัลมากมายจาก 3 สถาบัน แต่กลับไม่ประสบผลสำเร็จในแง่รายได้ ถึงแม้จะเป็นภาพยนตร์ที่ลงทุนสูงที่สุดในรอบปี.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและวิถีคนกล้า · ดูเพิ่มเติม »

วิทิต แลต

วิทิต แลต (เอ) นักแสดงและอดีตนายแบบหนุ่ม เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและวิทิต แลต · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559).

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ศักราช ฤกษ์ธำรงค์

อากาศเอก สำราญ จำรัส เป็นที่รู้จักในชื่อ ศักราช ฤกษ์ธำรงค์ (ชื่อเล่น: เจี๊ยบ; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506) เกิดที่จังหวัดแพร่ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันจากการเป็นนายแบบถ่ายโฆษณาในสินค้าหลายตัว เช่น เบียร์สิงห์, กางเกงยีนส์ฮาร่า, เบียร์ช้าง ก่อนจะเข้าสู่วงการการแสดง โดยมีผลงานเรื่องแรกคือภาพยนตร์เรื่อง พี่เลี้ยง ของไฟว์สตาร์ ที่มี สันติสุข พรหมศิริ และ จินตหรา สุขพัฒน์ แสดงนำ ก่อนจะมีผลงานตามมาอีกหลายเรื่องทั้งละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ เช่น ลอดลายมังกร ในปี พ.ศ. 2535, วันนี้ที่รอคอย ในปี พ.ศ. 2536 สารวัตรใหญ่ ในปี พ.ศ. 2537, เลือดเข้าตา ในปี พ.ศ. 2538, หัวใจศิลา ในปี พ.ศ. 2550, อยากหยุดตะวันไว้ที่ปลายฟ้า ในปี พ.ศ. 2553, พระจันทร์ลายพยัคฆ์ ในปี พ.ศ. 2553, รักไม่มีวันตาย ในปี พ.ศ. 2554 และเคยมีบทบาทเป็นนักแสดงนำครั้งหนึ่งในภาพยนตร์เรื่อง เชอรี่ แอน ในปี พ.ศ. 2544 โดยแสดงคู่กับ แอนนี่ บรู๊ค และ ชฎาพร รัตนากร โดยถือเป็นนักแสดงประจำในภาพยนตร์จากการกำกับของ หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล (หม่อมน้อย) ชีวิตส่วนตัว จบการศึกษาจากโรงเรียนจ่าอากาศ และเป็นนักกีฬาบาสเก็ตบอลของทีมทหารอากาศ โดยเล่นในประเภทถ้ว.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและศักราช ฤกษ์ธำรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง

ักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง หรือรู้จักในชื่อเล่นว่า แท่ง เป็นนักแสดง นักร้อง พิธีกร ชาวไทย มีชื่อเสียงจาก ภาพยนตร์ เรื่อง กลิ้งไว้ก่อนพ่อสอนไว้ และ ละครซิตคอม 3 หนุ่ม 3 มุม และละครหลังข่าวอีกหลายเรื่อง รวมถึงซิตคอม อย่าง บางรักซอย 9 ที่เป็นที่มาของละครเวที ก่อนจะถึง บางรักซอย 9 on stage และมีวงดนตรีของตัวเองที่ตั้งขึ้นมาจากกลุ่มเพื่อนทีม แมงปอล้อคลื่น ที่ใช้ชื่อว่า พลพรรครักเอย และนอกจากนี้แท่งยังเคยเล่นฟุตบอลอาชีพให้กับทีม สโมสรฟุตบอลสุราษฎร์ธานี อีกด้วย และในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง · ดูเพิ่มเติม »

ศัมภลา

Crossman, Sylvie and Jean-Pierre Barou, eds.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและศัมภลา · ดูเพิ่มเติม »

ศิรชัช เจียรถาวร

รชัช เจียรถาวร (ไมเคิล) เกิดเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 เป็นนักแสดงชาวไทย ประมาณเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและศิรชัช เจียรถาวร · ดูเพิ่มเติม »

ศุภกรณ์ กิจสุวรรณ

รับบท หลวงศรียศ ใน สุริโยไท (2544) ศุภกร กิจสุวรรณ เกิด 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ที่อุทัยธานี ชื่อเล่น ต๊อก เป็นนักแสดงภาพยนตร์และละครเวที เคยรับบทนำจากบท แผน จากภาพยนตร์ มนต์รักทรานซิสเตอร์ (2544) ของเป็นเอก รัตนเรือง และ ขุนกระบี่ ผีระบาด (2547) ก่อนหน้านั้น เคยมีบทประกอบเด่นเป็น ปุ๊ ระเบิดขวด จาก 2499 อันธพาลครองเมือง (2540) ของนนทรีย์ นิมิบุตร และ เสือมเหศวร จาก ฟ้าทะลายโจร ของ วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง ศุภกรณ์ กิจสุวรรณ จบการศึกษาจากระดับชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียนอำนวยศิลป์ พระนคร และระดับชั้นอุดมศึกษาจาก มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เริ่มงานจากการเป็นนักเต้นให้กับนักร้อง เจตริน วรรธนะสิน ถ่ายโฆษณา และมิวสิกวิดีโอ เคยร้องเพลงประกอบภาพยนตร์หลายเรื่อง เช่น มนต์รักทรานซิสเตอร์, โกลคลับ ปัจจุบันก็ทำงานเพลง แต่ยังไม่มีผลงานวางจำหน่าย สมรสกับ ทัศรินทร์ พันธุ์แพ เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและศุภกรณ์ กิจสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ส.อ.ว.ห้อง 2 รุ่น 44

.อ.ว.ห้อง 2 รุ่น 44 เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายครั้งแรกในปี พ.ศ. 2533 กำกับโดย บัณฑิต ฤทธิ์ถกล นำแสดงโดย จินตหรา สุขพัฒน์, ศศิมาภรณ์ ไชยโกมล, สันติสุข พรหมศิริ, ทิพย์ ธัมมศิริ, สมรัชนี เกษร และ ปวีณา ชารีฟสกุล.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและส.อ.ว.ห้อง 2 รุ่น 44 · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ เมทะนี

มบัติ เมทะนี (เกิด: 26 มิถุนายน พ.ศ. 2480; ชื่อเล่น แอ๊ด) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์และครโทรทัศน์) ประจำปี 2559 นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย ผู้ชนะเลิศรางวัลตุ๊กตาทองและรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง นอกจากนี้กินเนสบุ๊คยังบันทึกไว้ว่าเป็นนักแสดงที่รับบทเป็นพระเอกมากที่สุดในโลก โดยแสดงเป็นพระเอกถึง 617 เรื่อง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสมบัติ เมทะนี · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย ศักดิกุล

มชาย ศักดิกุล (ชื่อเล่น: เล็ก เกิด พ.ศ. 2496) ศิลปิน นักแสดง และนักพากย์ เป็นศิลปินรุ่นก่อตั้งของ "วงเฉลียง" ร่วมกับ นิติพงษ์ ห่อนาค วัชระ ปานเอี่ยม และ ประภาส ชลศรานนท์ สมชาย จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และเป็นนักดนตรีอาชีพ เคยเล่นดนตรีร่วมกับ ศรายุทธ สุปัญโญ อัญชลี จงคดีกิจ เคยออกเทปกับวง "เดอะบ๊องค์" วงดนตรีที่นำเอาทำนองเพลงฝรั่งมาใส่เนื้อไทยแบบกวนๆ เมื่อ พ.ศ. 2526 ก่อนจะมาร่วมวงเฉลียง โดยการแนะนำของ เรวัต พุทธินันทน์ สมชาย แสดงภาพยนตร์เรื่องแรก เรื่อง มนต์รักทรานซิสเตอร์ ต่อมามีผลงานแสดงภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มากมาย โดยมักจะได้รับบทตัวประกอบ ที่มีบุคลิกตลกหน้าตาย ได้ชื่อว่าเป็นนักขโมยซีนอันดับหนึ่ง เช่นเดียวกับ อภิชาติ ชูสกุล และมีผลงานแสดงมากที่สุดคนหนึ่งในระยะหลัง นอกเหนือจากผลงานแสดง สมชาย ศักดิกุล ยังเป็นผู้บรรยายการแข่งขันกีฬาเทนนิส ทางเคเบิลทีวี ยูบีซี และรับหน้าที่เป็นพิธีกรในรายการ เช้านี้...ที่หมอชิต อีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสมชาย ศักดิกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย อาสนจินดา

มชาย อาสนจินดา หรือ.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสมชาย อาสนจินดา · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย เข็มกลัด

มชาย เข็มกลัด เกิดเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2517 ที่กรุงเทพมหานคร นักร้อง นักแสดงชาวไทยที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสมชาย เข็มกลัด · ดูเพิ่มเติม »

สมพงษ์ คุนาประถม

มพงษ์ คุนาประถม เกิดเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522 เป็นคน ตำบลคำสร้างเที่ยง อำเภอสามชัย จังหวัดกาฬสินธุ์ การศึกษา ประถมศึกษาที่ร.ร.ท่านาจานวิทยา กิ่งอำเภอสามชัย จังหวัดกาฬสินธุ์ ม.4-6 และปว.จาก วิทยาลัยนาฏศิลป์กาฬสินธุ์ ปริญญาตรี คณะนาฏศิลป์และดุริยางค์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล คลอง 6 จังหวัดปทุมธานี โด่งดังตอนเข้ามาชนะการประกวดในช่วง ดันดารา ของรายการตีสิบ จนผู้ชมเรียกร้องให้ทางรายการนำวงโปงลางสะออนกลับมาแสดงอีกครั้งถึง 2 รอบ ก่อนจะเซ็นสัญญากับค่ายอาร์สยาม ในเครือบริษัทอาร์เอ.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสมพงษ์ คุนาประถม · ดูเพิ่มเติม »

สมภพ เบญจาธิกุล

มภพ เบญจาทิกุล นักแสดงชายอาวุโส เกิดเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2488 จบการศึกษาระดับปว.จากวิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ สาขาช่างไฟฟ้ากำลัง จบระดับปว.สาขาช่างไฟฟ้าจากสถาบันเทคโนโลยีช่างกลปทุมวัน มีชื่อเสียงมาจากการรับบทเกย์ในภาพยนตร์เรื่อง นางแบบมหาภัย จากการกำกับของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ในปี พ.ศ. 2518 ซึ่งนับว่าเป็นบทชายรักชายครั้งแรกในวงการภาพยนตร์ไทยเลยก็ได้ว่า และทำให้คนไทยได้รู้จักกับคำว่า "เกย์" เป็นครั้งแรก จากนั้นก็ได้แสดงในหลายต่อหลายเรื่องตามมา โดยมากจะเป็นบทร้าย แต่บางครั้งก็รับบทเป็นพระเอก เช่น ชายกลาง ใน บ้านทรายทอง ละครโทรทัศน์ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2520 คู่กับ ศันสนีย์ สมานวรวงศ์ ปัจจุบัน สมภพ เบญจาทิกุล มีบทบาทการแสดงเป็นตัวประกอบบ้างและบทของพ่อบ้าง ผลงานในระยะหลังได้รับการการกล่าวขานว่าแสดงได้สมบทบาท จนมีชื่อเข้าชิงรางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยมหลายครั้ง จากหลายเรื่อง เช่น คืนบาปพรหมพิราม ในปี พ.ศ. 2546, โหมโรง ในปี พ.ศ. 2547 และบทของ พระเจ้าบุเรงนอง จาก ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในปี พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสมภพ เบญจาธิกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมจินต์ ธรรมทัต

ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานรางวัลดาราทองประเภทโทรทัศน์ ให้นาย สมจินต์ ธรรมทัต ณ.เวทีลีลาศสวนอัมพร วันศุกร์ที่ 24 มีนาคม พุทธศักราช 2509 สมจินต์ ธรรมทัต เกิดวันเสาร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 ที่จังหวัดธนบุรี เป็นนักแสดงชาวไทย นักพากย์ ผู้กำกับการแสดง จบการศึกษาจากโรงเรียนอำนวยศิลปธนบุรี และพานิชยการพระนคร เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงจากการทำงานที่ บริษัทไทยโทรทัศน์ จำกัด หรือช่อง 4 บางขุนพรหม ยุคบุกเบิก มีหน้าที่ต่างๆ ตามได้รับมอบหมาย กับงานอัดเสียงผู้สมัครเข้าเป็นผู้ประกาศของบริษัท ต่อมาได้บรรจุเป็นพนักงานประจำฝ่ายจัดรายการ แผนกแผนผัง (แผนผังการออกอากาศ) ซึ่งมี จำนง รังสิกุล ผู้อำนวยการสถานี และ อาจินต์ ปัญจพรรค์ เป็นหัวหน้าฝ่ายและรองหัวหน้าตามลำดับ และเป็นเจ้าของผลงาน 3 รางวัล ได้แก่ ดาราทองพระราชทาน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสมจินต์ ธรรมทัต · ดูเพิ่มเติม »

สมควร กระจ่างศาสตร์

มควร กระจ่างศาสตร์ (13 ธันวาคม พ.ศ. 2463 — 13 มกราคม พ.ศ. 2551) เกิดที่กรุงเทพมหานคร นักแสดงอาวุโส ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ละครเวที-นักแสดง ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสมควร กระจ่างศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเกียรติ

มเกียรติ (SOMKIAT) เป็นวงดนตรีแนวป็อปร็อก สัญชาติไทย สังกัดค่ายสมอลล์รูม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสมเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ. 2402 - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ประสูติเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2402 เป็นพระราชโอรสลำดับสุดท้ายในพระบรมราชชนนี เมื่อพระบรมราชชนนีสวรรคตสมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ พระชันษาเพียง 2 ปี สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ชาววังมักเอ่ยพระนามอย่างลำลองว่า "สมเด็จพระราชปิตุลาฯ" ส่วนชาวบ้านมักออกพระนามว่า "สมเด็จวังบูรพา" เพราะทรงมีวังชื่อว่า "วังบูรพาภิรมย์" ซึ่งก็คือตำแหน่งที่เป็นย่านวังบูรพาในปัจจุบัน และทรงเป็น "ตา" ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ตามพระประวัตินั้น ทรงเป็นจอมพลในรัชกาลที่ 7 ที่ทหารรักมาก เล่ากันมาว่าพวกทหารมักจะแบกพระองค์ท่านขึ้นบนบ่าแห่แหนในวาระที่มีการฉลองต่างๆ เช่น ฉลองคล้ายวันประสูติ เป็นต้น ทรงเป็นผู้ให้กำเนิดกิจการไปรษณีย์ไทย ครั้งถึงร.7 ในพิธีบรมราชาภิเศก ทรงโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระปิตุลา(อา)แท้ๆที่เหลืออยู่พระองค์เดียวนี้เป็นสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ศักดินา 100,000 เป็นพิเศษ เทียบเท่า ศักดินา ตำแหน่ง พระบรมโอรสาธิราช, พระบรมราชินี, พระบรมราชเทวี ท่านจึงทรงเป็นผู้มีบุญพิเศษ ที่เป็นเจ้าฟ้าชั้นโทจากแรกประสูติ แล้วได้เฉลิมพระเกิยรติยศขึ้นเป็นเจ้าฟ้าชั้นพิเศษที่มีศักดินาสูงเช่นนี้ เมื่อสิ้นพระชนม์ จึงใช้คำว่า "ทิวงคต" ท่านได้เสด็จทิวงคต เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471 ทรงเป็นต้นราชสกุลภาณุพัน.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช · ดูเพิ่มเติม »

สรพงศ์ ชาตรี

รพงษ์ ชาตรี หรือชื่อจริง กรีพงษ์ เทียมเศวต หรือ พิทยา เทียมเศวต นักแสดงชายชั้นแนวหน้าของไทย ผู้ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสรพงศ์ ชาตรี · ดูเพิ่มเติม »

สราวุธ มาตรทอง

ราวุธ มาตรทอง (ชื่อเล่น: อ้น เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2519) เป็นนักแสดงชาวไทย จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีความชอบการท่องเที่ยวแบบ Naturist เป็นพิเศษ เข้าสู่วงการบันเทิงเมื่อปี พ.ศ. 2538 จากการ ชักชวนของ กมล ภู่วัฒนวนิชย์ แห่งบริษัทบรอดคาซท์ ไทยเทเลวิชั่น มีผลงานแสดงชิ้นแรกจาก ใส่ไข่ อะไรเอ่ย, 6/16 ร้ายบริสุทธิ์ และมีผลงานสร้างชื่อคือละครเรื่อง ฉลุย และ น้ำใสใจจริง นอกจากนี้ยังได้ทำอัลบั้มประกอบละคร ฉลุย คู่กับ ทีน สราวุฒิ พุ่มทอง มีผลงานภาพยนตร์เรื่อง ความรักครั้งสุดท้าย (2546) เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 12 สาขานักแสดงสมทบยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่องนี้ และยังมีละครซิตคอมเรื่อง เทวดาสาธุ นอกจากนี้ยังเคยเป็นดีเจให้กับ สถานีวิทยุ เรดิโอโหวต แซตเทิลไลท์ 93.5 MHz และยังเป็นพิธกร รายการเวเอฟเวอร์ ออกอากาศทางช่อง 3 ในวันเสาร์ เวลา 07.55-08.20 น. ในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสราวุธ มาตรทอง · ดูเพิ่มเติม »

สหัสชัย ชุมรุม

หัสชัย ชุมรุม (ชื่อเล่น: ต๊อบ) เป็นนักแสดงชายชาวไทย เริ่มเข้าวงการบันเทิงด้วยการเป็นพระเอกในหนังของหม่อมน้อย (มล.พันธุ์ เทวนพ เทวกุล) ในเรื่องช่างมันฉันไม่แคร์ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสหัสชัย ชุมรุม · ดูเพิ่มเติม »

สอาด เปี่ยมพงษ์สานต์

อาด เปี่ยมพงศ์สานต์ (เกิด 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475) ชื่อเล่น เล็ก เป็นนักแสดง นักพากย์ ผู้เขียนบทโทรทัศน์ และผู้กำกับการแสดงชาวไทย จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยนิฮง กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ในสาขาวิชาการภาพยนตร์ และวิชาโทรทัศน์จาก N.H.K. TV เมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสอาด เปี่ยมพงษ์สานต์ · ดูเพิ่มเติม »

สันติสุข พรหมศิริ

มื่อครั้งรับบท "จะเด็ด" ใน ''ผู้ชนะสิบทิศ'' ทางช่อง 3 สันติสุข พรหมศิริ (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2506) ชื่อเล่น หนุ่ม เป็นนักแสดง นักพากย์ และพิธีกรชาวไท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสันติสุข พรหมศิริ · ดูเพิ่มเติม »

สายล่อฟ้า (ภาพยนตร์)

ล่อฟ้า (Pattaya Maniac) เป็นภาพยนตร์ไทย ผลงานการกำกับโดย ยุทธเลิศ สิปปภาค ออกฉายในวันที่ 7 ตุลาคม ปี พ.ศ. 2547 ใน ประเทศไท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสายล่อฟ้า (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สุริโยไท

ริโยไท เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ เน้นถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตของตัวละครเอก คือ พระสุริโยไท พระมเหสีของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอ.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสุริโยไท · ดูเพิ่มเติม »

สุประวัติ ปัทมสูต

ประวัติ ปัทมสูต ชื่อเล่น อี๊ด (เกิด 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481) เป็นนักแสดงและผู้กำกับลูกครึ่งไทย-โปรตุเกสเกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ ขุนไมตรีสเน่หา และ นางทองใบ จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนพานิชยการเชตุพน ได้รับปริญญาคณะมนุษยศาสตร์มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง ด้านชีวิตส่วนตัวเขาสมรสกับ ศรีสุดา สุกิจจวนิช มีบุตรทั้งสิ้น 4 คน คนแรกชื่อ ก้ามปู ปัทมสูต คนที่สอง กุ้งนาง ปัทมสูต (เสียชีวิตแล้ว) และ ชัชเวทย์ สุกิจจวนิช และบุตรที่เกิดกับ นีรนุช เมฆใหญ่ น้องสาวของนันทวัน เมฆใหญ่ 1 คน คือ กษาปณ์ ปัทมสูต ละครจากสถานีโทรทัศน์ช่อง ๙ บางลำพู บริษัทไทยโทรทัศน์จำกัด คนที่สองจากซ้าย สุประวัติ ปัทมสูตร คนที่สามจากซ้าย สมจินต์ ธรรมทัต ที่เหลือไม่ทราบชื่อ.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสุประวัติ ปัทมสูต · ดูเพิ่มเติม »

สุเชาว์ พงษ์วิไล

ว์ พงษ์วิไล เป็นนักแสดงชายเจ้าบทบาท เกิดเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2489 ที่จังหวัดลพบุรี สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยวิชาการก่อสร้าง (คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในปัจจุบัน) เริ่มอาชีพนักแสดงด้วยการเป็นนักแสดงละครเวทีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เมื่ออายุได้ 30 กว่าแล้ว โดยการรับบทเป็นพระเอก ต่อมาละครเวทีเรื่องนี้ได้มีโอกาสแพร่ภาพออกโทรทัศน์ทางช่อง 5 จึงมีผู้เห็นแววและชักชวนเข้าสู่การแสดงภาพยนตร์ โดยภาพยนตร์เรื่องแรกที่แสดงคือ กิเลสคน ในปี พ.ศ. 2520 ต่อมาก็คือ สวัสดีคุณครู พ.ศ. 2521 และเทพธิดาบาร.ศ 2521 เป็นเรื่องที่สาม รับบทร้ายครั้งแรกในละครของช่อง 3 เรื่อง ขุนศึก โดยการแนะนำและกำกับโดย สักกะ จารุจินดา รวมทั้งเคยรับตลกเป็นกะเทยด้วยในเรื่อง ขบวนการคนใช้ เมื่อปี พ.ศ. 2529 จากการกำกับของ ชนะ คราประยูร สุเชาว์ พงษ์วิไล มีบทบาทที่เป็นที่รู้จักกันดีในบทของดาวร้ายในละครโทรทัศน์และภาพยนตร์หลายต่อหลายเรื่อง ระยะหลังมีการเปลี่ยนมารับบทพ่อหรือตัวละครอาวุโสขึ้นมาบ้าง ผลงานในระยะหลัง ได้แก่ สุริโยไท (พ.ศ. 2544), ผีสามบาท (พ.ศ. 2544), องค์บาก (พ.ศ. 2546), สุดสาคร (พ.ศ. 2549), A Moment in June ณ ขณะรัก (พ.ศ. 2552) และ 2022 สึนามิ วันโลกสังหาร ในปีเดียวกัน เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว ยังร่วมแสดงในมิวสิกวิดีโอของธนพล อินทฤทธิ์ ในเพลง 18 ฝน ด้วยการรับบทเป็นพ่อของ สิทธิพร นิยม ในปี พ.ศ. 2537 และในเพลง รอยกรีดที่ข้อมือ ของภานุพงศ์ จำปาเฟื่อง ในปี พ.ศ. 2547 ซึ่งสร้างมาจากชีวิตจริงของลูกสาวตนเองอีกด้วย และในเพลง อกหัก รุ่นเก๋า ของวรนุช กนกากร ในปี พ.ศ. 2552 ชีวิตส่วนตัว สุเชาว์แต่งงานแล้ว มีบุตรสาว 1 คน ชื่อ ณิฐา พงษ์วิไล.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสุเชาว์ พงษ์วิไล · ดูเพิ่มเติม »

สุเทพ ประยูรพิทักษ์

ทพ ประยูรพิทักษ์ ชื่อเล่น อี๊ด เกิดเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสุเทพ ประยูรพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สี่แพร่ง

ี่แพร่ง เป็นภาพยนตร์ไทยแนวสยองขวัญที่ออกฉายเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2551 กำกับโดย ยงยุทธ ทองกองทุน ปวีณ ภูริจิตปัญญา ภาคภูมิ วงศ์ภูมิ บรรจง ปิสัญธนะกุล นำแสดงโดย มณีรัตน์ คำอ้วน เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ วิทวัส สิงห์ลำพอง อภิญญา สกุลเจริญสุข ชล วจนานนท์ ณัฏฐพงศ์ ชาติพงศ์ และ กันตพัฒน์ สีดา ทำรายได้รวม 85 ล้านบาท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสี่แพร่ง · ดูเพิ่มเติม »

สีเทา เพ็ชรเจริญ

ีเทา เพ็ชรเจริญ หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ สีเทา มีชื่อจริงว่า จรัล เพ็ชรเจริญ เป็นดาราตลกอาวุโส มีบุคลิกเด่นคือแสดงตลกด้วยหน้าตาท่าทาง ลักษณะหลังโกง พุงป่อง เหมือน "เท่ง" ตัวตลกดาราหนังตะลุง ของทางภาคใต้ และถูกนำบุคลิกไปสร้างเป็นตัวการ์ตูนในแอนิเมชันเรื่อง "แดร็กคูล่าต๊อก โชว์".

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสีเทา เพ็ชรเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

สครับบ์

รับบ์ (Scrubb) เป็นศิลปินคู่หูดูโอสัญชาติไทย จากสังกัดค่าย บีอีซี-เทโร มิวสิค อันประกอบด้วย บอล - ต่อพงศ์ จันทบุบผา และ เมื่อย - ธวัชพนธ์ วงศ์บุญศิร.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสครับบ์ · ดูเพิ่มเติม »

สตรีเหล็ก

ตรีเหล็ก เป็นภาพยนตร์ไทย ตลก ที่สร้างจากเรื่องจริงของทีมวอลเลย์บอลชาย ที่ผู้เล่นทั้งทีมเป็นกะเทย ภาพยนตร์เรื่องนี้กำกับโดย ยงยุทธ ทองกองทุน เขียนบทโดย วิสุทธิชัย บุณยะกาญจน และจิระ มะลิกุล มี ปนัดดา โพธิวิจิตร และศศิวิมล ชินเวชกิจวานิชย์ เป็นผู้ช่วยผู้กำกับ ออกฉายเมื่อ 3 มีนาคม พ.ศ. 2543 โดยภาพยนตร์เรื่องนี้ทำรายได้ไป 98.70 ล้านบาท ภาพยนตร์เรื่องนี้ประสบความสำเร็จด้านรายได้เป็นอย่างดี และก่อให้เกิดกระแสสร้างภาพยนตร์เกี่ยวกับกีฬา และเกี่ยวกับเพศที่สาม ติดตามมาอีกหลายเรื่อง ภาพยนตร์ได้ออกไปฉายในต่างประเทศ และได้รับคำชื่นชมเป็นอย่างดี ไปฉายในงานเทศกาลภาพยนตร์ที่ Pusan International Film Festival ปูซาน เกาหลีใต้, San Francisco Asian American Film Festival ซานฟรานซิสโก, Miami Gay and Lesbian Film Festival ไมอามี, Los Angeles Asian Pacific Film Festival ลอสแอนเจลิส, Seattle International Film Festival ซีแอตเทิล และ San Francisco International Lesbian and Gay Film Festival.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสตรีเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

สตางค์ (ภาพยนตร์)

* สตางค์ ภาพยนตร์ไทย ฟอร์มยักษ์จาก ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น ออกฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2543 กำกับโดย บัณฑิต ฤทธิ์ถกล และนำแสดงโดย ศรัณยู วงศ์กระจ่าง จินตหรา สุขพัฒน์ และดาราชื่อดังอีกมากม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสตางค์ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สนธยา ชิตมณี

นธยา ชิตมณี เกิดวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 ที่โรงพยาบาลหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นที่รู้จักในนาม สน The Star เป็นนักร้อง นักแสดง เข้าศึกษาระดับประถมที่ โรงเรียนสหศาสตร์วิทยาคาร ระดับมัธยมเรียนที่โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ และโรงเรียนรัตภูมิวิทยา เข้าสู่วงการบันเทิงด้วยการชนะเลิศการแข่งขันเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 1..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสนธยา ชิตมณี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์มงคลชาย ยุคล

หม่อมราชวงศ์มงคลชาย ยุคล ชื่อเล่น คุณชายเอี่ยว เป็นโอรสในท่านมุ้ย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล และ หม่อมอูม วิยะดา อุมารินทร์ คุณชายเอี่ยวได้มีผลงานในการแสดงภาพยนตร์และเคยได้รับรางวัล รางวัลสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ทองคำครั้งที่ 12 ซึ่งรับบทเป็น "ซอและ" เรื่อง ตะลุมพุก มหาวาตภัยล้างแผ่นดิน และ คุณชายเอี่ยวยังเรียนจบด้านภาพยนตร์จากสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันนี้สมรสแล้วและมีบุตร 4 คน เป็นบุตรสาว 3 ชื่อ หม่อมหลวง เอวิต้า ยุคล ส่วน บุตรชาย 1 บุตรชายชื่อ หม่อมหลวง อนุชา ยุคล หรือ แอ็กชั่น.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและหม่อมราชวงศ์มงคลชาย ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่ำ จ๊กมก

็ชรทาย วงศ์คำเหลา (เกิด 24 มิถุนายน พ.ศ. 2508) ขื่อในการแสดงว่า หม่ำ จ๊กมก เป็นนักแสดงตลกชื่อดังจากแก๊งสามช่า และเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ที่ได้รับความนิยมทั้งในและนอกประเทศไท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและหม่ำ จ๊กมก · ดูเพิ่มเติม »

หย่าเพราะมีชู้

หย่าเพราะมีชู้ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2528 สร้างจากบทประพันธ์ของ อุดม ศุภสินธุ์ กำกับโดย มานพ อุดมเดช โดยร่วมงานกับ พูนทรัพย์โปรดักชั่น ของ วิศิษฐ์ มิ่งวัฒนบุญ นำแสดงโดย สินจัย หงษ์ไทย, นาถยา แดงบุหงา, อภิชาติ หาลำเจียก และ ชนประคัลภ์ จันทร์เรือง ได้รับรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี (ตุ๊กตาทอง) ภาพยนตร์ยอดนิยม ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและหย่าเพราะมีชู้ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)

รองเสวกเอก หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) (6 สิงหาคม พ.ศ. 2424 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2497) นักดนตรีชาวไทย ผู้มีชื่อเสียงจากการเล่นเครื่องดนตรีไทย และประพันธ์เพลงไทยเดิม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) · ดูเพิ่มเติม »

หลุดสี่หลุด

หลุดสี่หลุด เป็น ภาพยนตร์ไทยแนวสยองขวัญ โดย สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล มีจุดกำเนิดมาจากแนวคิดของ เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์ ผู้เขียนการ์ตูนเรื่อง จิตหลุด โดยภาพยนตร์แบ่งออกเป็น 4 เรื่อง เป็นเรื่องที่เขียนขึ้นมาใหม่ทั้งหมดโดยเอกสิทธิ์ ไทยรัตน์เพื่อโครงการนี้ วันเข้าฉายเมื่อ 20 มกราคม พ.ศ. 2554 ภาพยนตร์ทำรายได้ 13.17 ล้านบาท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและหลุดสี่หลุด · ดูเพิ่มเติม »

หอ หึ หึ

หอ หึ หึ เป็นภาพยนตร์ไทย แนวสยองขวัญ คอมเมดี้ ออกฉายในโรงภาพยนตร์เมื่อ 30 มกราคม พ.ศ. 2535 นำแสดงโดย สันติสุข พรหมศิริ, จินตหรา สุขพัฒน์, แอน ทองประสม, วรุฒ วรธรรม เรื่องนี้ ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น นำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ชื่อเดียวกันในปี พ.ศ. 2535 กำกับภาพยนตร์โดย บัณฑิต ฤทธิ์ถกล นำแสดงโดย สันติสุข พรหมศิริ, จินตหรา สุขพัฒน์, แอน ทองประสม และ วรุฒ วรธรรม ต่อมาเรื่องนี้ได้สร้างเป็นละครโทรทัศน์ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและหอ หึ หึ · ดูเพิ่มเติม »

หอบรักมาห่มป่า

หอบรักมาห่มป่า สร้างเป็นละครโทรทัศน์ จากบทประพันธ์ของ บัณฑิต ฤทธิ์ถกล ผลิตโดย บริษัท ดาราวิดีโอ จำกัด นำแสดงโดย นวพล ลำพูน,อุษามณี ไวทยานนท์,ชนะพล สัตยา และทิสานาฏ ศรศึก ออกอากาศทุกวันจันทร์ - อังคาร เวลา 20.20 - 22.20 น. ทางช่อง 7.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและหอบรักมาห่มป่า · ดูเพิ่มเติม »

หนีตามกาลิเลโอ

หนีตามกาลิเลโอ (Dear Galileo) (เดิมชื่อ กาลิเลโอ เพราะโลกมีแรงดึงดูด) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก/ดราม่า มีกำหนดเข้าฉายในโรงภาพยนตร์วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 กำกับโดย นิธิวัฒน์ ธราธร โดยภาพยนตร์เรื่องนี้ไปถ่ายทำไกลถึง 3 ประเทศ 3 เมือง คือ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ, ปารีส ประเทศฝรั่งเศส และ เวนิส ประเทศอิตาลี ภาพยนตร์ทำรายได้ 30.34 ล้านบาท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและหนีตามกาลิเลโอ · ดูเพิ่มเติม »

ห้าแพร่ง

ห้าแพร่ง (Phobia 2) เป็นภาพยนตร์แนวสยองขวัญ โดยมีโครงเรื่องเกี่ยวกับผีและความกลัวเช่นเดียวกับ สี่แพร่ง แต่จะถ่ายทอดผ่านภาพยนตร์สั้น 5 เรื่อง เข้าฉายเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2552 และมีการจัดฉายรอบสื่อมวลชนเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2552 ณ โรงภาพยนตร์เอสเอฟ เวิลด์ ซีเนมา ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ โดยมีการถ่ายทอดสดบรรยากาศงานผ่านเว็บไซต์ทางการของภาพยนตร์ นับเป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกที่มีการถ่ายทอดสดบรรยากาศการจัดฉายรอบสื่อมวลชนทางอินเทอร์เน็ต เป็นหนังสยองขวัญ ที่ทำสถิติรายได้เปิดตัวสูงที่สุดในประวัติศาสตร์ของวงการหนังไทย ภาพยนตร์เรื่อง ห้าแพร่ง ทำรายได้จากการเข้าฉายในประเทศไทยจำนวน 113.5 ล้านบาท (เฉพาะกรุงเทพฯและปริมณฑล).

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและห้าแพร่ง · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาติ ชูสกุล

อภิชาติ ชูสกุล (พ.ศ. 2499-6 กันยายน พ.ศ. 2553) มีชื่อเล่นว่า หมึก เป็นนักแสดงชาวไทยที่มีชื่อเสียงมาจากการรับบท หมู่เชียร อดีตตำรวจรถถังผู้เป็นลูกพี่ของแดง ไบเล่ และเพื่อน ๆ จากภาพยนตร์เรื่อง 2499 อันธพาลครองเมือง ในปี พ.ศ. 2540 ซึ่งบทบาทการแสดงในเรื่องนี้ของอภิชาติ เป็นที่กล่าวขานอย่างมากว่า แสดงได้ดี เป็นที่น่าจดจำ สมบทบาทนักเลงจริง ๆ ทั้ง ๆ ที่เป็นเพียงตัวประกอบ แต่สามารถแย่งความเด่นของตัวละครอื่นที่เข้าฉากด้วยกันได้ เช่นเดียวกับนักแสดงประกอบชายอีกคน คือ สมชาย ศักดิกุล หลังจากนั้น ก็ได้รับบทเป็นตัวประกอบและตัวร้ายในละครโทรทัศน์และภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ เช่น "เต่า" บรรณาธิการหนังสือพิมพ์ siam observer ในปมไหม ทางไอทีวี, "ดาบเหล็ก" ในละครชุด น้องใหม่ร้ายบริสุทธิ์ ทางช่อง 3, "พระยาพลเทพ" ตัวร้ายใน นิราศสองภพ และ "พระเชียงเงิน" ใน ตากสินมหาราช ทางช่องเดียวกัน ในส่วนของภาพยนตร์ก็ได้แก่ ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณ ในปี พ.ศ. 2547, แค่เพื่อนค่ะพ่อ, โหน่ง เท่ง นักเลงภูเขาทอง ในปี พ.ศ. 2549 และคนหิ้วหัว ในปี พ.ศ. 2550 เป็นต้น นอกจากนั้นยังเคยร่วมแสดงในภาพยนตร์ต่างประเทศ เรื่อง The Beach ในปี พ.ศ. 2543 ในบทมาเฟียเจ้าของเกาะและไร่กัญชา และ Rescue Dawn ภาพยนตร์สัญชาติเยอรมัน ในปี พ.ศ. 2548 ในบท พิสิษฐ์ อินทรทัต งานเบื้องหลัง อภิชาติเคยเป็นผู้ช่วยผู้กำกับภาพยนตร์ต่างประเทศ เช่น Return To Paradise (ค.ศ. 1998) Aces go places V (ค.ศ. 1989) และนอกจากนี้ยังเป็นผู้ช่วยผู้กำกับภาพยนตร์ไทยเรื่อง สุริโยไท ในปี พ.ศ. 2544 ด้วย ชีวิตส่วนตัว อภิชาติ เป็นชาวอำเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญบางรัก ปริญญาตรีจากคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าสู่วงการบันเทิงด้วยการอ่านสปอตโฆษณาและเป็นผู้ช่วยผู้กำกับภาพยนตร์ สมรสกับ นางชไมพร กัลยาณมิตร ภรรยาที่อยู่กินกันมานานกว่า 30 ปี โดยไม่มีบุตร โดยความชอบส่วนตัวเป็นคนที่รักสุนัขมาก ได้เลี้ยงสุนัขไว้ทั้งหมด 3 ตัว อภิชาติเสียชีวิตเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2553 ด้วยโรคมะเร็งตับ โดยตรวจพบเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ปีเดียวกัน แต่เจ้าตัวปฏิเสธที่เข้ารับการรักษาด้วยวิธีการฉายแสง โดยมีผลงานเรื่องสุดท้ายเป็นภาพยนตร์อิสระเรื่อง สติ สื.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอภิชาติ ชูสกุล · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาติ หาลำเจียก

อภิชาติ หาลำเจียก (23 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 - 15 กันยายน พ.ศ. 2551) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาฬสินธุ์ 2 สมัย สังกัดพรรคกิจสังคม และพรรคสามัคคีธรรม อดีตสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอภิชาติ หาลำเจียก · ดูเพิ่มเติม »

อรรถพร ธีมากร

อรรถพร ธีมากร (หนุ่ม) เกิดวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2516 เป็นนักแสดง นักร้อง นักดนตรี พิธีกร และผู้กำกับละคร บุตรของนายพูลสวัสดิ์ ธีมากร นักแสดงอาวุโส เข้าสู่วงการบันเทิงหลังไปออกรายการ จันทร์กะพริบ กับคุณพ่อ โดยเล่นละครเรื่อง "รุ่นหนึ่งตึกห้าหน้าเดิน" เป็นเรื่องแรก ต่อมามีผลงานแสดงละครและภาพยนตร์อีกหลายเรื่อง โดยผลงานภาพยนตร์สร้างชื่อ คือ 2499 อันธพาลครองเมือง และยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง เดอะ เลตเตอร์ จดหมายรัก ในการประกาศรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ประจำปี 2547 มีเพื่อนสนิทในวงการ คือ "กัปตัน" ภูธเนศ หงษ์มานพ และ "ติ๊ก" เจษฎาภรณ์ ผลดี ด้านการศึกษาและชีวิตส่วนตัว จบบริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น สมรสกับ อริญรดา ปิติมารัชต์ มีบุตรชาย 2 คน ชื่อ อันดาและอดัม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอรรถพร ธีมากร · ดูเพิ่มเติม »

อรรถพันธ์ พูลสวัสดิ์

อรรถพันธ์ พูลสวัสดิ์ เคยใช้ชื่อว่า ณัฏฐนันท์ พูลสวัสดิ์ เป็น นักแสดงชาวไทย สังกัดจีเอ็มเอ็มทีวี เริ่มเป็นที่รู้จักจากการแสดงในละครพื้นบ้านเรื่อง โกมินทร์ ปัจจุบันอรรถพันธ์มีชื่อเสียงจากการเล่นละครซีรีส์วัยรุ่นหลายเรื่อง จนทำให้เขามีแฟนคลับทั้งชาวไทยและชาวต่างประเท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอรรถพันธ์ พูลสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อรุณ ภาวิไล

อรุณ ภาวิไล บุตรชายคนสุดท้องของ ศาสตราจารย์ ดร.ระวี ภาวิไล มีชื่อเล่นว่า 'รุณ แต่หลายคนมักจะคิดว่าเขาชื่อเล่นชื่อ ตุ๋ย อันเนื่องมาจากตัวละครที่เขาแสดงชื่อเดียวกันในรายการ เพชรฆาตความเครียด ซึ่งออกอากาศระหว่างปี 2528-2529 ทาง ช่อง 9 เป็นนักแสดง และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย ปัจจุบันนอกจากงานแสดงและพิธีกรแล้ว อรุณยังทำธุรกิจร้านอาหารฝรั่ง ชื่อร้าน Tui Restaurant & Pub ซอยปัญจมิตร ลาดพร้าว 94 อรุณ ภาวิไล สมรสกับจุไร ภาวิไลมีบุตร 2 คน คนที่ 2 ชื่อว่า อาภา ภาวิไล (แม็กกี้) ปัจจุบันได้กลายเป็นนักแสดงในสังกัดช่อง 7 แล้ว.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอรุณ ภาวิไล · ดูเพิ่มเติม »

อวสานโลกสวย

อวสานโลกสวย เป็นภาพยนตร์ไทยแนวอาชญากรรม,วัยรุ่น สร้างโดย กันตนา โมชั่น พิคเจอร์ส กำกับโดย ปัญญ์ หอมชื่น และ อรอุษา ดอนไสว นำแสดงโดย อภิญญา สกุลเจริญสุข ณัฐสิทธิ์ โกฏิมนัสวนิชย์ ณภศศิ สุรวรรณ และ ลัทธ์กมล ปิ่นโรจน์กีรติ กำหนดออกฉายในวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2559.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอวสานโลกสวย · ดูเพิ่มเติม »

อัมรินทร์ นิติพน

อัมรินทร์ นิติพน (อ่ำ) เกิดเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 ที่ ร..ราชวิถี เมื่อเวลา 00.55 น. จึงเป็นที่มาของชื่ออัลบั้มชุดแรก “00.55 น. ลืมตามาอ่ำ” เป็นนักร้อง นักแสดง พิธีกร นักกอล์ฟ อ่ำมีพี่น้องท้องเดียวกันทั้งหมด 4 คน คือ อั๋น (องอาจ นิติพน) อ่ำ (อัมรินทร์ นิติพน) ก้อง (อรรฆรัตน์ นิติพน) และอุ๋ม (อาภาศิริ นิติพน) พ่อแม่แยกทางกันตั้งแต่อ่ำอายุ 8 ปี อ่ำเข้าศึกษาระดับอนุบาลที่โรงเรียนอนุบาลสารินันท์ ย่านบางเขน จากนั้นเรียนต่อชั้นมัธยมที่โรงเรียนศรีวิกรม์ วัยเรียนเด็กชายอัมรินทร์ค่อนข้างเกเร จนเรียนจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ช้ากว่าเพื่อนๆ ไปครึ่งเทอม ทำให้ไม่ทันสอบเอ็นทรานซ์ อ่ำจึงตัดสินใจลงเรียนคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงไว้ก่อน ต่อจากนี้ก็เข้ามาเรียนคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต แต่เรียนได้เพียงเทอมเดียวก็ขอลาออก เพราะปัญหาเรื่องค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันของครอบครัว อ่ำได้นำเดโมของตัวเองและเพื่อนเข้าค่ายเพลงแต่ได้รับการปฏิเสธ จนบริษัทแกรมมี่รับสมัครนักร้องจึงไปสมัคร และผ่านการเทสต์หน้ากล้อง ในช่วงแรกเข้ามาเป็นดีเจและพีธีกรในรายการ แบง แบง แบ็งคอก กับยู่ยี่ อลิสา อินทุสมิต จนได้มีผลงานเพลงอัลบั้มแรก “00.55 น. ลืมตามาอ่ำ” อ่ำมีธุรกิจส่วนตัว ชื่อร้าน 72 Race & Bar ชีวิตส่วนตัว เคยใช้ชีวิตคู่กับ จอย - อัจฉริยา อังคสุวรรณศิริ มีบุตรสาว 1 คน ชื่อ.ญ.อชิรญา นิติพน (แอลลี่) ปัจจุบันอ่ำได้ออกมาแถลงข่าวว่าได้จดทะเบียนหย่ากันแล้ว เมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอัมรินทร์ นิติพน · ดูเพิ่มเติม »

อัฒรุต คงราศรี

อัฒรุต คงราศรี (ชื่อเล่น: เชน) เป็น นักแสดงชาวไทย และยังเป็นตัวแทนยาของบริษัท เบอริงเกอร์ อินเกลไฮม์ (ไทย) จำกัด,ผู้จัดการทีมร้านขายยาทั่วประเทศ บริษัท แปซิฟิค เฮลธ์แคร์ (ไทยแลนด์) เชนเป็นหนึ่งในนักแสดงคู่บุญของผู้กำกับ บรรจง ปิสัญธนะกูล โดยผู้กำกับกล่าวแซวถึงเชนว่าเป็นนักแสดงที่มีฝีมือ แต่มักมีปัญหาการเรียบเรียงประโยคพูดที่ยาว.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอัฒรุต คงราศรี · ดูเพิ่มเติม »

อัครินทร์ อัครนิธิเมธรัฐ

อัครินทร์ อัครนิธิเมธรัฐ หรือชื่อเดิม ธีรดนัย สุวรรณหอม หรือชื่อเล่น โจ๊ก (20 ตุลาคม พ.ศ. 2524 —) เป็นนักแสดงชาวไทย เข้าสู่วงการโดยได้แสดงภาพยนตร์โฆษณา แสดงอยู่ 2-3 เรื่อง จึงมาแสดงในภาพยนตร์เรื่อง Goal Club รับบทเป็นออตโต้ หลังจากนั้นแสดงภาพยนตร์อีกหลายเรื่อง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอัครินทร์ อัครนิธิเมธรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

อันธพาล

อันธพาล (Gangster) ภาพยนตร์ไทยแนวอาชญากรรม ออกฉายในปี พ.ศ. 2555 กำกับโดย ก้องเกียรติ โขมศิร.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอันธพาล · ดูเพิ่มเติม »

อันดากับฟ้าใส

อันดากับฟ้าใส เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2540 โดยแกรมมี่ฟิล์ม กำกับโดยหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล นำแสดงโดย สินจัย หงษ์ไทย, พงษ์พัฒน์ วชิระบรรจง,ชลธิชา นวมสุคนธ์ และ อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอันดากับฟ้าใส · ดูเพิ่มเติม »

อารักษ์ อมรศุภศิริ

อารักษ์ อมรศุภศิริ (เกิดเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2527 ที่กรุงเทพมหานคร) เป็นนักแสดง นายแบบ และนักดนตรีชาวไทย มีผลงานในวงการบันเทิงครั้งแรก กับการเป็นมือกีตาร์วงสะเลอ หลังจากนั้นมีผลงานแสดงภาพยนตร์เรื่องแรกคือ บอดี้..ศพ#19 ที่สร้างชื่อเสียง ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอารักษ์ อมรศุภศิริ · ดูเพิ่มเติม »

อาปัติ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอาปัติ · ดูเพิ่มเติม »

อำแดงเหมือนกับนายริด

อำแดงเหมือนกับนายริด เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2537 นำแสดงโดยสันติสุข พรหมศิริ, จินตหรา สุขพัฒน์, ดวงดาว จารุจินดา, แมน ธีระพล และรณ ฤทธิชัย กำกับโดย เชิด ทรงศรี ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกที่ได้รับเกียรติให้เป็นภาพยนตร์ฉายเปิดงานมหกรรมภาพยนตร์ Focus on Asia’94 Fukuoka International Film Festival ที่จัดขึ้น ณ ประเทศญี่ปุ่น ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอำแดงเหมือนกับนายริด · ดูเพิ่มเติม »

อิงครัต ดำรงค์ศักดิ์กุล

อิงครัต ดำรงค์ศักดิ์กุล หรือชื่อเล่น ริว เป็นนักแสดงเด็กชาวไทย เริ่มมีผลงานงานการแสดงในวัย 9 ขวบ จากการแสดงละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ซึ่งได้รับบทพระเอกในวัยเด็ก เริ่มมีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์เรื่อง พี่ชาย My Hero และละครซีรีส์เรื่อง รุ่นพี่ Secret Love ปัจจุบันศึกษาอยู่ที่โรงเรียนเซนต์คาเบรียล.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอิงครัต ดำรงค์ศักดิ์กุล · ดูเพิ่มเติม »

อดุลย์ ดุลยรัตน์

อดุลย์ ดุลยรัตน์ (5 เมษายน พ.ศ. 2475 - 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักแสดง ผู้กำกับชาวไทย มีตำแหน่งเป็น คณะกรรมการของสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอดุลย์ ดุลยรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

อครา อมาตยกุล

อัครา อมาตยกุล เกิด 19 เมษายน พ.ศ. 2517 เป็นนักแสดงชาวไทย หลานของคุณตามงคล อมาตยกุล ครูเพลงผู้สร้างนักร้องประดับวงการเพลงลูกทุ่งไทยมากมาย สำเร็จการศึกษาด้านกราฟิกดีไซน์จาก Fashion Institute of Technology นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา มีน้องสาว 1 คน คือ ธนสร อมาตยกุล ผู้ประกาศข่าวช่อง 3.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอครา อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

องค์บาก

องค์บาก (Ong Bak) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและองค์บาก · ดูเพิ่มเติม »

องค์บาก 2

องค์บาก 2 (Ong Bak 2) เป็นภาพยนตร์ศิลปะการต่อสู้ ที่นำแสดงโดย ทัชชกร ยีรัมย์ เป็นภาพยนตร์ภาคต่อของ องค์บาก ของสหมงคลฟิล์ม ซึ่งกำกับโดยปรัชญา ปิ่นแก้ว ที่ประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูงในตลาดต่างประเทศ ภาพยนตร์เขียนบทและกำกับโดย ทัชชกร ยีรัมย์ ไอยราฟิล์ม โดยการสนับสนุนของพันนา ฤทธิไกร โดยมีการนำศิลปะการต่อสู้ของไทย มาผสมผสานกับศิลปะการแสดงโขน เริ่มถ่ายทำตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 มีกำหนดออกฉายช่วงต้นปี พ.ศ. 2551 แต่ภาพยนตร์ประสบปัญหาเนื่องจากเปลี่ยนผู้ควบคุมงานซึ่งเดิมคือ แวว ยีรัมย์ และ ธรัช ศุภโชคไพศาล ซึ่งเป็นผู้ร่วมก่อตั้งไอยราฟิล์มออก จึงทำให้เกิดปัญหาของการควบคุมงาน และปัญหาความล่าช้าในการถ่ายทำ และใช้งบประมาณบานปลาย จนต้องหยุดการถ่ายทำ และเกิดความขัดแย้งระหว่าง ทัชชกร ยีรัมย์ กับ ปรัชญา ปิ่นแก้ว และบริษัท สหมงคลฟิล์ม จนต้องมีการเจรจาไกล่เกลี่ยกันหลายครั้ง ได้เปิดตัวในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551 และมีกำหนดการฉายอย่างเป็นทางการ ในประเทศไทย วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ทำรายได้รวมในประเทศไทย 102.29 ล้านบาท วีซีดีและดีวีดีวางจำหน่าย วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและองค์บาก 2 · ดูเพิ่มเติม »

อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม

อนันดา เอเวอริงแฮม (เกิด 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2525) เป็นดาราลูกครึ่งออสเตรเลีย-ลาว เข้าวงการเมื่ออายุ 14 ปี โดยคำชักชวนของมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ กับภาพยนตร์เรื่องแรก อันดากับฟ้าใส และ 303 กลัว/กล้า/อาฆาต หลังจากไม่มีผลงานบันเทิงระยะหนึ่ง ได้กลับมาอีกครั้งกับละครเรื่องทะเลฤๅอิ่ม ของหม่อมน้อย หลังจากนั้นก็มีผลงานการแสดงเรื่อยมา จนใน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ บุนนาค

อนันต์ บุนนาค เกิดเมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2506 เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย-อเมริกันบุคลิกทะเล้น มีผลงานเพลงป็อปโด่งดังอย่างอัลบั้ม ขออภัยในความไม่สะดวก และ อนันต์ เสนอหน้า ในสังกัดของอาร์เอส ละครโทรทัศน์ชุด ความรักของคุณฉุย และ มนต์รักลูกทุ่ง ทางช่อง 7 สี หลังจากนั้นก็มีผลงานเพลงลูกทุ่ง มีผลงานแสดงละครเรื่อง สงครามข้างเตา ละครแก๊งค์สืบ 07 และมีผลงานภาพยนตร์หลายเรื่อง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอนันต์ บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป

อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอนึ่ง คิดถึงพอสังเขป · ดูเพิ่มเติม »

อนธการ

อนธการ (The Blue Hour) เป็นภาพยนตร์ไทยแนว LGBT ดราม่าสยองขวัญ ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2558 กำกับโดย อนุชา บุญยวรรธนะ เขียนบทโดยอนุชา บุญยวรรธนะ และวาสุเทพ เกตุเพ็ชร์ นำแสดงโดยอรรถพันธ์ พูลสวัสดิ์, โอบนิธิ วิวรรธนวรางค์ และดวงใจ หิรัญศรี กำหนดออกฉายในวันที่ 6 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอนธการ · ดูเพิ่มเติม »

อโนเชาว์ ยอดบุตร

อโนเชาว์ ยอดบุตร (31 ธันวาคม พ.ศ. 2501 - 21 มีนาคม พ.ศ.2561) นักแสดงชาวไทย ที่เคยได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง สาขานักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอโนเชาว์ ยอดบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ผีจ้างหนัง

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและผีจ้างหนัง · ดูเพิ่มเติม »

ผีเสื้อและดอกไม้

ผีเสื้อและดอกไม้ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและผีเสื้อและดอกไม้ · ดูเพิ่มเติม »

จรัล มโนเพ็ชร

รัล มโนเพ็ชร (1 มกราคม พ.ศ. 2494 — 3 กันยายน พ.ศ. 2544) เป็นศิลปินชาวไทย ผู้เป็นทั้งนักร้อง นักดนตรี นักแต่งเพลง และนักแสดง ที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นศิลปินผู้ยิ่งใหญ่แห่งยุคสมัย งานดนตรีของจรัลมีเอกลักษณ์จากการสร้างสรรค์ภาษาถิ่นเหนือ คำเมือง ของเขาซึ่งเรียกว่า “โฟล์คซองคำเมือง” ที่ก่อเกิดขึ้นนับแต่ปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและจรัล มโนเพ็ชร · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น รัตนเวโรจน์

อห์น รัตนเวโรจน์ มีชื่อจริงว่า จอห์น อเล็กแซนเดอร์ แฮมมอนด์ หรือ นรศักดิ์ รัตนเวโรจน์ เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510 เป็นนักร้อง นักดนตรี นักแสดง พิธีกร ลูกครึ่งไทย-อังกฤษ เป็นสมาชิกวงนูโว ในตำแหน่งมือคีย์บอร์ดและนักร้องนำ.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและจอห์น รัตนเวโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

จอนนี่ แอนโฟเน่

อนนี่ แอนโฟเน่ (Johnny Anfone; 28 ตุลาคม 2512) เป็นนักแสดงชาวไทย และอดีตสมาชิกวงดนตรีแกรนด์เอ็กซ.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและจอนนี่ แอนโฟเน่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรกฤษณ์ อำมรัตน์

วสวิศร์ ศตพิพัฒน์ เป็นที่รู้จักในชื่อเดิมว่า จักรกฤษณ์ อำมรัตน์ ชื่อเล่น ต้น (25 ตุลาคม พ.ศ. 2512) เป็นนักแสดงชายชาวไทย มีชื่อเสียงจากการรับบทเป็นตำรวจในละครหลายเรื่อง อาทิ ล่า (2537) เลือดเข้าตา (2538) และ โปลิศจับขโมย (2539).

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและจักรกฤษณ์ อำมรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

จัน ดารา (ภาพยนตร์ทวิภาค)

ัน ดารา เป็นภาพยนตร์ไทยทวิภาคดัดแปลงจากนิยายข้างต้นเรื่อง เรื่องของจัน ดารา ซึ่งอุษณา เพลิงธรรมเขียนลงพิมพ์เป็นตอน ๆ ในหนังสือพิมพ์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและจัน ดารา (ภาพยนตร์ทวิภาค) · ดูเพิ่มเติม »

จาตุรงค์ มกจ๊ก

ตุรงค์ โพธาราม มีชื่อจริงว่า จตุรงค์ พลบูรณ์ เป็นนักแสดงตลกชาวไทย ที่มักเล่นเป็นกะเทยบ่อยๆ ซึ่งเดิมทีเป็นลูกทีมของหม่ำ จ๊กมกมีวลีติดปากคือ "ม่ายอาวม่ายพูด" และ "ม่ายกินเผ็ด" ทั้งยังเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์ นักร้องเพลงลูกทุ่ง นักเขียน ผู้กำกับ จาตุรงค์ มีผลงานการแสดงภาพยนตร์อย่าง ส่วนมากเป็นภาพยนตร์ตลก อาทิ หัวหลุดแฟมิลี่ (2008), บ้านผีเปิบ (2008), ผีตาหวานกับอาจารย์ตาโบ๋ (2008), เหยิน เป๋ เหล่ เซมากูเตะ (2007), ตั๊ดสู้ฟุด (2007), หอแต๋วแตก (2007), ใน Before Valentine ก่อนรัก...หมุนรอบตัวเรา ทั้งยังเป็นผู้กำกับให้ภาพยนตร์อย่าง ตั๊ดสู้ฟุด (2007) และ โกยเถอะโยม (2006) มีผลงานเขียน พ็อกเก็ตบุ๊ค ชื่อ องค์รงค์ และยังเคยออกอัลบั้มเพลงลูกทุ่ง 1 ชุด มีเพลงดังคือ ไม่กินเผ็ด จาตุรงค์ โพธาราม มีความสามารถด้าน กลอน กาพย์ อาขยาน โดยสามารถท่องและต่อกลอนได้อย่างแม่นยำ นอกจากนี้ จาตุรงค์ ยังได้ผลักดันคือ พี มกจ๊ก ให้แจ้งเกิดเป็นนักแสดงตลกเด็ก รวมถึงลูกสาวคือ พัสกร พลบูรณ์ และ ณัทชาภา พลบูรณ์ ก็เป็นนักแสดงเช่นกัน.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและจาตุรงค์ มกจ๊ก · ดูเพิ่มเติม »

จิรายุ ละอองมณี

รายุ ละอองมณี (เกิด 29 ตุลาคม พ.ศ. 2538) ชื่อเล่น เก้า เป็นนักแสดงและนักร้องชาวไท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและจิรายุ ละอองมณี · ดูเพิ่มเติม »

จิราวัฒน์ วชิรศรัณย์ภัทร

ราวัฒน์ วชิรศรัณย์ภัทร (ชื่อเล่น: วอ) เดิมชื่อ วรัญญ วชิรปิลันธน์, อรุณ วชิรปิลันธน์ นักพากย์และนักแสดง เคยพากย์ให้กับทางช่อง 7 ปัจจุบันมีงานพากย์อีกหลาย ๆ ที่ และมีผลงานด้านการแสดง เช่น รถไฟฟ้า..มาหานะเธอ.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและจิราวัฒน์ วชิรศรัณย์ภัทร · ดูเพิ่มเติม »

จุฑาวุฒิ ภัทรกำพล

ฑาวุฒิ ภัทรกำพล เป็นนักแสดง พิธีกรทางช่อง GTH On Air หรือชื่อเดิม Play Channel ในรายการ Play Gang เล่นสนุก สุขยกก๊วน GANG MENT Boys Meet Girls และ GANG MENT แนะหน้าห้อง ทางช่อง GTH On Air ซึ่งเป็นรายการในอดีต, ปัจจุบันเป็นพิธีกรรายการ ปลวกขึ้นบ้าน ทางช่อง GMM 25 เข้าวงการจากด้วยการเป็นผู้ชนะจากโครงการ "Friend For Film เพื่อนฉันดันให้สุด" ของค่ายหนัง GTH นอกจากนี้ยังเป็น 1 ใน 50 หนุ่มโสดในฝันแห่งปี 2554 (หมายเลข 11.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและจุฑาวุฒิ ภัทรกำพล · ดูเพิ่มเติม »

จีรุตม์ ณ นคร

ีรุตม์ ณ นคร (พ.ศ. 2513-2539) เป็นนักแสดง นักร้อง นายแบบ เป็นที่รู้จักการเป็นแดนเซอร์ให้กับ เจ เจตริน ร่วมถ่ายในมิวสิกวิดีโอ คาใจ และยังแสดงภาพยนตร์เรื่อง สมองกลคนอัจฉริยะ ผลงานละครเรื่อง ทรายสีเพลิง ที่หมิว ลลิตา และวิลลี่ รับบทเป็นตัวเอก จีรุตม์เสียชีวิตเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2539 จากอาการหัวใจวายเฉียบพลัน.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและจีรุตม์ ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

ธานินทร์ ทัพมงคล

นินทร์ ทัพมงคล เป็นนักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและธานินทร์ ทัพมงคล · ดูเพิ่มเติม »

ธีรพงศ์ เหลียวรักวงศ์

ีระพงศ์ เหลียวรักวงศ์ (ชื่อเล่น: บี๋ เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2504) เป็นช่างภาพ นักแสดง ลูกครึ่งไทย-อังกฤษ เป็นที่รู้จักในช่วงนิตยสาร หนุ่มสาว รุ่งเรือง ตีพิมพ์ภาพถ่ายของนางแบบอาทิเช่น ต่าย เพ็ญพักตร์ และนางแบบชื่อดังหลายท่าน รวมถึงยังเป็นช่างภาพให้กับนิตยสาร Play boy และได้ร่วมงานกับ นาตาลี เกลโบวา (Natalie Glebova) นางงามสาวชื่อดังชาวแคนาดา ดีกรีนางงามจักรวาล ปี2548 หรือ Miss Universe 2005 ธีระพงศ์ เรียนจบด้านการถ่ายภาพศิลป์ และศิลปะสาขางานปั้น จากมหาวิทยาลัยชื่อดังในประเทศอังกฤษ เคมบริดจ์ และเมื่อกลับมายังเมืองไทย จึงได้เริ่มทำงานด้านโฆษณาเป็นงานแรก ทำงานถ่ายภาพโฆษณา รับงานอิสระ และได้โดยเริ่มต้นอาชีพถ่ายภาพแบบนู้ด กับนิตยสารหนุ่มสาว (นิตยสารนู้ด) และนอกจากเป็นช่างภาพแล้วยังเป็นนายแบบสมัครเล่น นายแบบโฆษณา เช่น ฟิล์มสีฟูจิ อีกทั้งธีระพงศ์ เหลียวรักวงศ์ ยังทำงานด้านการแสดงภาพยนตร์และละครโทรทัศน์อีกด้วย โดยธีรพงศ์ได้เริ่มแสดงหนังเรื่องแรกคือ ล่าข้ามโลก (2526) ด้านชีวิตส่วนตัว ปัจจุบัน ธีระพงศ์สมรสกับอดีตนักร้องสาวเสียงใสชื่อดัง ภัสสร บุณยเกียรติ (ฮันนี่) และมีบุตรชายด้วยกัน 1 คน ชื่อ อินทัช เหลียวรักวงศ์ (อินดี้) ซึ่งปัจจุบันอินทัชได้เป็นนักแสดงในสังกัดสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง3 อย่างเต็มตัวแล้ว นอกจากนี้ธีระพงศ์ ยังมีผลงานแสดงชื่อดังอีกหลายเรื่อง อาทิ ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและธีรพงศ์ เหลียวรักวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนภพ ลีรัตนขจร

นภพ ลีรัตนขจร มีชื่อเดิมว่า ณัฎฐ์นันธ์ ลีรัตนขจร และ พงศกร ลีรัตนขจร (เกิด 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537) ชื่อเล่น ต่อ เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานที่เป็นที่รู้จักจากละครซีรีส์เรื่อง ฮอร์โมน วัยว้าวุ่น.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและธนภพ ลีรัตนขจร · ดูเพิ่มเติม »

ถิร ชุติกุล

ร ชุติกุล (ชื่ออ่าน ถิ-ระ; ชื่อเล่น: อั้ม) เป็นนักแสดงและนายแบบชาวไทย เป็นบุตรของนายกอบศักดิ์ ชุติกุล และ หม่อมหลวงลักษสุภา กฤดากร มีพี่สาว 1 คน ชื่อ อาภาสิริ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก สถาบันเทคโนโลยีรอยัลเมลเบิร์น (Royal Melbourne Institute of Technology) ประเทศออสเตรเลีย มีผลงานแสดงภาพยนตร์คือ เพชฌฆาต และ ภาพยนตร์อเมริกันเรื่อง The Man with the Iron Fists 2 และได้แสดงเรื่อง สยามยุทธ โดยได้รับบทเป็นรัชกาลที่ 1 ในเรื่องนี้ และในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและถิร ชุติกุล · ดูเพิ่มเติม »

ทรงวุฒิ ศรีเชิดชูธรรม

ทรงวุฒิ ศรีเชิดชูธรรม (ชื่อเล่น: อ้น) เกิดเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2522 นักแสดงชาวไทย เข้าสู่วงการด้วยการประกวดดัชชี่บอยแอนด์เกิร์ล (Dutchie Boys & Girls) ปี 1997 ร่วมกับ นันทศัย พิศัลยบุตร, อธิชาติ ชุมนานนท์ ฯลฯ มีผลงานสร้างชื่อคือภาพยนตร์เรื่อง 303 กลัว กล้า อาฆาต รับบทเป็น สินสมุทร จากนั้นก็ได้มีผลงานละครโทรทัศน์ตามมาหลายเรื่อง เช่น หน้าต่างบานแรก, อุ่นไอรัก, มนต์รักลูกทุ่ง เป็นต้น ด้านการศึกษา สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและทรงวุฒิ ศรีเชิดชูธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี

ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี แต่เพื่อน ๆ ที่กรุงเทพคริสเตียนเห็นมือยาวและแขนผอมเหมือนกบเลยเรียกว่า กบ จนกลายเป็นชื่อเล่นในปัจจุบัน เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2510 สัญชาติไทย-จีน จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน ปริญญาตรีคณะนิเทศศาสตร์จากมหาวิทยาลัยกรุงเทพ เริ่มเข้าสู่วงการด้วยการชักชวนของนางแบบรุ่นพี่ "นวลจรี จำนงค์ไทย" และ "อรนภา กฤษฎี" เริ่มต้นด้วยการถ่ายแบบลงในนิตยสาร "เปรียว" ต่อมาได้ร่วมหุ้นเปิดผับกับพี่ชายชื่อว่า "มัสแตง" ที่นี่เองที่ทำให้ได้พบกับหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล เป็นจุดเริ่มต้นให้เข้าสู่อาชีพนักแสดงด้วยการแสดงละครเรื่องแรกชื่อ "เดอะ ผับ" หลังจากนั้นก็ได้มีโอกาสเล่นละครเวทีอีกหลายเรื่อง ต่อมาชรัส เฟื่องอารมย์ ได้ชักนำเข้าสู่วงการเพลง กบเริ่มต้นงานชิ้นแรกในชุด "เผื่อใจไว้" และแสดงภาพยนตร์เรื่องแรก "เผื่อใจไว้ให้กันสักหน่อย" ในปี พ.ศ. 2533 หลังจากนั้นได้มีผลงานเพลงที่รู้จักจากอัลบั้มชุดที่สองในปี พ.ศ. 2533 สังกัดแกรมมี่ ชื่อชุด "กบใส ๆ" มีเพลงที่ได้รับความนิยม เช่น วันใส ๆ และ ปาฏิหาริย์ หลังจากนั้นก็ได้แสดงในละครซิทคอมทางช่อง 7 ที่ได้รับความนิยมคือ 3 หนุ่ม 3 มุม คู่กับ ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง และ ปฏิภาณ ปฐวีกานต์ โดยรับบทเป็น เอกพล พี่ชายคนโตทำงานธนาคารที่มักจู้จี้ขี้บ่น นอกจากนี้เขายังเคยเป็นนักฮ็อกกี้น้ำแข็งทีมชาติและอดีตนักกีฬายิงปืนรณยุทธก่อนที่จะผันตัวเป็นนักแสดง กบ ทรงสิทธิ์ ได้ออกอัลบั้มตามมาอีกหลายชุด มีเพลงที่ได้รับความนิยมเช่น ขอแสดงความนับถือ, ขีดเส้นใต้, รักเราไม่เก่าเลย หรือ กลับลำ เป็นต้น ควบคู่กับการแสดงในสังกัดของแกรมมี่เรื่อยมาจนปัจจุบัน และเป็นพิธีกรในรายการ 3 หนุ่ม 3 มุม ทูไนท์ ทางช่อง 5 อีกด้วย ทางด้านชีวิตส่วนตัว กบ เข้าพิธีสมรสกับ “คุณ ศิริรัตน์ ทับทิม” เมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี · ดูเพิ่มเติม »

ทูน หิรัญทรัพย์

ทูน หิรัญทรัพย์ (24 ตุลาคม พ.ศ. 2497 -) พระเอกยอดนิยมชาวไทย นักแสดงคู่ขวัญร่วมกับ จารุณี สุขสวัสดิ์ ทูน หิรัญทรัพย์ มีชื่อจริงว่า โรเบิร์ต โจเซฟ เชสเปเดส เป็นลูกครึ่งไทย-ฟิลิปปินส์ บิดาเป็นชาวฟิลิปปินส์เสียชีวิตตั้งแต่เด็ก จบการศึกษาจากโรงเรียนนานาชาติร่วมฤดี แล้วเดินทางไปท่องเที่ยวผจญภัยกับบิดาเลี้ยง ที่ประเทศแทนซาเนียนาน 1 ปี ก่อนจะกลับเมืองไทย จบปริญญาตรี ด้านกราฟิกดีไซน์จากมหาวิทยาลัย รัฐวิกตอเรีย ประเทศออสเตรเลียและเริ่มเข้าสู่วงการเมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและทูน หิรัญทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ท็อป ซีเคร็ต วัยรุ่นพันล้าน

ท็อป ซีเคร็ต วัยรุ่นพันล้าน เป็นภาพยนตร์ไทย กำหนดฉายในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2554 เนื้อเรื่องได้แรงบันดาลใจจากชีวิตของอิทธิพัทธ์ กุลพงษ์วณิชย์ เจ้าของธุรกิจขนมสาหร่ายทอด เถ้าแก่น้อย นำแสดงโดย พชร จิราธิวัฒน์, วลันลักษณ์ คุ้มสุวรรณ, สมบูรณ์สุข นิยมศิร.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและท็อป ซีเคร็ต วัยรุ่นพันล้าน · ดูเพิ่มเติม »

ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน

อหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน เป็นบทประพันธ์แนวนวนิยายของประภัสสร เสวิกุล เคยถูกนำไปดัดแปลงเป็นการแสดงมาแล้ว 3 ครั้ง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน · ดูเพิ่มเติม »

ขุนพันธ์

นพันธ์ เป็นภาพยนตร์ไทยที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและขุนพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ขจรศักดิ์ รัตนนิสสัย

รศักดิ์ รัตนนิสสัย มีชื่อเสียงจากการแสดงนำในภาพยนตร์เรื่อง "รักแรกอุ้ม" ในปี พ.ศ. 2531 และ "พริกขี้หนูกับหมูแฮม" ในปี พ.ศ. 2532 จากนั้นในปี พ.ศ. 2534 ได้แสดงในบท ตวง ในภาพยนตร์ฟิล์มนัวร์เรื่องแรกของวงการภาพยนตร์ไทย คือ กะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อน ประกบคู่กับ สุรศักดิ์ วงษ์ไทย และ อังคณา ทิมดี จากนั้นในปี พ.ศ. 2536 ด้วยท่าทีที่ยียวน ชอบหลิ่วตาและทำปากเบ้เหมือนโรเบิร์ต มิตชั่ม ดาราฮอลลีวู้ด ขจรศักดิ์จึงได้ออกอัลบั้มเพลงในสังกัดแกรมมี่ในมาดกวน ๆ ในชื่อชุด "สงวนลิขสิทธิ์" มีเพลงที่ฮิตและได้รับความนิยมมาจนปัจจุบัน คือ "อย่าคิดมาก", "ใครไม่เกี่ยวก็ถอยไป", "พ่อ" เป็นต้น หลังจากนั้น บทบาทในวงการบันเทิงของขจรศักดิ์ก็ได้ห่างหายไป จนปัจจุบัน ได้รับบทเป็นตัวประกอบในภาพยนตร์บางเรื่องบ้าง เช่น เสือ โจรพันธุ์เสือ ในปี พ.ศ. 2541, 102 ปิดกรุงเทพปล้น ในปี พ.ศ. 2547, รักสยามเท่าฟ้า ในปี พ.ศ. 2551 เป็นต้น.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและขจรศักดิ์ รัตนนิสสัย · ดูเพิ่มเติม »

ณ ขณะรัก

ณ ขณะรัก หรือชื่ออื่นว่า อะโมเมนต์อินจูน (A Moment in June) เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายในประเทศไทยเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ผลงานกำกับของ ณัฐพล วงศ์ตรีเนตรกุล นำแสดงโดย ชาคริต แย้มนาม, กฤษดา สุโกศล แคลปป์, เดือนเต็ม สาลิตุล, สินิทธา บุญยศักดิ์, นภัสกร มิตรเอม, สุเชาว์ พงษ์วิไล, มยุริญ ผ่องผุดพันธ์ และ ฮิโระ ซะโนะ ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับเกียรติให้ฉายเปิดเทศกาลและฉายอย่างเป็นทางการครั้งแรกของโลกที่ “เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติปูซาน ครั้งที่ 13” ประเทศเกาหลีใต้ เมื่อเดือนตุลาคม 2551 เนื้อหาของเรื่องเป็นเรื่องราวความรักและความสัมพันธ์ที่เคยพลาดของคน 6 คนที่ผ่านบทเพลงที่ทำให้พวกเขามาพบกัน โดยเป็นเหตุการณ์ 2 ห้วงเวลาในปี 2515 และ 2542 มีเพลงประกอบภาพยนตร์คือ เพลง "ความคิด" เนื้อร้อง-ทำนอง-ขับร้อง อภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข ภาพยนตร์ทำรายได้ 5.62 ล้านบาท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและณ ขณะรัก · ดูเพิ่มเติม »

ณัฏฐพงษ์ ชาติพงษ์

ณัฏฐพงษ์ ชาติพงศ์ (ชื่อเล่น ฟรอยด์) เกิด 15 ธันวาคม พ.ศ. 2529 จบการศึกษาระดับมัธยมปลายจาก โรงเรียนสตรีวิทยา 2 ระดับปริญญาตรีที่ คณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากซิทคอม บ้านนี้มีรัก และภาพยนตร์เรื่อง พี่มาก..พระโขนง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและณัฏฐพงษ์ ชาติพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐพัชร์ นิมจิรวัฒน์

ณัฐพัชร์ นิมจิรวัฒน์ (ชื่อเล่น: แม็ค) เกิดเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2550 เป็นนักแสดงเด็กและนายแบบเด็ก ชาวไทย มีชื่อเสียงจากละครโทรทัศน์เรื่อง ทองเนื้อเก้า ในบท "วันเฉลิม" และ ละครโทรทัศน์เรื่อง กลกิโมโน ในบท "ฮิโตชิ" และเป็นน้องชายของ นภัสธนันท์ นิมจิรวัฒน์ (ชื่อเล่น:มายด์) ขณะนี้ ณัฐพัชร์กำลังศึกษาอยู่ระดับชั้น ป.4 โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลั.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและณัฐพัชร์ นิมจิรวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐวุฒิ สกิดใจ

ณัฐวุฒิ สกิดใจ (เกิด 2 ธันวาคม พ.ศ. 2517) ชื่อเล่น ป๋อ เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย มีผลงานสร้างชื่อจากละครเรื่อง เก็บแผ่นดิน หลังจากเขาหมดเซ็นสัญญากับสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เขาก็ได้เซ็นสัญญากับทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและณัฐวุฒิ สกิดใจ · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐสิทธิ์ โกฏิมนัสวนิชย์

ณัฐสิทธิ์ โกฏิมนัสวนิชย์ ชื่อเล่น เบสท์ เกิดเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2536 เป็นนักแสดงไทย เบสท์จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเทพศิรินทร์ และจบการศึกษาเอกภาพยนตร์ สาขาออกแบบเพื่องานภาพยนตร์จากวิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและณัฐสิทธิ์ โกฏิมนัสวนิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดรีมทีม

รีมทีม ฮีโร่ฟันน้ำนม เคยออกฉายแล้วเมื่อวันที่ 3 เมษายน ปี พ.ศ. 2551 จำหน่ายโดย อาร์ เอส.ฟิล์ม ทำรายได้รวม 35 ล้านบาท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและดรีมทีม · ดูเพิ่มเติม »

ดอกดิน กัญญามาลย์

นกน้อย (2507) เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกที่รายได้เกินหนึ่งล้านบาท ดอกดิน กัญญามาลย์ (25 ตุลาคม พ.ศ. 2467 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2561) ชื่อเล่น ดินนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้สร้างภาพยนตร์ ได้รับการเชิดชูเกียรติรางวัลนราธิปประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและดอกดิน กัญญามาลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดอกไม้ในทางปืน

อกไม้ในทางปืน ภาพยนตร์ไทยแนวแอคชั่น-ดราม่าจาก ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น จากฝีมือการกำกับของ มานพ อุดมเดช นำแสดงโดย ดอม เหตระกูล กรกฏ ธนภัทร และ นุชนาฎ สายชมภู ออกฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและดอกไม้ในทางปืน · ดูเพิ่มเติม »

ดอม เหตระกูล

อม เหตระกูล เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2519 เป็นนักแสดง พิธีกร และนายแบบไทย เป็นบุตรชายคนโตของนายประชา เหตระกูล ประธานผู้บริหารหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ การศึกษาประถม - มัธยมปลายจาก โรงเรียนอัสสัมชัญ บางรัก กรุงเทพฯ และปริญญาตรีจากคณะบริหารธุรกิจ ภาคภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยมหิดล โครงการวิทยาลัยนานาชาติ เข้าสู่วงการจากการชักชวนของคุณมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ เริ่มด้วยการประกวดหนุ่มแพรว จากนั้นมีผลงานการแสดงด้วยการเป็นดารารับเชิญใน เจ้าพ่อจำเป็น รักหลอก ๆ อย่าบอกใคร รักเธอเสมอ (เรือ) พอใกล้เรียนจบจึงได้เป็นพระเอกเต็มตัวใน เสือ โจรพันธุ์เสือ, ล่าระเบิดเมือง มีงานละครทางช่อง 3 เช่น เรื่องกัลปังหา, เขยลิเก, 5 คม, เล่ห์ลับสลับร่าง ทางช่อง 5 เรื่อง แสนแสบ และเป็นพิธีกรรายการ กระตุกหนามเตย ด้านชีวิตส่วนตัว ดอมสมรสกับ ก้อย - ศศิลักษณ์ ฝ่ายจำปา มีบุตรสาว 1 คน และมีธุรกิจส่วนตัวคือ บริษัท บริทไบค์ จำกัด ซึ่งนำเข้าและเป็นตัวแทนจำหน่ายมอเตอร์ไซค์ แบรนด์ Triumph.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและดอม เหตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

ดามพ์ ดัสกร

มพ์ ดัสกร นักแสดงผู้รู้จักกันดีในบทของดาวร้ายในอดีต มีชื่อจริงว่า ดามพ์ เผด็จดัสกร (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น "ธนฤกษ์ ธัญมงคล") มีชื่อเล่นว่า "เบิ้ม" เกิดเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2488 ที่บ้านควนขี้แรด ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จบการศึกษาระดับปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการ จากมหาวิทยาลัยเกริก และปริญญาโทนิเทศศาสตร์ สาขาธุรกิจการท่องเที่ยวและบันเทิง จากมหาวิทยาลัยเกริก เริ่มต้นอาชีพด้วยการเป็นพนักงานต้อนรับชาวต่างประเทศ ที่สนามมวยราชดำเนิน จนกระทั่ง หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ไปพบถึงชวนเข้าสู่วงการบันเทิง โดยให้รับบทดาวร้ายครั้งแรกใน ภาพยนตร์ 16 มิลลิเมตร เรื่อง "หญิงก็มีหัวใจ" ฉายทางช่อง 7 สี ในปี พ.ศ. 2513 หลังจากนั้นได้เป็น พระเอกในละครโทรทัศน์เรื่อง "ปิง วัง ยม น่าน" โดยประกบกับ นางเอก ศิรินธร ศรอนงค์ มีผลงานภาพยนตร์เรื่องแรก "มันมากับความมืด" (ซึ่งเป็นเรื่องแรกของ สรพงษ์ ชาตรี และ ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล ด้วย) ที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดคือ "ทอง ภาค 1" นอกจากจะเป็นนักแสดงแล้วยังเป็นอำนวยการสร้างภาพยนตร์และกำกับภาพยนตร์เรื่อง "ดาวพระเสาร์" ในปี พ.ศ. 2525 แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ในระยะหลังได้กลับเข้าสู่วงการบันเทิงอีกครั้ง โดยการชักนำของ ประดิษฐ์ กัลย์จาฤก แห่ง บริษัทกันตนา และไพรัช สังวริบุตร แห่ง บริษัทดาราวิดีโอ ให้มารับบทดาวร้ายในละครโทรทัศน์ของช่อง 7 หลายเรื่อง เช่น เมืองโพล้เพล้, ผมอาถรรพ์, มนต์รักลูกทุ่ง, แม่นาคพระนคร, ปะการังสีดำ, สื่อกามเทพ, ขุนเดช, นางแมวป่า, ขุมทรัพย์แม่น้ำแคว และจวบจนถึงปัจจุบัน เคยได้รับรางวัลดาวร้ายยอดเยี่ยม จากการประกวดรางวัลผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ เมขลา ปี พ.ศ. 2538 จากบท "เศรษฐีจอม" ในละครโทรทัศน์เรื่อง "มนต์รักลูกทุ่ง" นอกจากนี้แล้ว ยังมีญาติผู้น้องของเจ้าตัวหลายคนก็ได้เป็นนักแสดงในบทร้ายตามมาอีกด้วย เช่น กิตติ ดัสกร, ภิญโญ ปานนุ้ย, ยุพข่าน เป็นต้น ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและดามพ์ ดัสกร · ดูเพิ่มเติม »

ดาวคะนอง (ภาพยนตร์)

วคะนอง (By the time it gets dark) เป็นภาพยนตร์ไทย กำกับโดยอโนชา สุวิชากรพงศ์ นำแสดงโดยวิศรา วิจิตรวาทการ, อารักษ์ อมรศุภศิริ, อภิญญา สกุลเจริญสุข, เพ็ญพักตร์ ศิริกุล, รัศมี เผ่าเหลืองทอง และ อัจฉรา สุวรรณ์ เริ่มฉายรอบปฐมทัศน์โลกที่โลการ์โน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ หลังจากนั้นออกฉายที่ประเทศเกาหลีใต้, อังกฤษ, แคนาดา และฮ่องกง ฯลฯ ส่วนในประเทศไทย อโนชาเลือกจะจัดฉายหนังรอบพิเศษสำหรับแขกรับเชิญเฉพาะกลุ่มในคืนวันที่ 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและดาวคะนอง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ดี๋ ดอกมะดัน

ี๋ ดอกมะดัน มีชื่อจริงว่า สภา ศรีสวัสดิ์ (เดิมชื่อ ศุภกรณ์) เกิดที่อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2494 จบการศึกษาประกาศนียบัตรขั้นสูง วิทยาลัยครู จังหวัดยะลา เริ่มอาชีพจากการเป็นครูที่จังหวัดยะลา และต่อมาเป็นโฆษกวงดนตรีลูกทุ่งชื่อดังต่าง ๆ จากนั้นก็ได้เป็นตลกแสดงบนเวทีคอนเสิร์ตลูกทุ่ง ใช้ชื่อหลายชื่อ แต่ไม่ประสบความสำเร็จถึงขั้นขีดสุดนานถึง 30 ปีเต็ม ต่อมาเริ่มมามีชื่อเสียงกับคณะเด๋อ ดู๋ ดี๋ ในปี พ.ศ. 2518 และเป็นพิธีกรในรายการพลิกล็อกคู่กับปัญญา นิรันดร์กุล ต่อมาได้รับเป็นนายกสมาคมศิลปินตลกแห่งประเทศไทย ในกลางปี พ.ศ. 2545 ปรากฏเป็นข่าวอื้อฉาวว่า ดี๋ ดอกมะดันถูกตรวจพบว่ามีปัสสาวะสีม่วงขณะอยู่ในผับ จึงต้องสงสัยว่าเสพยาเสพย์ติด แต่เจ้าตัวได้ปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา โดยบอกว่าเป็นยาแก้หอบหืด ซึ่งต่อมาเรื่องเสพยาเสพย์ติดนี้ก็ได้ถูกพิสูจน์ว่าไม่เป็นความจริงและศาลก็ได้ยกฟ้องจากนั้นก็มีข่าวว่าได้ตบปาก ต้อย แอ๊คเนอร์ บรรณาธิการหนังสือพิมพ์มายา ชาแนลถึงเลือดกลบปาก จนถูกกล่าวหาว่าเป็นตลกมาเฟีย เนื่องจากไม่พอใจที่ได้พาดหัวว่า ตลกดังอักษรย่อ ”ด “ หิ้วนักข่าวสาวเข้าม่านรูด ทั้ง ๆ ที่เรื่องนี้เป็นเรื่องล้อเล่นกันมานานถึง 17 ปี ในทางการเมือง ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 ดี๋ ดอกมะดันได้เข้าร่วมกับทางพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยด้วย และได้ขึ้นเวทีปราศรัยและนำคณะตลกแสดงบนเวทีด้วย ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น สภา ศรีสวัสดิ์ และลงเล่นการเมืองกับพรรคประชาธิปัตย์โดยลงสมัครเป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) เขตห้วยขวาง ในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งแต่อย่างใด ชีวิตส่วนตัวสมรสกับนางเสาวลักษณ์ ศรีสวัสดิ์ มีบุตรสาว 2 คน คือ พรรณวรินทร์ ศรีสวัสดิ์ (บีม) บุตรสาวคนโตที่เป็นนักแสดงชื่อดัง กับ มนชญา ศรีสวัสดิ์ (เบล) ปัจจุบันบุตรสาวทั้งสองเปลี่ยนชื่อและนามสกุลเป็น วรานิษฐ์ จิราโรจน์เจริญ และ ชยานิษฐ์ จิราโรจน์เจริญ ต่อมา ดี๋ ดอกมะดัน ได้ป่วยเป็นโรคหอบอย่างหนักเนื่องจากสูบบุหรี่หนักและอยู่กับสุนัขของตนมาอยู่ในห้องของตนเอง เริ่มเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลตั้งแต่ปลายเดือนกันยายน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและดี๋ ดอกมะดัน · ดูเพิ่มเติม »

ดนัย จารุจินดา

นัย จารุจินดา เป็นนักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2525 เป็นลูกชายคนโต มีน้องชาย 1 คน เขาเป็นญาติแท้ๆของ เติ้ล ตะวัน จารุจินดา จบการศึกษาระดับอนุบาลที่โรงเรียนจารุวัฒนานุกูล, ระดับประถมที่โรงเรียนซางตาครู้สศึกษา, เข้าศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม และระดับปริญญาตรีจากคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (เอแบค) เริ่มเข้าวงการบันเทิงเมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและดนัย จารุจินดา · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก อวอร์ด

มชัดลึก อวอร์ด เป็นรางวัลที่มอบให้กับบุคคลในวงการบันเทิงไทย ใน 4 สาขา คือ ละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ เพลงไทยสากล และเพลงลูกทุ่ง จัดโดย ฝ่ายข่าวบันเทิง หนังสือพิมพ์คมชัดลึก มีพิธีมอบรางวัลเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2547 จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคมชัดลึก อวอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 10

มชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 10 เป็นการแจกรางวัลให้แก่ศิลปิน นักแสดง โดยพิจารณาจากผลงานด้านวงการบันเทิงของไทยสาขาต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2555 พิธีการมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 ณ โรงละครอักษรา คิง พาวเวอร์ คอมเพล็กซ์ ซอยรางน้ำ.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11

มชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11 เป็นการแจกรางวัลของหนังสือพิมพ์คมชัดลึก โดยพิจารณาจากผลงานด้านวงการบันเทิงของไทยสาขาต่าง ๆ ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 12

มชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 12 เป็นการแจกรางวัลคมชัดลึก อวอร์ด เป็นครั้งที่ 12 โดยพิจารณาจากผลงานด้านวงการบันเทิงของไทยสาขาต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2557 พิธีการมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2558 ณ โรงละครอักษรา คิงเพาเวอร์ ซอยรางน้ำ.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 13

มชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 13 เป็นการแจกรางวัลคมชัดลึก อวอร์ด เป็นครั้งที่ 13 โดยพิจารณาจากผลงานด้านวงการบันเทิงของไทยสาขาต่าง ๆ ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 14

หมวดหมู่:กล่องท้ายเรื่อง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 2

มชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 2 ประจำปี 2547 (24 กุมภาพันธ์ 2548) จัดโดยหนังสือพิมพ์คมชัดลึก.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 3

มชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 3 ประจำปี 2548 (24 มกราคม 2549) จัดโดยหนังสือพิมพ์คมชัดลึก.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 4

มชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 4 จัดโดยหนังสือพิมพ์คมชัดลึก ที่บีอีซี เทโร ฮอลล์ (บางกอก ฮอลล์) สวนลุมไนท์บาซาร.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 5

มชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 5 จัดโดยหนังสือพิมพ์คมชัดลึก จัดเมื่อ วันที่ 13 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 6

มชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 6 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 7

มชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2552 จัดโดยหนังสือพิมพ์คมชัดลึก จัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 มกราคม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 8

มชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 8 เป็นการมอบรางวัลผลงานบันเทิงไทยยอดเยี่ยม ประจำปี พ.ศ. 2553 จัดโดยหนังสือพิมพ์ คม ชัด ลึก ณ บางกอกคอนเวนชัน เซ็นเตอร์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว โดยรางวัลประเภทเพลงไทยลูกทุ่ง จัดขึ้นในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2554 ส่วนรางวัลประเภทละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และเพลงไทยสากล จัดขึ้นในวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 9

มชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 9 เป็นการแจกรางวัลคมชัดลึก อวอร์ด เป็นครั้งที่ 9 โดยพิจารณาจากผลงานด้านวงการบันเทิงของไทยสาขาต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2554 พิธีการมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 ณ โรงละครอักษรา คิงเพาเวอร์ ซอยรางน้ำ.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

คมสัน นันทจิต

มสัน นันทจิต เป็นสถาปนิก นักเขียนเรื่องสั้น นักแสดง และพิธีกรรายการโทรทัศน์ เคยได้รับรางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 8 ประจำปี 2541 จากเรื่อง รัก-ออกแบบไม่ได้ และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิง ครั้งที่ 17 ประจำปี 2550 จากเรื่อง บ้านผีสิง คมสันจบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์ สังกัดทีวีบูรพา และ ดีเจในรายการ หนังหน้าแมว และ จดหมายเด็กแมว ทาง แคทเรดิโอ ผลงานการเขียนเรื่องสั้น เคยได้รับการตีพิมพ์ในนิตยสารช่อการะเกด ที่มีสุชาติ สวัสดิ์ศรี เป็นบรรณาธิการ นอกเหนือจากงานเขียนแล้ว คมสันยังมีผลงานแปลเรื่องสั้นภาษาญี่ปุ่นของ ฮารูกิ มุราคาม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคมสัน นันทจิต · ดูเพิ่มเติม »

ครูสมศรี

รูสมศรี เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและครูสมศรี · ดูเพิ่มเติม »

ความรักครั้งสุดท้าย

วามรักครั้งสุดท้าย เป็นละครโทรทัศน์แนวดราม่า จากปลายปากกาของ สุวรรณี สุคนธา นิยายเรื่องนี้เคยได้รับการสร้างเป็นภาพยนตร์มาแล้ว 2 รอบ ครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและความรักครั้งสุดท้าย · ดูเพิ่มเติม »

ความจำสั้น แต่รักฉันยาว

วามจำสั้น แต่รักฉันยาว (Best of Times) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก/ดราม่า มีกำหนดเข้าฉายในโรงภาพยนตร์วันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2552 กำกับโดย ยงยุทธ ทองกองทุน โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากภาพยนตร์สั้นเรื่อง เวลา…รัก โดย ขนิษฐา ขวัญอยู่ ภาพยนตร์ทำรายได้ 49.1 ล้านบาท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและความจำสั้น แต่รักฉันยาว · ดูเพิ่มเติม »

คาดเชือก

ือก เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคาดเชือก · ดูเพิ่มเติม »

คำพิพากษาของมหาสมุทร

ำพิพากษาของมหาสมุทร ออกฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2549 เขียนบทภาพยนตร์โดย ปราบดา หยุ่น กำกับภาพโดย คริสโตเฟอร์ ดอยล์ และจัดจำหน่ายโดย ไฟว์สตาร.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคำพิพากษาของมหาสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

คืนบาป พรหมพิราม

ืนบาป พรหมพิราม เป็นภาพยนตร์อาชญากรรม ที่สร้างจากนวนิยายเชิงอาชญวิทยา ของนที สีทันดร (สันติ เศวตวิมล) ซึ่งมีเค้าโครงจากเรื่องจริงที่เกิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคืนบาป พรหมพิราม · ดูเพิ่มเติม »

คน ผี ปีศาจ

น ผี ปีศาจ เป็นภาพยนตร์ไทยแนวสยองขวัญซึ่งชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล กำกับ และออกฉายในประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2547.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคน ผี ปีศาจ · ดูเพิ่มเติม »

คนป่วนสายฟ้า

นป่วนสายฟ้า (Destiny Upside Down) ภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2540.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคนป่วนสายฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

คนเลี้ยงช้าง

นเลี้ยงช้าง ภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคนเลี้ยงช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ตั้งวง

ตั้งวง เป็นภาพยนตร์ไทย เขียนบทและกำกับโดยคงเดช จาตุรันต์รัศมี อำนวยการสร้างโดย ติ๊ก กัญญารัตน์ เป็นภาพยนตร์ที่สร้างจากเงินทุนสนับสนุนของสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม มีเนื้อหาเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย โดยสอดแทรกเหตุการณ์ทางการเมืองไทยไว้เป็นฉากหลัง ในแง่มุมของบริบททางสังคม ภาพยนตร์ได้รับการคัดเลือกให้เข้าประกวดในเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเบอร์ลิน สาย Generation และเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติฮ่องกง เนื้อเรื่องกล่าวถึงเด็กวัยรุ่น 4 คนที่ประสบปัญหาชีวิต จึงมาบนบานศาลกล่าวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และจำเป็นต้องมาฝึกฝนรำไทยกับนางรำ เพื่อรำแก้บนตามที่ได้บนบานไว้.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและตั้งวง · ดูเพิ่มเติม »

ตายโหง ตายเฮี้ยน

ตายโหงตายเฮี้ยน หรือ ตายโหง 2 เป็นภาพยนตร์ไทยแนวสยองขวัญ สร้างโดยพระนครฟิลม์ กำกับโดย พจน์ อานนท์, ธนดล นวลสุทธิ์, ธรรมนูญ สกุลบูรณ์ถนอม, อชิร นกเทศ เป็นภาคต่อของภาพยนตร์เรื่อง "ตายโหง" ซึ่งเป็นภาพยนตร์ที่นำข่าวหน้าหนึ่งจากเรื่องที่เกิดขึ้นจริงทั้ง 4 เรื่องมาทำเป็นภาพยนตร์ 4 เรื่องสยอง 4 โศกนาฏกรรม จากข่าวหน้า 1 สู่แผ่นฟิล์ม มีกำหนดเข้าฉาย 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและตายโหง ตายเฮี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กแกรักแป้งมาก

ตุ๊กแกรักแป้งมาก เป็นภาพยนตร์ไทยในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและตุ๊กแกรักแป้งมาก · ดูเพิ่มเติม »

ตีสาม คืนสาม 3D

ตีสามคืนสาม 3D (3AMpart2) เป็นภาพยนตร์ไทย 3 มิติแนวสยองขวัญสั้น 3 เรื่อง สร้างโดย ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น กำกับโดย พุฒิพงศ์ สายศรีแก้ว, กิรติ นาคอินทนนท์ และ อิสรา นาดี นำแสดงโดย เรย์ แมคโดนัลด์, อินทัช เหลียวรักวงศ์, ธวัช พรรัตนประเสริฐ, เพตี้อิ โฮการิ, ศุทธสิทธิ์ พจน์ฐศักดิ์, วรชัย นวลศรี ในคืน 3 สิ พิชญ์สินี ตันวิบูลย์, ศุภนาฏ จิตตลีลา, ฤๅชนก มีแสง, หทัยชัช เอื้อกิตติโรจน์ ในคอนแวนต์, สินจัย เปล่งพานิช, จิราวัฒน์ วชิรศรัณย์ภัทร, ธวัช พรรัตนประเสริฐ, พงศธร ศรีปินตา ในกงเต๊ก โดยเป็นเรื่องราวสยองขวัญที่เกิดขึ้น ณ ช่วงเวลาตีสาม ที่เชื่อกันว่าวิญญาณของคนตายจะใกล้ชิดกับคนเป็นมากที่สุด กำหนดเข้าฉายในวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2557 ภาพยนตร์ทำรายได้ 20.6 ล้านบาท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและตีสาม คืนสาม 3D · ดูเพิ่มเติม »

ต้มยำกุ้ง (ภาพยนตร์)

ต้มยำกุ้ง (Tom-Yum-Goong) เป็นภาพยนตร์ศิลปะการต่อสู้ ที่นำแสดงโดย ทัชชกร ยีรัมย์ หรือ จา พนม ผลงานการกำกับโดย ปรัชญา ปิ่นแก้ว ออกฉายในวันที่ 11 สิงหาคม ปี พ.ศ. 2548 ในประเทศไทย ภาพยนตร์ทำรายได้ในประเทศไทย 183.35 ล้านบาท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและต้มยำกุ้ง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ต้องปล้น

ต้องปล้น เป็นภาพยนตร์ไทยแนวแอ็คชั่น ที่มีทั้งฉากตลก และฉากสะท้อนชีวิต ออกฉายในปี พ.ศ. 2533 โดย ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น เรื่องราวของเด็กหนุ่มสามคนที่วางแผนปล้นธนาคาร เพื่อชีวิตที่ดีกว่าในปัจจุบัน แต่แผนการล้มเหลว ทั้งสามถูกตำรวจตามล่า จนหนีมาซ่อนตัวที่อพาร์ทเม้นท์แห่งหนึ่ง ตัวประกันหลายคนต้องมาอยู่รวมกัน แต่ละคนมีชีวิตที่แตกต่างกันออกไป ในที่สุดทั้งสองคนก็ต้องประสบกับชะตากรรมที่เกิดขึ้น ปัจจุบันเรื่องนี้ทางบีเคพีนำมารีมาสเตอร์ใหม่ภายใต้โปรเจกต์ The Legend Collection ซึ่งเรื่องนี้ก็เป็นภาพยนตร์ในตำนานอีกเรื่องหนึ่งที่ควรค่าแก่การเก็บสะสมเช่นกัน.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและต้องปล้น · ดูเพิ่มเติม »

ฅนไฟบิน

นไฟบิน (Dynamite Warrior)เป็นภาพยนตร์ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะมวยไทย ออกฉายเมื่อ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ผลิตจัดจำหน่ายโดย สหมงคลฟิล์ม กำกับโดย เฉลิม วงศ์พิม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและฅนไฟบิน · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย เปล่งพานิช

ฉัตรชัย เปล่งพานิช นักแสดงชาวไทย มีชื่อเล่นว่า นก เกิดวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2503 ที่จังหวัดกาญจนบุรี เป็นบุตรชายของ พล.ต.อ.ถวิล เปล่งพานิช ชีวิตวัยเด็กต้องย้ายที่อยู่ตามอาชีพราชการของบิดา เข้าเรียนหนังสือในชั้นอนุบาลที่โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี ชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนสตรีวรนารถ แล้วไปต่อที่โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ฯ จนจบมัธยมศึกษาตอนปลายและระดับปริญญาตรี ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและฉัตรชัย เปล่งพานิช · ดูเพิ่มเติม »

ซักซี้ด ห่วยขั้นเทพ

ซัก ซี้ด ห่วยขั้นเทพ (Suck Seed ห่วยขั้นเทพ) เป็นภาพยนตร์ไทย เข้าฉายเมื่อ 17 มีนาคม พ.ศ. 2554 โดย จีทีเอช เป็นภาพยนตร์ร็อควัยรุ่น กำกับโดย ชยนพ บุญประกอบ (หมู) ผู้กำกับหน้าใหม่ของจีทีเอช ที่สานฝันต่อ 365 ฟิล์ม ผู้กำกับแฟนฉัน นำแสดงโดย จิรายุ ละอองมณี, ณัฐชา นวลแจ่ม, พชร จิราธิวัฒน์, ธวัช พรรัตนประเสริฐ และ ในภาพยนตร์นี้มีวงดนตรีร็อคเกอร์รับเชิญ เช่น บอดี้สแลม, บิ๊กแอส, โซคูล, แบล็คเฮด, พาราด็อกซ์, โมเดิร์นด็อก Suck Seed ห่วยขั้นเทพ เป็นภาพยนตร์รักวัยรุ่น โรแมนติก คอมเมอดี้ ที่มีเรื่องราวความรัก ตลก วัยรุ่น และเป็นภาพยนตร์มุมวัยรุ่นที่สดใหม่ นำแสดงโดย นักแสดงหน้าใหม่อีก 4-5 คน ที่ จีทีเอช เตรียมปั้นให้แจ้งเกิดในวงการ Suckseed ห่วยขั้นเทพ ทำรายได้ประจำสัปดาห์และทำเงินในสี่วันแรกไปถึง 21 ล้านบาท และทำรายได้ทั้งหมด 78.32 ล้านบาท มีการจัดงาน “SuckSeed To Success เลี้ยงรุ่น 80 ล้าน” เพื่อฉลองความสำเร็จของภาพยนตร์ ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้ออกฉายที่ประเทศไต้หวันในงานเทศกาลภาพยนตร์ไทเป ฟิล์ม เฟสติวัล ประเทศไต้หวัน มีผู้ชมนับพันคน และต่อคิวขอลายเซ็น ผู้กำกับ นักแสดง นานกว่า 2 ชั่วโมง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและซักซี้ด ห่วยขั้นเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ซาไกยูไนเต็ด

ซาไกยูไนเต็ด เป็นภาพยนตร์ไทย จัดฉายครั้งแรก ณ วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2547 กำกับโดย สมจริง ศรีสุภาพ และเขียนบทโดย สมภพ เวชชพิพัฒน.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและซาไกยูไนเต็ด · ดูเพิ่มเติม »

ซุ้มมือปืน

ซุ้มมือปืน เป็นภาพยนตร์ไทยแอคชั่น ดราม่า กำกับการแสดงโดยสนานจิตต์ บางสะพาน ออกฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและซุ้มมือปืน · ดูเพิ่มเติม »

ปรมะ อิ่มอโนทัย

ปรมะ อิ่มอโนทัย (ชื่อเดิม กวิน อิ่มอโนทัย) (เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2529) ชื่อเล่น ปั้นจั่น เป็นนักแสดง นักร้อง นายแบบ และพิธีกรชาวไทย และอดีตสมาชิกวง Nice 2 Meet U.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและปรมะ อิ่มอโนทัย · ดูเพิ่มเติม »

ประจวบ ฤกษ์ยามดี

ประจวบ ฤกษ์ยามดี ชื่อเล่น น้อย (15 มิถุนายน พ.ศ. 2476 - 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักแสดงชาวไทย ฉายา ดาวร้ายผู้น่ารัก ที่ผู้ชมคุ้นเคยกับบทบาทผู้ช่วยพระเอก-นางเอก หรือผู้ร้ายที่มักกลับใจมาช่วยฝ่ายพระเอกในตอนท้าย ที่มีผลงานบทสมทบในภาพยนตร์ไทยจำนวนมากกว่าร้อยเรื่อง มักรับบทพระรองคู่พระเอก อย่าง มิตร ชัยบัญชา และสมบัติ เมทะนี และยังเป็นดาวร้ายเจ้าของรางวัล 2 ตุ๊กตาทอง ประจวบ ฤกษ์ยามดีในการแสดง ประจวบ ฤกษ์ยามดี เป็นบุตรคนสุดท้อง เป็นน้องชายของ ยุวนุช ฤกษ์ยามดี ดาราละครเวทีชื่อดังในอดีตและประจวบยังเป็นน้องภรรยาของผู้กำกับภาพยนตร์ ทวี ณ บางช้าง หรือครูมารุต เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงด้วยการทำงานอยู่ในโรงถ่ายหนุมานภาพยนตร์ของ รัตน์ เปสตันยี ต่อมาได้เริ่มต้นในวงการบันเทิงด้วยการแนะนำจากครูมารุต ผู้กำกับมือดีซึ่งเป็นพี่เขยของเขาเอง ได้แสดงในภาพยนตร์เรื่องแรก ชั่วฟ้าดินสลาย (2498) รับบทเป็น ทิพย์ และภาพยนตร์ที่โด่งดังเป็นที่รู้จักของแฟนๆมากที่สุดได้แก่เรื่อง รักริษยา (2501) กำกับโดย มารุต ได้แจ้งเกิดในบทดาวร้ายจากเรื่องนี้และได้ตุ๊กตาทองจากภาพยนตร์เรื่องนี้ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและประจวบ ฤกษ์ยามดี · ดูเพิ่มเติม »

ปราโมทย์ แสงศร

ปราโมทย์ แสงศร นักร้อง นักแสดง นายแบบชาวไทย เริ่มเข้าสู่วงการจาการชักชวนของพจน์ อานนท์ และเป็นที่รู้จักจากการแสดงภาพยนตร์เรื่องกลิ้งไว้ก่อน พ่อสอนไว้ และยังเคยออกอัลบั้มเดี่ยวภายใต้สังกัดอาร์เอส โปรโมชั่น.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและปราโมทย์ แสงศร · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญา เจริญผล

ปริญญา เจริญผล หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ น้องตุ้ม เกิดเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและปริญญา เจริญผล · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา ชนะภัย

ปรีชา ชนะภัย หรือที่รู้จักกันในชื่อ เล็ก คาราบาว เป็นนักแสดง นักร้อง นักดนตรี และมือกีตาร์วงคาราบาว และเป็นนักกีตาร์ฝีมือดีคนหนึ่งของเมืองไทย มีความสามารถในการเล่นกีตาร์โดยไม่ใช้ปิ๊ก มีฝีมือการโซโล่กีตาร์อันดับต้น ๆ ของประเทศ รวมทั้งเล่นเครื่องดนตรีได้หลากหลาย เช่น แบนโจ, คีย์บอร์ด, เปียโน, กลอง, ซอ เป็นต้น บทเพลงที่แสดงถึงความสามารถทางดนตรีของเล็กที่เห็นเด่นชัดคือเพลง ขุนเขายะเยือก ซึ่งเป็นเพลงบรรเลงที่มีการโซโล่กีตาร์ยาวนานถึง 5 นาที ในอัลบั้ม หากหัวใจยังรักควาย ในปี พ.ศ. 2538 ที่สมาชิกวงในยุคคลาสสิกไลน์อัพกลับมารวมตัวกันอีกครั้ง หลังจากที่แยกย้ายกันไปทำอัลบั้มเดี่ยวของแต่ละคน.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและปรีชา ชนะภัย · ดูเพิ่มเติม »

ปรเมศร์ น้อยอ่ำ

ปรเมศร์ น้อยอ่ำ เป็นนักแสดง และนักโฆษณาชาวไทย มีผลงานการแสดงเป็นที่รู้จักจากภาพยนตร์เรื่อง บอดี้ ศพ19 ซึ่งจากเรื่องนี้ทำให้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง สาขานักแสดงสมทบยอดเยี่ยม หลังจากนั้นในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและปรเมศร์ น้อยอ่ำ · ดูเพิ่มเติม »

ปัญญา นิรันดร์กุล

ปัญญา นิรันดร์กุล เป็นพิธีกรและนักแสดงชาวไทย หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง และประธานบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและปัญญา นิรันดร์กุล · ดูเพิ่มเติม »

ปิดเทอมใหญ่ หัวใจว้าวุ่น

ปิดเทอมใหญ่ หัวใจว้าวุ่น (ชื่อภาษาอังกฤษ: Hormones) เป็นภาพยนตร์ไทยกำกับโดย ทรงยศ สุขมากอนันต์ โดยค่ายจีทีเอช นำแสดงโดย ชาลี ไตรรัตน์, ศิรชัช เจียรถาวร, อังศุมาลิน สิรภัทรศักดิ์เมธา, โฟกัส จีระกุล, รัชชุ สุระจรัส, ชุติมา ทีปะนาถ, ฉันทวิชช์ ธนะเสวี, ธนิยา อำมฤตโชติ และอาโออิ โซระ ออกฉายเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2551 เป็นภาพยนตร์ที่เล่าความรักหลากรูปแบบของหนุ่มสาว โดยแบ่งออกเป็น 4 ตอน ตัวละครแต่ละตอนไม่มีความเกี่ยวเนื่องกัน โดยเนื้อเรื่องทั้งหมดเป็นเรื่องที่เกิดในช่วงปิดเทอมใหญ่ พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและปิดเทอมใหญ่ หัวใจว้าวุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์

ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์ (เต้) นักแสดง เกิดเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2525 จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกัลยา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สำเร็จการศึกษาจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา มีผลงานสร้างชื่อในวงการบันเทิง คือ ภาพยนตร์เรื่อง ไอ้ฟัก โดยแสดงคู่กับ บงกช คงมาลัย ปัจจุบันสมรสแล้วกับแฟนสาวนอกวงการหลังคบหาดูใจกันมา 5 ปีเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและปิติศักดิ์ เยาวนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปืนใหญ่จอมสลัด

ปืนใหญ่จอมสลัด ภาพยนตร์แนวแฟนตาซีอิงประวัติศาสตร์ของ นนทรีย์ นิมิบุตร ทุนสร้าง 140 ล้านบาท เขียนบทภาพยนตร์โดย วินทร์ เลียววาริณ นักเขียนรางวัลซีไรต์ และคงเดช จาตุรันต์รัศมี.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและปืนใหญ่จอมสลัด · ดูเพิ่มเติม »

น.ช. นักโทษชาย

น..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและน.ช. นักโทษชาย · ดูเพิ่มเติม »

นพชัย ชัยนาม

นพชัย ชัยนาม (ชื่อเล่น: ปีเตอร์) เป็นนักแสดงลูกครึ่งไทย-เยอรมัน มีบทบาทการแสดงเป็นที่จดจำจากเรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช รับบทเป็น "บุญทิ้ง" หรือ "ออกพระราชมนู" นพชัยสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นพชัยเริ่มเข้าสู่วงการ โดยการถ่ายภาพยนตร์โฆษณา สเปรย์รอยัล จากนั้นมีผลงานแสดงละคร เช่น เจ้าสาวของอานนท์ สะพานดาว เลือกแล้วคือเธอ ฯ จากนั้นได้แสดงภาพยนตร์เรื่องแรกในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและนพชัย ชัยนาม · ดูเพิ่มเติม »

นพพล โกมารชุน

นพพล โกมารชุน (ชื่อเล่น: ตู่) เป็นบุตรชายของนักแสดงอาวุโส เสนอ โกมารชุน (พี่ชายของ เสน่ห์ โกมารชุน) และ จุรี โอศิริ มีพี่ชายหนึ่งคนคือ นายจามร โกมารชุน (ถึงแก่กรรม) แสดงภาพยนตร์โดยเป็นตัวเอกในหลายเรื่อง แต่ที่สร้างชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่กล่าวถึงอย่างแท้จริงด้วยกันสามบทบาท คือ การรับบท อินทร ชายหนุ่มผู้เย็นชาทนงตัวแต่แฝงด้วยความอบอุ่นอ่อนโยนและแอบรัก ละเวง มัณฑนากรสาวนางเอกของเรื่อง ในละคร เก้าอี้ขาวในห้องแดง ทางช่อง 3 (พ.ศ. 2527) ประกบคู่กับ มยุรา เศวตศิลา ซูหลิน หนุ่มจีนแผ่นดินใหญ่ผู้แสนดีและมีอุดมการณ์ ในละคร กนกลายโบตั๋น ทางช่อง 7 (พ.ศ. 2533) คู่กับ ปรียานุช ปานประดับ และเกิดเป็นความรักจนกลายเป็นคู่ชีวิตกันในเวลาต่อมา หลังจากนั้นก็สร้างความประทับใจให้ผู้ชมอีกครั้งกับบท อาเหลียง ในละครโทรทัศน์เรื่อง ลอดลายมังกร ในปี พ.ศ. 2535 ทางช่อง 7 ประกบคู่กับปรียานุช ปานประดับ และ อภิรดี ภวภูตานนท์ ประสบความสำเร็จอย่างงดงาม ต่อมา นพพลจึงเปลี่ยนบทบาทไปรับบทรองในภาพยนตร์และละครโทรทัศน์อีกหลายเรื่อง เช่น มือปืน 2 สาละวิน ในปี พ.ศ. 2536 เป็นต้น และในยุคอดีตนั้น ช่วงปลายปี พ.ศ. 2532 ถึงปลายปี พ.ศ. 2536 นพพลเคยเป็นพิธีกรรายการ จุดเดือด ของ เจเอสแอล คู่กับ กาญจนาพร ปลอดภัย และ จรียา ทิพยะวัฒน์ และเคยเป็นพิธีกรรายการ เจาะโลกมหัศจรรย์ ด้วย ช่วงเวลาดังกล่าว นอกจากนี้แล้ว นพพล ยังผันตัวเองไปทำงานเบื้องหลัง โดยเฉพาะในฐานะผู้กำกับละคร ป้อนงานผลิตให้ช่อง 3 กับบริษัท ยูม่า จำกัด เช่น กตัญญูประกาศิต (พ.ศ. 2533), น้ำตาหยดสุดท้าย (พ.ศ. 2536), โสมส่องแสง (พ.ศ. 2537) เป็นต้น โดยมีนักแสดงคู่ใจอย่าง ฉัตรชัย เปล่งพานิช รับบทเป็นพระเอกให้แทบทั้งหมด ชีวิตส่วนตัว นพพล สมรสกับ ปรียานุช ปานประดับ ภรรยานักแสดงที่พบรักกันจากการร่วมแสดงในเรื่องกนกลายโบตั๋น แต่ทั้งคู่ไม่มีบุตรด้วยกัน เนื่องจากปรียานุชร่างกายไม่แข็งแรง ปัจจุบัน ได้ผันตัวเองเป็นผู้กำกับละครและผู้จัดละคร โดยเปิดกิจการของตนเอง ชื่อ บริษัท เป่าจินจง เมื่อปี 2541.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและนพพล โกมารชุน · ดูเพิ่มเติม »

นพัตฏ์ธร มัททวีวงศ์

นพัตฏ์ธร มัททวีวงศ์ หรือ โจ๊กเกอร์ นพชัย (ชื่อเล่น: โจ๊กเกอร์) เป็นนักแสดงชาวไทย เดิมชื่อ นพชัย มัททวีวงศ์ เขาวงการโดยการชักนำของ พจน์ อานนท์ เคยมีอัลบั้มเพลงของตนเองมาแล้ว 1 ชุดเมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและนพัตฏ์ธร มัททวีวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

นกน้อย

นกน้อย (2507) นกน้อย เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและนกน้อย · ดูเพิ่มเติม »

นะโม ทองกำเหนิด

ทองเปาด์ ทองกำเหนิด (ชื่อเล่น นะโม) เกิดเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2530 เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มเข้าสู่วงการในปี พ.ศ. 2548 โดยเริ่มถ่ายแบบลงหนังสือวัยรุ่นและนิตยสารต่าง ๆ แสดงโฆษณา Tros และ Orange ก่อนเซ็นต์สัญญาเป็นนักแสดงในสังกัดไฟว์สตาร์โปรดักชั่นในกลางปีเดียวกัน โดยกอบสุข จารุจินดา ได้นำชื่อเล่น นะโม มาใช้ในงานแสดงแทนชื่อจริง ปัจจุบันเป็นนักแสดงในสังกัดไฟว์สตาร์โปรดักชั่น โดยนำแสดงภาพยนตร์เรื่อง ลองของ พ.ศ. 2548 เป็นเรื่องแรก ในปีต่อ ๆ มาได้แสดงภาพยนตร์เรื่อง แฝด, ผีจ้างหนัง, ลองของ 2, อนึ่ง...คิดถึงเป็นอย่างยิ่ง และสวัสดีบางกอก ตามลำดั.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและนะโม ทองกำเหนิด · ดูเพิ่มเติม »

นาคปรก (ภาพยนตร์)

นาคปรก (อังกฤษ: In the Shadow of the Naga) เป็นภาพยนตร์ไทย แนวแอ็กชั่น-ดราม่า ผลงานกำกับการแสดงโดย ภวัต พนังคศิริ ผลิตโดย สหมงคลฟิล์ม ออกฉายเมื่อ 18 มีนาคม พ.ศ. 2553 (2010) ได้รับการจัดเรตติ้งภาพยนตร์ประเภท น 18+ (ภาพยนตร์ที่เหมาะสมกับผู้มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป) เขียนบทโดย ภวัต พนังคศิริ, ณัฐ นวลแพง, โกเศส ชฤทธิ์พร, พีระภัทร ชูตระกูล, โยธิน สวัสดิ์เรือง นำแสดงโดย สมชาย เข็มกลัด, เรย์ แมคโดนัลด์, ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์, พศิน เรืองวุฒิ, ทราย เจริญปุระ, สะอาด เปี่ยมพงษ์สานต์, ธีรยุทธ ปรัชญาบำรุง, อรรคพันธ์ นะมาตร์ และ รัชนู บุญชูดวง ภาพยนตร์ทำรายได้ 35 ล้านบาท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและนาคปรก (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

นิรุตติ์ ศิริจรรยา

นิรุตติ์ ศิริจรรยา เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มต้นการศึกษาระดับประถมและมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ แล้วเดินทางไปเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรที่ประเทศออสเตรเลีย วิชาการบริหารธุรกิจ เป็นเวลา 1 ปีเต็ม และที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียอีก 2 ปีครึ่ง หลังกลับมาจากต่างประเทศ เข้าทำงานที่ AM PAC ตำแหน่งหน้าที่เอ็นจิเนียร์ จากนั้นย้ายไปทำงานตามสายการบินต่าง ๆ สุดท้ายคือบริษัทสายการบินอาลิตาเลีย นิรุตติ์เริ่มต้นด้วยการแสดงละครโทรทัศน์ โดยการชักชวนจาก เทิ่ง สติเฟื่อง และเข้าสู่วงการภาพยนตร์ จากนั้นนิรุตติ์ก็มีงานแสดงภาพยนตร์เรื่อยมา โดยส่วนใหญ่จะได้แสดงประกบพระเอกอื่นๆ แต่ก็ยังมีงานละครโทรทัศน์พร้อมอีกด้วย โฆษณ.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและนิรุตติ์ ศิริจรรยา · ดูเพิ่มเติม »

น้องเมีย

น้องเมีย (Song of Chaophraya) เป็นภาพยนตร์ไทย บทพระนิพนธ์ของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ สร้างเป็นภาพยนตร์ 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2521 และ พ.ศ. 2533 ได้แก.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและน้องเมีย · ดูเพิ่มเติม »

แบล็ค ผมทอง

แบล็ค ผมทอง หรือ เสมอ แก้วชน เป็นนักแสดงชาวไทยที่มักได้รับบทแสดงประกอบเป็น นักเลง หรือเจ้าพ่อ เคยได้รับรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง สาขานักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม จากเรื่อง เรื่องตลก 69 แบล็ค ผมทอง ทำธุรกิจส่วนตัว เป็นผู้ผลิตยาสระผม ครีมบำรุงผม ยาปลูกหนวดเครา น้ำมันสมุนไพร ใช้ชื่อผลิตภัณฑ์ว่า "แบล็คผมทอง".

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและแบล็ค ผมทอง · ดูเพิ่มเติม »

แฟนฉัน

แฟนฉัน เป็นภาพยนตร์ไทย เรื่องราวเกี่ยวกับ ความรักวัยเด็ก ในอดีตแห่งความทรงจำ กำกับการแสดงโดย กลุ่ม 365 ฟิล์ม และเข้าฉายเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและแฟนฉัน · ดูเพิ่มเติม »

แก๊งชะนีกับอีแอบ

แก๊งชะนีกับอีแอบ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 โดยค่าย จีทีเอช กำกับโดยยงยุทธ ทองกองทุน ภาพยนตร์ทำรายได้ 49.12 ล้านบาท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและแก๊งชะนีกับอีแอบ · ดูเพิ่มเติม »

แสบสนิท ศิษย์ส่ายหน้า

แสบสนิท ศิษย์ส่ายหน้า คือภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 กำกับโดย ฤกษ์ชัย พวงเพ็ชร์ นำแสดงโดย วรเวช ดานุวงศ์, ณัฐฐาวีรนุช ทองมี, จตุรงค์ พลบูรณ์, จิ้ม ชวนชื่น, โก๊ะตี๋ อารามบอย, ค่อม ชวนชื่น, เอกรัตน์ ขลิบเงิน, มนัสนันท์ ปานดี.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและแสบสนิท ศิษย์ส่ายหน้า · ดูเพิ่มเติม »

แผลเก่า (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2557)

แผลเก่า เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายเมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและแผลเก่า (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2557) · ดูเพิ่มเติม »

โกวิท วัฒนกุล

กวิท วัฒนกุล มีชื่อเล่นว่า แอ๊ด ที่โกวิทแสดงในเรื่อง ขุนศึก แต่มักอ่านออกเสียงเป็น "สะ-เมา" โดยคนแรกที่เรียกคือ สมจินต์ ธรรมทัต ผู้พากย์เสียงเป็นหมู่ขัน: ผู้จัดการรายสัปดาห์(ปริทรรศน์), 27 ม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโกวิท วัฒนกุล · ดูเพิ่มเติม »

โก๊ะตี๋ อารามบอย

ริญพร อ่อนละม้าย (เกิด 31 ธันวาคม พ.ศ. 2523) ชื่อในการแสดงว่า โก๊ะตี๋ อารามบอย หรือเดิมใช้ว่า โก๊ะตี๋ ผีน่ารัก เป็นนักแสดงชาวจังหวัดอ่างทอง จุดเด่นคือรูปร่างอ้วนและเหมือนเด็ก แทนตัวเองว่า "หนู" มีผลงานการแสดงหลายด้าน ทั้งตลก ภาพยนตร์ และละคร นอกจากนี้ ยังเป็นนักธุรกิจแอมเวย์ระดับแพลตินัมสองผู้สถาปน.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโก๊ะตี๋ อารามบอย · ดูเพิ่มเติม »

โลกทั้งใบให้นายคนเดียว

ลกทั้งใบให้นายคนเดียว (Romantic Blue) ภาพยนตร์เรื่องแรกของค่าย อาร์เอ.ฟิล์ม โดยเป็นลำดับที่สองของ บริษัท อาร์เอส โปรโมชั่น 1992 (เรื่องแรกคือ รองต๊ะแล่บแปล๊บ เมื่อ พ.ศ. 2535) แนวโรแมนติค ดราม่า แอ็คชั่น เข้าฉายครั้งแรกวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2538 และสามารถคว้ารางวัลตุ๊กตาทองมาได้ ก็เข้าฉายอีกครั้งในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2538 โดยสามารถทำรายได้ตลอดการฉายไปกว่า 55 ล้านบาท และเคยทำสถิติภาพยนตร์ไทยที่ทำรายได้สูงสุดตลอดกาลมาแล้ว.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโลกทั้งใบให้นายคนเดียว · ดูเพิ่มเติม »

โหมโรง

หมโรงอาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโหมโรง · ดูเพิ่มเติม »

โหมโรง (ภาพยนตร์)

หมโรง (The Overture) เป็นภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2547 ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับดนตรีไทย เนื้อเรื่องได้แรงบันดาลใจมาจากประวัติของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ได้รับรางวัลมากมายในประเทศ และยังได้รับเลือกในฐานะ Official Selection จากประเทศไทย ในการเข้าชิงสาขาภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยมในการประกาศรางวัลอะแคเดมีอีกด้วย กำกับโดย อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์ และอำนวยการผลิตโดย นนทรีย์ นิมิบุตร และ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ภาพยนตร์ทำรายได้ 52.72 ล้านบาท นำแสดงโดย อนุชิต สพันธุ์พงษ์, อดุลย์ ดุลยรัตน์, พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง, อาระตี ตันมหาพราน, สุเมธ องอาจ, ภูวฤทธิ์ พุ่มพวง และอาจารย์ณรงค์ฤทธิ์ โตสง่า จากวงบอยไทย รับบทเป็น ขุนอิน ภายหลังดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์ โดยออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส เมื่อ พ.ศ. 2555 และเป็นละครเวทีมิวสิคัลโดยเวิร์คพอยท์-โต๊ะกลมโทรทัศน์ แสดงที่โรงละครเคแบงก์สยามพิฆเนศ เมื่อ พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

โหน่ง ชะชะช่า

หน่ง ชะชะช่า ชื่อจริง ชูศักดิ์ เอี่ยมสุข (7 มิถุนายน พ.ศ. 2516) เป็นนักแสดงตลกชื่อดังจากแก๊งสามช่า มีลักษณะเด่นคือตัวอ้วนและศีรษะโล้น ตั้งฉายาให้ตนเองว่า "ตลกซุปเปอร์สตาร์" มีน้องชายที่เป็นตลกและนักแสดง คือ นุ้ย เชิญยิ้ม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโหน่ง ชะชะช่า · ดูเพิ่มเติม »

โอบนิธิ วิวรรธนวรางค์

อบนิธิ วิวรรธนวรางค์ เป็นนักแสดงชายชาวไทย เป็นที่รู้จักจากการรับบท แจ็ค เพื่อนของไผ่ 1 ในสมาชิกแก็งไฝว์ จากซีรีส์ ฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น และนอกจากงานด้านการแสดงแล้ว โอบนิธิยังมีผลงานพิธีกร และถ่ายแบบให้แก่นิตยสารต่าง ๆ อีกด้วย ปัจจุบันกำลังคบหาดูใจกับ อลิสา ขุนแขวง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโอบนิธิ วิวรรธนวรางค์ · ดูเพิ่มเติม »

โน้ต เชิญยิ้ม

น้ต เชิญยิ้ม ชื่อจริง บำเรอ ผ่องอินทรกุล ชื่อสกุลเดิมคือ ผ่องอินทรีย์ (7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 เป็นนักแสดงตลกผู้ก่อตั้งคณะเชิญยิ้ม ร่วมกับเป็ด เชิญยิ้ม (ธัญญา โพธิ์วิจิตร) สรายุทธ สาวยิ้ม สีหนุ่ม เชิญยิ้ม (บุญธรรม ฮวดกระโทก) เมื่อปี พ.ศ. 2523.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโน้ต เชิญยิ้ม · ดูเพิ่มเติม »

ไชยา (ภาพยนตร์)

ป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและไชยา (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว

"ปั่น" นักร้องเจ้าของเทปชุดแรกของครีเอเทีย ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว (ชื่อเล่น ปั่น) เกิดเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2495 เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ไกรลาศ เกรียงไกร

ันโท ไกรลาศ เกรียงไกร นักแสดงชายชาวไทย เป็นนักแสดงสมทบในภาพยนตร์และละครโทรทัศน์หลายเรื่อง มีชื่อจริงว่า ไกรลาศน์ ยวงใย เกิดเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 ที่กรุงเทพมหานคร โดยเป็นบุตรคนที่ 9 จากบุตรทั้งหมด 9 คน ของ.ต.วิมล และ นางกรุณา ยวงใย เคยได้รับรางวัลตุ๊กตาทองสาขานักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม ประจำปี พ.ศ. 2521 จากเรื่อง เทพธิดาบาร์ 21 จากการกำกับของ ยุทธนา มุกดาสนิท และมีชื่อเข้าชิงรางวัลเดียวกันนี้อีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2525 จากเรื่อง พลฯ ทองดีใจซื่อ ผลงานการแสดงภาพยนตร์เรื่องอื่น ๆ อาทิ ลูกอีสาน ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและไกรลาศ เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

ไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้

อฟ..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้ เป็นภาพยนตร์ไทยแนวรักตลกที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2557 กำกับโดย เมษ ธราธร ที่เคยสร้างชื่อเสียงไว้ในการกำกับภาพยนตร์เรื่อง ATM เออรัก เออเร่อ นำแสดงโดย ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ และ ปรีชญา พงษ์ธนานิกร ภาพยนตร์เรื่องดังกล่าวเริ่มออกฉายอย่างเป็นทางการในวันที่ 10 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้ · ดูเพิ่มเติม »

เชษฐวุฒิ วัชรคุณ

ษฐวุฒิ วัชรคุณ หรือ บ๊วย นักแสดงและพิธีกรชาวไทย บุคลิกอารมณ์ดี หัวโล้น จนเป็นที่จดจำของผู้ชม และเป็นอดีตนักกีฬารักบี้ทีมชาติไท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเชษฐวุฒิ วัชรคุณ · ดูเพิ่มเติม »

เฟค โกหกทั้งเพ

fake โกหกทั้งเพ (Fake) หรือ ผู้ชายปัจจัย 4 เป็นภาพยนตร์ไทย ผลงานการกำกับโดย ธนกร พงษ์สุวรรณ ออกฉายในวันที่ 18 เมษายน ปี พ.ศ. 2546 ใน ประเทศไท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเฟค โกหกทั้งเพ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงสุดท้าย

ลงสุดท้าย เป็นภาพยนตร์ไทย จากบทประพันธ์เรื่องของ วรรณิศา กำกับโดย พิศาล อัครเศรณี เข้าฉายเมื่อ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 นำแสดงโดย สาวประเภทสอง "สมหญิง ดาวราย" นางโชว์ดาวเด่นชื่อดังจากทิฟฟานีโชว์ พัทยา ร่วมกับ บิณฑ์ บันลือฤทธิ์, วรรณิศา ศรีวิเชียร,จิระวดี อิศรางกูร ณ อยุธยา,ชลิต เฟื่องอารมย์ และ เหี่ยวฟ้า เพลงประกอบชื่อ เพลงสุดท้าย ร้องโดย สุดา ชื่นบาน (แทนเสียง สมหญิง ดาวราย) ประสบความสำเร็จอย่างสูงเช่นเดียวกับภาพยนตร์ จนมีภาคสอง ชื่อ รักทรมาน นำแสดงโดย สมหญิง อีกครั้ง ในบท สมนึก น้องชายของสมหญิงที่ตายไป กลับไปล่อลวงให้พระเอกต้องผิดหวังบ้าง ออกฉายเมื่อ พ.ศ. 2530 ต่อมาสร้างภาคแรกใหม่อีกครั้ง เข้าฉายเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2549 นำแสดงโดย อารยา อริยะวัฒนา, วชรกรณ์ ไวยศิลป์, นิรุตต์ ศิริจรรยา, สุมนต์รัตน์ วัฒนาเศลารัตต์, เจริญพร อ่อนละม้าย และ เหี่ยวฟ้า เรื่องราวของ สาวประเภทสอง ที่ผิดหวังในความรักจากชายหนุ่ม และเธอได้เลือกที่จะจบชีวิตลงบนเวทีที่ทำให้เธอเกิดในโลกของการแสดง ด้วยบทเพลงสุดท้ายของชีวิต.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเพลงสุดท้าย · ดูเพิ่มเติม »

เพื่อน...กูรักมึงว่ะ

ื่อน...กูรักมึงว่ะ (Bangkok Love Story) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเพื่อน...กูรักมึงว่ะ · ดูเพิ่มเติม »

เพ็ญเพ็ชร เพ็ญกุล

็ญเพ็ชร เพ็ญกุล เกิดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2517 เป็นนักแสดง นักร้องชาวไทย จบการศึกษาจากสถาบันราชภัฏสวนดุสิต คณะวิทยาการจัดการ เอกนิเทศศาสตร์ สาขาวิทยุโทรทัศน์ มีผลงานการแสดงทั้งละครและภาพยนตร์ เคยออกผลงานอัลบั้มเพลงชุด อีกหนึ่งแจ๊บ ในปี พ.ศ. 2540 เคยได้รับรางวัลสุรัสวดี (ตุ๊กตาทอง) ดาวรุ่งฝ่ายชายจากภาพยนตร์ เร็วกว่าใจไกลเกินฝัน ชีวิตส่วนตัว เพ็ญเพ็ชร สมรสกับ ธัญญานุช แก้วประสงค์ ที่จังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อวัน อาทิตย์ ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2555 หลังจากดูใจกันเพียง 6 เดือน ท่ามกลางข่าวลือ ท้องก่อนแต่ง มีบุตรสาว1 คน เกิดในวันที่ 6 กันยายน 2555 ในช่วงปี2558-2559 ภรรยาได้แท้งลูกคนที่ 2.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเพ็ญเพ็ชร เพ็ญกุล · ดูเพิ่มเติม »

เกริกเกียรติ พันธุ์พิพัฒน์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์เกริกเกียรติ พันธุ์พิพัฒน์ (? — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556) เป็นทั้งอาจารย์คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเกริกเกียรติ พันธุ์พิพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงศักดิ์ เหรียญทอง

กรียงศักดิ์ เหรียญทอง เป็น นักพากย์ เคยเป็นนักพากย์หนังกลางแปลงมาก่อน จนได้รับการชักชวนจากชูชาติ อินทร ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าทีมพากย์อินทรีให้มาพากย์หนังกับทีม จนได้มีโอกาสพากย์หนังที่ฉายในโรงและหนังในรูปแบบวิดีโอ จากนั้นก็ไปพากย์หนังกับทีมพากย์พันธมิตร ปัจจุบันเป็นนักพากย์อิสระ (freelance) เคยพากย์เสียงภาพยนตร์มานานหลายปี โดยเฉพาะเป็นผู้ให้เสียงของ อู๋ ม่งต๊ะ ในภาพยนตร์ตลกของ โจว ซิงฉือ หนังสือพิมพ์สยามดารา นอกจากนี้ บทบาทสำคัญที่มีชื่อเสียง คือ การพากย์เป็น ดาร์ธ เวเดอร์ ในภาพยนตร์ชุด สตาร์ วอร์ส และ แกนดาล์ฟ ใน ภาพยนตร์ไตรภาคเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ และ แม็กนีโต ใน X-Men และอีกหลายเรื่อง เช่น พากย์เป็น โรมัน เพียซ ใน เร็วแรงทะลุนรก พากย์เป็น นิค ฟิวรี่ ใน ดิ อเวนเจอร์ส เกรียงศักดิ์เริ่มมีผลงานแสดงภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2549 จากการชักชวนโดย วิทยา ทองอยู่ยง ซึ่งชื่นชอบบทบาทการพากย์เสียงอู๋ ม่งต๊ะ ของเกรียงศักดิ์ให้มารับบท "อู๋" แฟนพันธุ์แท้ของวงดนตรีพอสซิเบิ้ล ในภาพยนตร์เรื่อง เก๋า..เก๋า ซึ่งบทบาทนี้ทำให้เข้าได้รับการเสนอชื่อเข้าชิง รางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม จากทั้ง 3 สถาบันหลัก คือ รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ และ รางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง และคว้ารางวัลนี้ไปจาก Starpics Thai Film Awards.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเกรียงศักดิ์ เหรียญทอง · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงไกร อุณหะนันทน์

กรียงไกร อุณหะนันทน์ เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากบทบาท "ท่านชายพจน์" ในภาพยนตร์เรื่อง ปริศนา เมื่อปี พ.ศ. 2525.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเกรียงไกร อุณหะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เกรียน ฟิคชั่น

กรียน ฟิคชั่น (Grean Fictions) เป็นภาพยนตร์ไทย แนวดราม่า-คอมเมดี้ ผลงานการกำกับภาพยนตร์ของ ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล เริ่มฉายครั้งแรก 18 เมษายน พ.ศ. 2556และในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเกรียน ฟิคชั่น · ดูเพิ่มเติม »

เกิร์ลเฟรนด์ 14 ใสกำลังเหมาะ

กิร์ลเฟรนด์ 14 ใสกำลังเหมาะ (Girl's Friends) เป็นภาพยนตร์ไทย ผลงานการกำกับโดยมงคลชัย ชัยวิสุทธิ์ ออกฉายในวันที่ 22 มีนาคม ปี พ.ศ. 2545 ประเทศไท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเกิร์ลเฟรนด์ 14 ใสกำลังเหมาะ · ดูเพิ่มเติม »

เกียรติ กิจเจริญ

กียรติ กิจเจริญ มีชื่อเล่นว่า กิ๊ก หรือที่นิยมเรียกกันว่า ซูโม่กิ๊ก (22 กันยายน 2506 -) นักแสดงและพิธีกรชาวไท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเกียรติ กิจเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

เก๋า..เก๋า

ก๋..เก๋า เป็นภาพยนตร์ไทยแนวมิวสิคัล/ดราม่า/คอมเมดี้ เรื่องราวของ วงดนตรีชื่อดังแห่งยุคทศวรรษ 1970 ที่ถูก อุปกรณ์วิเศษคล้ายไมโครโฟน พาข้ามผ่านยุคสมัย มาปรากฏตัวในยุคปัจจุบัน พ.ศ. 2549 ภาพยนตร์เรื่องนี้ กำกับโดย วิทยา ทองอยู่ยง และเข้าฉาย ในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเก๋า..เก๋า · ดูเพิ่มเติม »

เมมโมรี่ รักหลอน

มมโมรี่ รักหลอน เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 นำแสดงโดย ใหม่ เจริญปุระ, อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม, ซัน คัมภิรานนท์, ภารุจีร์ เข็มสวัสดิ์, ราชวัติ ขลิบเงิน, อดุลย์ ดุลยรัตน์ กำกับโดยต่อพงศ์ ตันกำแหง สร้างโดย เอ.จี.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเมมโมรี่ รักหลอน · ดูเพิ่มเติม »

เมย์ไหน..ไฟแรงเฟร่อ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเมย์ไหน..ไฟแรงเฟร่อ · ดูเพิ่มเติม »

เมล์นรก หมวยยกล้อ

มล์นรก หมวยยกล้อ (ชื่อภาษาอังกฤษ: Bus Lane) ออกฉายเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2550 กำกับและเขียนบทโดย กิตติกร เลียวศิริกุล นำแสดงโดย อุดม แต้พานิช, สุเทพ โพธิ์งาม, เกียรติ กิจเจริญ, อริศรา วงษ์ชาลี, เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์, ศรีพรรณ ชื่นชมบูรณ์, อชิตะ ธนาศาสตนันท์, ธีระธร สิริพันธุ์วราภรณ์, คมสัน นันทจิต, พิมพ์ชนก พลบูรณ์, อดิเรก วัฏลีลา (นักแสดงรับเชิญ).

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเมล์นรก หมวยยกล้อ · ดูเพิ่มเติม »

เรย์ แมคโดนัลด์

ร แม็คโดแนลด์ เกิดวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2520 เป็นนักแสดงลูกครึ่ง ไทย - สกอตแลนด์ (ยูเรเชียน) เคยได้รับ รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ดีเยี่ยมในปี..1997-1998 ด้วยบทในภาพยนตร์เรื่อง ฝันบ้าคาราโอเกะ และยังได้รับรางวัลคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 7 ในสาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง หนีตามกาลิเลโอ เร แม็คโดแนลด์ เคยร่วมเล่นให้กับทีมยุวชนสมาคมธำรงไทยสโมสรและเป็นกัปตันทีม ในชุดรองแชมป์โลก 11 ปี ฟุตบอล GOTOOEA CUP ที่สวีเดน (มีเพื่อนร่วมสโมสร เช่น ชาคริต แย้มนาม อนุรักษ์ ศรีเกิด) เร แม็คโดแนลด์จบมัธยมที่ประเทศอังกฤษ.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเรย์ แมคโดนัลด์ · ดูเพิ่มเติม »

เรืองศักดิ์ ลอยชูศักดิ์

รืองศักดิ์ ลอยชูศักดิ์ (เจมส์) เกิดเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2521 ที่อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช สำเร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจาก คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิชาเอกดุริยางคศาสตร์ (สากล) ศึกษาต่อระดับปริญญาโท คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ (การเมือง) เคยเป็นศิลปินในสังกัด อาร์เอส และ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ โดยในปี 2555 เจมส์-เรืองศักดิ์ ได้กลับมาจัดคอนเสิร์ตร่วมกับอาร์เอสอีกครั้ง และในปี 2556 ได้ร่วมคอนเสิร์ต อาร์เอสมีตติ้ง ที่รวมศิลปินเก่าของอาร์เอสไว้คับคั่ง เช่น บาซู, บอยสเก๊าท์, แร็พเตอร์, ลิฟท์-ออย, ทัช, เต๋า และ อนัน อันวา อีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเรืองศักดิ์ ลอยชูศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เรือนแพ

รือนแพ คือ เรือนที่เคยตั้งอยู่บนแพในน้ำแล้วยกขึ้นมาปลูกบนบก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเรือนแพ · ดูเพิ่มเติม »

เรื่องตลก 69

รื่องตลก 69 (6ixtynin9) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเรื่องตลก 69 · ดูเพิ่มเติม »

เวลาในขวดแก้ว

วลาในขวดแก้ว เป็นนวนิยายไทยของ ประภัสสร เสวิกุล มีเนื้อหาสะท้อนชีวิตและปัญหาของวัยรุ่นในด้านต่างๆ ทั้งครอบครัว ความรัก การศึกษา สังคม และการเมือง จัดพิมพ์เป็นพ็อคเก็ตบุ๊คครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2528 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2534 ได้มีการสร้างเป็นภาพยนตร์ไทย โดย ประยูร วงศ์ชื่น นำแสดงโดย นฤเบศร์ จินปิ่นเพชร, ปวีณา ชารีฟสกุล และ วาสนา พูนผล ภาพยนตร์ประสบความสำเร็จทั้งรายได้และคำนิยม โดยได้รับรางวัลจากสองสถาบันคือ รางวัลสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2534 จำนวน 4 รางวัล และรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 2 ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเวลาในขวดแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐพงศ์ เพียงพอ

รษฐพงศ์ เพียงพอ (ชื่อเล่น: เต๋า) เกิดเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเศรษฐพงศ์ เพียงพอ · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐา ศิระฉายา

รษฐา ศิระฉายา (ชื่อเล่น ต้อย 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 -) เป็นพิธีกร, นักแสดง และอดีตนักร้องนำวงสตริง ดิอิมพอสซิเบิ้ล เป็นวงสตริงคอมโบที่ประสบความสำเร็จและยังเป็นแรงบันดาลใจให้กับวงดนตรีรุ่นหลังจำนวนมาก ในปี พ.ศ. 2554 เศรษฐาได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล-ขับร้อง) ปัจจุบันเศรษฐายังเป็นประธานมูลนิธิสวัสดิการนักแสดงอาว.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเศรษฐา ศิระฉายา · ดูเพิ่มเติม »

เสือ โจรพันธุ์เสือ

ือ โจรพันธุ์เสือ (Crime King) ภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2541 โดยเริ่มออกฉายครั้งแรกในประเทศไทย เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเสือ โจรพันธุ์เสือ · ดูเพิ่มเติม »

เสือมเหศวร

ือมเหศวร มีชื่อจริงว่า ศวร เภรีวงษ์ เป็นจอมโจรชื่อดังในแถบภาคกลางหลังยุคสงครามโลกครั้งที่สอง ร่วมสมัยกับเสือดำ, เสือหวัด, เสือฝ้าย และเสือใบ เสือมเหศวรเกิดเมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเสือมเหศวร · ดูเพิ่มเติม »

เสียดาย

ียดาย (Daughter) ภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2537 นำแสดงโดย นุศรา ประวันณา, เขมสรณ์ หนูขาว, วิจิตรา ตริยะกุล, กาญจนา ขึ้นนกคุ้ม, วยุลี กิติอาภรณ์ชัย ร่วมด้วย จอนนี่ แอนโฟเน่, สรพงษ์ ชาตรี, ธัญญา โสภณ, รณ ฤทธิชัย, จีรุตน์ ณ นคร, กาญจนาพร ปลอดภัย, จักรกฤษณ์ คชรัตน์ บทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเสียดาย · ดูเพิ่มเติม »

เสียดาย 2

ียดาย 2 (Daughter 2) ภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2539 นำแสดงโดย มาริสา แอนนิต้า, สาริน บางยี่ขัน, สรพงษ์ ชาตรี, ญาณี ตราโมท, อรุณโรจน์ เลี่ยมทอง (นักแสดงรับเชิญ) บทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเสียดาย 2 · ดูเพิ่มเติม »

เอกชัย ศรีวิชัย

อกชัย ศรีวิชัย ชื่อเล่น เอก เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2505 เป็นชาวอำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเจ้าของเพลงดัง "หมากัด" เขายังมีผลงานแสดงภาพยนตร์อีกหลายเรื่อง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเอกชัย ศรีวิชัย · ดูเพิ่มเติม »

เอ๋อเหรอ

อ๋อเหรอ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อ 6 มกราคม พ.ศ. 2548 เป็นภาพยนตร์แนวตลก ดราม่า ผจญภัย ซึ่งเป็นการผจญภัยของ ต๋อง กับ ลูกแก้ว ซึ่งห่างจากพ่อแม่ของเขา โดยถูกคนร้ายถูกจับมาเพื่อที่จะมาขายผลไม้ในเมืองพัทยา ภาพยนตร์เรื่องนี้ทำให้ นวรัตน์ เตชะรัตนประเสริฐ ได้รับรางวัลนักแสดงหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ประจำปี 2548 ขณะที่มีอายุเพียง 8 ขวบ ท่ามกลางเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง เนื่องจากสมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ บิดาของเธอในฐานะนายกสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ เป็นประธานการจัดงานนั้น.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเอ๋อเหรอ · ดูเพิ่มเติม »

เจสัน ยัง

ัน ยัง เกิดวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2523 เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย นับถือศาสนาพุทธ สัญชาติไทย เชื้อชาติออสเตรเลีย เป็นลูกคนเดียว ผลงานชิ้นแรกที่เข้าสู่วงการบันเทิง คือ การถ่ายแฟชั่นนิตยสาร เคยเป็นนักกีฬาฟุตบอลของโรงเรียนปทุมคงคาอีกด้วย จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้านการผลิตภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ จาก Columbia College-Hollywood ประเทศสหรัฐอเมริกา เจสัน ยัง มีผลงานเพลง อัลบั้ม ยัง เจสัน ในปี 2538 และ เจสัน ยังสเตอร์ ในปี 2539 ภายใต้สังกัดกลิทซ์ (หรือกรีนบีนส์) ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีผลงานที่เป็นที่รู้จัก ได้แก่เพลง คิดถึงกันบ้างไหม, ตะโกนบอกฟ้า, ยิ้มทั้งน้ำตา, อย่าบอกว่าเธอรัก เป็นต้น อีทั้งยังมีผลงานการแสดงภาพยนตร์อย่าง ชื่ออุ้มมีบุญนำหน้า (2539) และได้ขับร้องเพลงประกอบภาพยนตร์อีกด้วย หลังจากนั้นก็มีผลงานการแสดงมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ ซิทคอม เป็นต้น.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเจสัน ยัง · ดูเพิ่มเติม »

เจาะเวลาหาโก๊ะ

วลาหาโก๊ะ เป็นภาพยนตร์ไทย เข้าฉายในปี พ.ศ. 2535 สร้างโดย ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น โดยเป็นภาคต่อจาก โก๊ะจ๋า ป่านะโก๊ะ เป็นเรื่องราวที่ต่อเนื่องกับเหตุการณ์ในภาคแรก นักศึกษากลุ่มเดิมพร้อมกับรุ่นน้องและพรานโก๊ะเดินทางกลับไปมอบของขวัญให้เด็กชาวเขา แต่ก็พลัดหลงเข้าไปในถ้ำเดิม และเกิดแผ่นดินไหว ทำให้พวกเขาย้อนกลับไปถึงสมัยกรุงธนบุรี ที่มีการรบระหว่างไทยกับพม่า ขณะเดียวกัน เหล่าโจรป่ากลุ่มเดิมจากภาคแรก ก็ได้ตามมาราวีพวกพรานโก๊ะถึงในอดีต แล้วพวกเขาจะย้อนกลับมาได้หรือไม่ เจาะเวลาหาโก๊ะ ได้กลับมาสร้างใหม่ในรูปแบบละครโทรทัศน์ ออกอากาศครั้งแรก ปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเจาะเวลาหาโก๊ะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสาวผัดไทย

้าสาวผัดไทย (Pad Thai Story) ชื่ออื่น ความรักผัดไทย เป็นภาพยนตร์ไทย ผลงานการกำกับโดย มงคลชัย ชัยวิสุทธิ์ ออกฉายในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ใน ประเทศไทย นำแสกดงโดย นภคปภา นาคประสิทธิ์, พิเศก อินทรครรชิต และ พินทุ์สุดา ตันไพเราะห.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเจ้าสาวผัดไทย · ดูเพิ่มเติม »

เทพ โพธิ์งาม

ทพ โพธิ์งาม มีชื่อจริงว่า สุเทพ โพธิ์งาม เป็นนักแสดงตลก หัวหน้าคณะโพธิ์งามในอดีต มีความสามารถหลายอย่าง เคยแสดงภาพยนตร์หลายเรื่อง และยังเป็นผู้กำกับและเขียนบทภาพยนตร์อีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเทพ โพธิ์งาม · ดูเพิ่มเติม »

เทพธิดาบาร์ 21

ทพธิดาบาร์ 21 เป็นภาพยนตร์ไทยแนวมิวสิเคิลที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2521 กำกับโดย ยุทธนา มุกดาสนิท โดยดัดแปลงมาจากบทละครเรื่อง เกียรติโสเภณี (The Respectable Prostitute) ของ ฌอง ปอล ชาร์ต (Jean-Paul Sartre) นำแสดงโดย จันทรา ชัยนาม, ไกรลาศ เกรียงไกร, วสันต์ อุตตมะโยธิน ซึ่งเป็นนักแสดงหน้าใหม่ ร่วมด้วย สุเชาว์ พงษ์วิไล, สุดา ชื่นบาน, ศิริพงษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ จุรี โอศิริ โดยมี ม.ล. พันธุ์เทวนพ เทวกุล เป็นผู้ออกแบบท่าเต้นนักแสดง และร่วมเขียนบทกับ ยุทธนา สร้างโดย บริษัทไฟว์สตาร์โปรดักชั่น ถ่ายทำด้วยระบบฟลิ์ม 35 มม.สโคป เสียงพากย์ในฟิล์ม, โดย จันทรา ชัยนาม และ วสันต์ อุตตมะโยธิน เป็นผู้พากย์เสียงของตัวเองในหนัง ก่อนหน้านี้ ยุทธนาเคยเสนอโปรเจกต์นี้ให้กับนายทุนค่ายอื่นมาก่อน แต่นายทุนขอให้ลดฉากมิวสิคคัล เนื่องจากเนื้อเรื่องมีฉากมิวสิคคัลเยอะ กลัวดูไม่รู้เรื่อง,จึงเปลี่ยนนายทุนมาเป็นไฟว์สตาร์ฯ ในที่สุด ใช้ทุนสร้างประมาณ 3 ล้านบาท, แต่รายได้กลับไม่ประสบความสำเร็จ ได้เพียง3 แสนบาทเท่านั้น (รายได้จากโรงภาพยนตร์เอเธนส์), ถึงแม้ว่าจะไม่ประสบความสำเร็จ แต่ได้รับคำชมจากนักวิจารณ์ในยุคนั้น ภาพยนตร์ได้รับรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี (ตุ๊กตาทอง) ประจำปี พ.ศ. 2522 จำนวน 2 รางวัล คือ ดาราประกอบชายยอดเยี่ยม (ไกรลาศ เกรียงไกร) และ ดารานำฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม (จันทรา ชัยนาม) โดยเป็นผลงานการแสดงทางจอเงินเพียงเรื่องเดียวในชีวิตของ จันทรา ชัยนาม ในปี พ.ศ. 2533 ได้มีการสร้างเป็นละครโทรทัศน์มินิซีรีส์ทางช่อง 3 ออกอากาศในเดือนธันวาคม นำแสดงโดย นรินทร ณ บางช้าง และ ศรัณยู วงษ์กระจ่าง กำกับการแสดงโดย ม.ล. พันธุ์เทวนพ เทวกุล.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเทพธิดาบาร์ 21 · ดูเพิ่มเติม »

เทพธิดาโรงงาน

ทพธิดาโรงงาน เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเทพธิดาโรงงาน · ดูเพิ่มเติม »

เทริด

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ทรงเทริด เทริด (tiara) เป็นมงกุฎรูปแบบหนึ่ง โบราณเป็นรูปกรวยสูงปลายแคบ ทำจากผ้าหรือหนังสัตว์ อลงกตด้วยอัญมณีต่าง ๆ เป็นราชภัณฑ์สำหรับกษัตริย์หรือจักรพรรดิ โดยเฉพาะในยุคเมโสโปเตเมีย ต่อมาเปลี่ยนไปเป็นทรงเตี้ย ทำจากโลหะต่าง ๆ ประดับอัญมณี หมวดหมู่:มงกุฎ.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเทริด · ดูเพิ่มเติม »

เด็กหอ

็กหอ เป็นภาพยนตร์ไทย แนวสยองขวัญ เข้าฉาย เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 กำกับโดย ทรงยศ สุขมากอนันต์ โดย จีทีเอช และ ฟีโนมีน่า โมชั่น พิคเจอร์ สร้างจากเรื่องเล่าที่เคยได้ยินมาขณะเรียนอยู่ที่ โรงเรียนอัสสัมชัญศรีร.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเด็กหอ · ดูเพิ่มเติม »

เด็กเสเพล (2539)

็กเสเพล (2539) ภาพยนตร์ไทยแนววัยรุ่น จาก ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น ออกฉายครั้งแรกเมื่อปี 2539 กำกับภาพยนตร์โดย นพพร วาทิน นำแสดงโดย ฌานิศ ใหญ่เสมอ และ คาเรน คล่องตรวจโรค โดยภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างจากบทประพันธ์ของ พนมเทียน แต่ได้มีการดัดแปลงเนื้อหาให้ทันสมัย มากขี้นโดยได้มีการเพิ่มเติมเรื่องยาเสพติดเข้าม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเด็กเสเพล (2539) · ดูเพิ่มเติม »

เงาะป่า

งาะป่า อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเงาะป่า · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมพล ทิฆัมพรธีรวงศ์

ฉลิมพล ทิฆัมพรธีรวงศ์ หรือ แจ๊ค เกิดเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2532 เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานที่สร้างชื่อเสียงครั้งแรกจากภาพยนตร์เรื่อง แฟนฉัน โดยก่อนหน้านั้นเคยมีผลงานแสดงภาพยนตร์สั้นมาก่อน เรื่อง ทำไมต้องเป็นตลก (2544) ซึ่งกำกับโดย บอล-วิทยา ทองอยู่ยง และอยู่ละแวกบ้านเดียวกัน พอมีการเขียนบทภาพยนตร์เรื่อง แฟนฉัน จึงได้มีการใส่ตัวละคร "แจ๊ค" ซึ่งเขียนขึ้นสำหรับ แจ๊ค โดยเฉพาะ และจากภาพยนตร์นี้เอง ทำให้แจ๊คได้รับรางวัลสุพรรณหงส์ และรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม แจ๊คยังมีผลงานภาพยนตร์ต่อมาอีกหลายเรื่อง ไม่ว่าจะเป็น เด็กเดน,วาไรตี้ผีฉลุย,ข้าวเหนียวหมูปิ้ง,สายลับจับบ้านเล็ก และ เฟรนด์ชิพ เธอกับฉัน ปัจจุบันจบระดับปริญญาตรี คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ด้านชีวิตส่วนตัว แจ๊ค คบหาดูใจกับ คุณ คุณัญญา แฟนสาวนอกวงการ.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเฉลิมพล ทิฆัมพรธีรวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เฉือน

ฉือน (Slice) เป็นภาพยนตร์แนวสืบสวนสอบสวน ก้องเกียรติ โขมศิริ กำกับ วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง เขียนบท อารักษ์ อมรศุภศิริ กับฉัตรชัย เปล่งพานิช นำแสดง เริ่มฉายในโรงภาพยนตร์ ณ วันที่ 22 ตุลาคม 2552 และมีรายได้ทั้งสิ้น 6.3 ล้านบาท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเฉือน · ดูเพิ่มเติม »

เปี๊ยก โปสเตอร์

ปี๊ยก โปสเตอร์ (18 ตุลาคม พ.ศ. 2475 -) ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย และศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์และละครโทรทัศน์) ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเปี๊ยก โปสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

Goal Club เกมล้มโต๊ะ

Goal Club เกมล้มโต๊ะ เป็นภาพยนตร์ไทยแนวแอ็คชั่น-ดราม่า ที่ออกฉายใน พ.ศ. 2544 กำกับโดยกิตติกร เลียวศิริกุล เนื้อเรื่องเกี่ยวกับชีวิตของกลุ่มวัยรุ่นที่เพิ่งเรียนจบ แล้วเข้าไปพัวพันกับการพนันบอลโดยเป็นเด็กเดินโพย แต่เมื่อเงินที่ได้จากการเดินโพยไม่พอที่ใช้ทำตามฝันได้ จึงร่วมกันโกงโต๊ะพนันบอล จนในท้ายที่สุดก็ต้องหาทางล้มโต๊ะ เพราะถูกเสี่ยเจ้าของโต๊ะจับได้ นำความสนุกและความคึกคะนองไปสู่ความลุ่มหลงมัวเมาและความหายนะกับพวกเขานี้ในที่สุด Goal Club เกมล้มโต๊ะออกฉายครั้งแรกในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2544 ผลิตโดยบีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ และฟิล์มบางกอก และจัดจำหน่ายโดยฟิลม์บางกอก.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและGoal Club เกมล้มโต๊ะ · ดูเพิ่มเติม »

Home ความรัก ความสุข ความทรงจำ

Home ความรัก ความสุข ความทรงจำ (Home) เป็นภาพยนตร์ไทยแนววีรคติ และดรามา กำกับโดย ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล และออกฉายในโรงภาพยนตร์ในวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2555 ภาพยนตร์ทำรายได้ 16,264,951 บาท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและHome ความรัก ความสุข ความทรงจำ · ดูเพิ่มเติม »

It Gets Better ไม่ได้ขอให้มารัก

ม่ได้ขอให้มารัก It Gets Better เป็นภาพยนตร์สะท้อนชีวิตของเพศที่ 3 ออกฉายในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและIt Gets Better ไม่ได้ขอให้มารัก · ดูเพิ่มเติม »

Mary is happy, Mary is happy

Mary is happy, Mary is happy เป็นภาพยนตร์ไทย เขียนบทและกำกับโดยนวพล ธำรงรัตนฤทธิ์ โดยนำเรื่องราวจากทวิตเตอร์ของผู้ใช้ @marylony จำนวน 410 ทวีต มาสร้างเป็นภาพยนตร์ นำแสดงโดย พัชชา พูนพิริยะ และชนนิกานต์ เนตรจุ้ย เข้าฉายเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2556 เฉพาะโรงภาพยนตร์เฮาส์ ลิโด เอสพลานาด ซีนีเพล็กซ์ รัชดาภิเษก เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต และ อีจีวี เทสโก้ โลตัส เอกซ์ตรา ขอนแก่น ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับการเสนอเข้าชิงรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 23 จำนวน 10 สาขา และได้รับรางวัล 4 สาขา ได้แก่ นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม ลำดับภาพยอดเยี่ยม และถ่ายภาพยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและMary is happy, Mary is happy · ดูเพิ่มเติม »

Timeline จดหมาย ความทรงจำ

Timeline จดหมาย ความทรงจำ เป็นภาพยนตร์ไทยแนวตลก-โรแมนติก-ดราม่า สร้างโดยสหมงคลฟิล์ม กำกับโดย นนทรีย์ นิมิบุตร เป็นภาคต่อของภาพยนตร์เรื่อง เดอะเลตเตอร์ จดหมายรัก ภาพยนตร์ทำรายได้ 51.8 ล้านบาท.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและTimeline จดหมาย ความทรงจำ · ดูเพิ่มเติม »

Together วันที่รัก

Together วันที่รัก ภาพยนตร์สร้างสรรค์จาก.โอเรียลทัล อายส์ ภาพยนตร์ใน ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี นำแสดงโดย ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ร่วมด้วย สหรัถ สังคปรีชา, กฤษณ เศรษฐธำรงค์, ปิยธิดา วรมุสิก, นพชัย ชัยนาม, ทองภูมิ สิริพิพัฒน์, โสภิตสุดา อิทธิเมธินทร์ ฯลฯ และขอแนะนำนักแสดง กันต์ชนุตม์ เก่งการค้า (กันต์), และ นภัสสร เอี่ยมเจริญ (ครีม) กำกับภาพยนตร์โดย “ยู - ษรัณยู จิราลักษณ์”.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและTogether วันที่รัก · ดูเพิ่มเติม »

15 ค่ำ เดือน 11

15 ค่ำ เดือน 11 เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายเมื่อ11 ตุลาคม พ.ศ. 2545 เป็นผลงานกำกับเรื่องแรกของ จิระ มะลิกุล เป็นภาพยนตร์ที่สร้างมาจากความเชื่อ ของชาวท้องถิ่นในแถบอีสาน เกี่ยวกับปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาค ซึ่งเป็นการเรียกขานลูกไฟประหลาดสีชมพูจำนวนมาก ที่พวยพุ่งขึ้นจากลำน้ำโขง ในคืนวันออกพรรษา ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปี โดยลูกไฟนั้นไม่มีกลิ่น ไม่มีเสียง พุ่งขึ้นสูงประมาณ 20-30 เมตร แล้วก็หายไป โดยไม่มีการโค้งลงมา เช่นเดียวกับไฟที่เกิดจากพลุทั่วไป และเกิดขึ้นเป็นจำนวนไม่แน่นอน ในท้องที่อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย 15 ค่ำ เดือน 11 เป็นภาพยนตร์อื้อฉาวแห่งปี..

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและ15 ค่ำ เดือน 11 · ดูเพิ่มเติม »

20 ใหม่ ยูเทิร์นวัย หัวใจรีเทิร์น

20 ใหม่ ยูเทิร์นวัย หัวใจรีเทิร์น เป็นภาพยนตร์ไทยแนว Comedy, Romance, Drama สร้างโดย Cj Major ร่วมกับ M Pictures รีเมคจาก เรื่อง Miss Granny เวอร์ชันเกาหลี และ 20 Once Again เวอร์ชันจีน กำกับโดยอารยะ สุริหาร นำแสดงโดย ดาวิกา โฮร์เน่ สหรัถ สังคปรีชา และ กฤษณภูมิ พิบูลสงคราม กำหนดออกฉายในวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและ20 ใหม่ ยูเทิร์นวัย หัวใจรีเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

2499 อันธพาลครองเมือง

2499 อันธพาลครองเมือง ภาพยนตร์ไทย ที่มีเนื้อหาเล่าย้อนถึงกรุงเทพมหานครยุคก่อนพุทธศักราช 2500 ที่เหล่านักเลงอันธพาลวัยรุ่นมีอิทธิพลและครองเมืองอย่างไม่หวั่นเกรงกฎหมาย กำกับโดย นนทรีย์ นิมิบุตร สร้างโดย บริษัท ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด เพลงประกอบภาพยนตร์ โดย วูล์ฟแพ็ค ออกฉายเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2540.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและ2499 อันธพาลครองเมือง · ดูเพิ่มเติม »

303 กลัว/กล้า/อาฆาต

303 กลัว/กล้า/อาฆาต เป็นภาพยนตร์ไทยแนวทริลเลอร์ สยองขวัญ ที่ออกฉายเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2541 กำกับโดย สมจริง ศรีสุภาพ นำแสดงโดย พอล วิสุทธิ์ แครี่, อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม, อาทิตย์ ตั้งสวัสดิ์รัตน์,เจษฎาภรณ์ ผลดี,เทย่า โรเจอร์,ปริญญา อินทชัย,ชาตโยดม หิรัญยัษฐิติ และ ทรงวุฒิ ศรีเชิดชูธรรม ภาพยนตร์เรื่องนี้ทำรายได้รวมที่ 28.2 ล้านบาท และได้ 2 รางวัลจากเวทีรางวัลสุพรรณหงส์ ครั้งที่ 8 ประจำปี 2541 สาขาลำดับภาพยอดเยี่ยม และ แต่งหน้ายอดเยี่ยม.

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและ303 กลัว/กล้า/อาฆาต · ดูเพิ่มเติม »

32 ธันวา

32 ธันวา (อังกฤษ: 32 December Love Error) เป็นภาพยนตร์ไทย แนวโรแมนติก-คอมเมดี ผลิตโดยค่าย เอ็ม เทอร์ตี้ไนน์ ออกฉายเมื่อ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ได้รับการจัดเรตติ้งภาพยนตร์ประเภท น 15+ (ภาพยนตร์ที่เหมาะสมกับผู้มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป) ผลงานการกำกับและเขียนบทโดย ฤกษ์ชัย พวงเพ็ชร์ นำแสดงโดย วรเวช ดานุวงศ์, อภิญญา สกุลเจริญสุข, โหน่ง ชะชะช่า, รมิตา มหาพฤกษ์พงศ์, สิตางศุ์ ปุณภพ, และ ศิรัฐ วิทยถาวรวงศ์ 32 ธันวา เปิดตัวรอบปฐมทัศน์เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ณ ลานพาร์คพารากอน ศูนย์การค้าสยามพารากอน และมีการเปิดฉายรอบพิเศษก่อนหน้าวันฉายจริงในโรงภาพยนตร์บางแห่ง ภาพยนตร์ทำรายได้เปิดตัวจากการเข้าฉายสัปดาห์แรก 44 ล้านบาท สัปดาห์ที่ 2, 3 และ 4 ของการเข้าฉาย ภาพยนตร์มีรายได้รวมเพิ่มขึ้นเป็น 82.4 ล้านบาท, 96.6 ล้านบาทและ 101.6 ล้านบาท ตามลำดับ ภาพยนตร์มีรายได้รวมตลอดการเข้าฉายประมาณ 103.8 ล้านบาท (เฉพาะในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล).

ใหม่!!: รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและ32 ธันวา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทองนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »