โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน vs. ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน (ASEAN Football Championship - ชื่อเดิม ไทเกอร์คัพ) หรือ เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ (AFF Suzuki Cup) หรือเรียกย่อกันว่า อาเซียนคัพ เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศในเขตอาเซียน จัดขึ้นทุก ๆ 2 ปี จัดโดย สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน หรือ เอเอฟเอฟ (ASEAN Football Federation - AFF) จัดการแข่งขันครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) ภายใต้ชื่อไทเกอร์คัพ เนื่องจากมีผู้สนับสนุนหลักคือเบียร์ไทเกอร์ เบียร์จากสิงคโปร์ ภายหลังเมื่อเบียร์ไทเกอร์ได้ยกเลิกการสนับสนุน จึงเปลี่ยนชื่อจากไทเกอร์คัพเป็นอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ แต่เปลี่ยนชื่อได้แค่ปีเดียวก็มีซูซูกิเข้ามาเป็นผู้สนับสนุนใหม่ จึงเปลี่ยนชื่อเป็น เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ สืบมาจนถึงปัจจุบัน. การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016 หรือในชื่อ เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2016 ตามชื่อของผู้สนับสนุน ซึ่งในปีนี้เป็นการแข่งขันครั้งที่ 11 ของ สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ซึ่งเป็นสหพันธ์ฟุตบอลของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยในปีนี้รอบแบ่งกลุ่มจะจัดการแข่งขันที่ประเทศเมียนมาและฟิลิปปินส์ (ตั้งแต่รอบรองชนะเลิศเป็นต้นไปจะจัดแข่งขันที่ประเทศของชาติที่ผ่านเข้ารอบเท่านั้น).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016 มี 22 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชนาธิป สรงกระสินธ์ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2014ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2018ฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซียฟุตบอลทีมชาติไทยฟุตบอลทีมชาติเวียดนามการยิงลูกโทษสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียนอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007ธีรศิลป์ แดงดาประเทศฟิลิปปินส์ประเทศพม่าไทเกอร์คัพ 1996ไทเกอร์คัพ 1998ไทเกอร์คัพ 2000ไทเกอร์คัพ 2002ไทเกอร์คัพ 2004เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2008เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2010เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2012

ชนาธิป สรงกระสินธ์

ตำรวจตรี ชนาธิป สรงกระสินธ์ หรือเป็นที่รู้จักในฉายา เมสซี่เจ เกิดวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2536 เป็นนักฟุตบอลทีมชาติไทย ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรฟุตบอล คอนซาโดเล่ ซัปโปโร สโมสรในลีกญี่ปุ่นหรือเจลีก ยืมตัวใช้งานด้วยสัญญา 1 ปี 6 เดือน ชนาธิปเริ่มมีชื่อเสียงจากการเป็นนักเตะที่อายุน้อยที่สุดที่วินเฟรด เชเฟอร์ เรียกตัวเข้าไปร่วมการแข่งขัน เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2012 ในฐานะตัวแทนทีมชาติไทยชุดใหญ่ ได้ตำแหน่งรองแชมป์ ก่อนที่สองปีต่อมา จะพาทีมคว้าแชมป์ได้สำเร็จในรายการเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2014 และคว้าแชมป์อีกครั้งเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2016 โดยได้รับรางวัลผู้เล่นยอดเยี่ยมจากสองครั้งหลังสุด ทั้งนี้ ชนาธิปยังเป็นกำลังสำคัญของผู้เล่นทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี คว้าเหรียญทองในการแข่งขัน ซีเกมส์ 2013 ที่พม่า และซีเกมส์ 2015 ที่สิงคโปร์ รวมถึงคว้าอันดับ 4 ในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ 2014 ที่เกาหลีใต้ ด้วยการมีรูปร่างที่เล็ก แต่มีทักษะฟุตบอลที่ดี มีความคล่องแคล่ว ปราดเปรียว มีความเข้าใจเกมสูง ชนาธิปจึงได้รับฉายาว่า เมสซี.

ชนาธิป สรงกระสินธ์และฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน · ชนาธิป สรงกระสินธ์และฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2014

การแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2014 หรือในชื่อ เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2014 ตามชื่อของผู้สนับสนุน ซึ่งในปีนี้เป็นการแข่งขันครั้งที่ 10 ของ สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ซึ่งเป็นสหพันธ์ฟุตบอลของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยในปีนี้จะจัดการแข่งขันที่ สิงคโปร์ และ เวียดนาม จัดการแข่งขันกันระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน ถึง 20 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ในการแข่งขันครั้งนี้ เป็นทีมชาติไทยที่คว้าแชมป์ไปครองในที่สุด เป็นการครองแชมป์สมัยที่ 4 และนับเป็นครั้งแรกในรอบ 12 ปีที่ได้แชมป์ อีกทั้งในการแข่งขันครั้งนี้ ความนิยมในทีมชาติไทยของประชาชนชาวไทยพุ่งขึ้นสุดขีด และทำให้อันดับโลกในตารางของฟีฟ่าของทีมชาติไทยยังขยับขึ้นเป็นอันดับที่ 142 จากเดิม 144 อีกด้ว.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2014 · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2014และฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016

การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016 หรือในชื่อ เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2016 ตามชื่อของผู้สนับสนุน ซึ่งในปีนี้เป็นการแข่งขันครั้งที่ 11 ของ สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ซึ่งเป็นสหพันธ์ฟุตบอลของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยในปีนี้รอบแบ่งกลุ่มจะจัดการแข่งขันที่ประเทศเมียนมาและฟิลิปปินส์ (ตั้งแต่รอบรองชนะเลิศเป็นต้นไปจะจัดแข่งขันที่ประเทศของชาติที่ผ่านเข้ารอบเท่านั้น).

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016 · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016และฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2018

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2018 หรือ เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2018 ตามชื่อของผู้สนับสนุน เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนครั้งที่ 12 จัดโดย สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ซึ่งเป็นสหพันธ์ฟุตบอลของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยในปีนี้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการแข่งขันใหม่ คือ มีทีมที่เข้าเล่นในรอบแบ่งกลุ่ม 10 ทีม แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ทีม แข่งขันกันแบบพบกันหมด เหย้า – เยือน โดยมีทีมที่จะไปรออยู่ในรอบแบ่งกลุ่มแล้ว 9 ทีม และมีทีมที่มีอันดับโลกฟีฟ่าเป็นอันดับสุดท้ายอยู่ 2 ทีมมาแข่งกันก่อนในรอบเพลย์ออฟ เหย้า – เยือน เพื่อหาผู้ชนะเข้าไปแข่งขันในรอบแบ่งกลุ่มต่อไป ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2018 จะเริ่มแข่งขันรอบเพลย์ออฟในวันที่ 3 – 11 กันยายน และเริ่มการแข่งขันอย่างเป็นทางการในวันที่ 8 พฤศจิกายน – 15 ธันวาคม..

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2018 · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016และฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2018 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์

ฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์ เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศสิงคโปร์ ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลสิงคโปร์ ทีมชาติสิงคโปร์นั้นยังไม่มีผลงานในฟุตบอลโลกหรือในระดับเอเชีย แต่ในระดับอาเซียนนั้นทีมชาติสิงคโปร์เป็นทีมหนึ่งที่ประสบความสำเร็จ โดยชนะการแข่งขันไทเกอร์คัพ 2 ครั้ง ในปี 2541 และ 2548.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์ · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016และฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย

ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศอินโดนีเซีย ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลอินโดนีเซีย ทีมชาติอินโดนีเซียเป็นทีมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพียงไม่กี่ทีมที่เคยร่วมเล่นฟุตบอลโลก โดยเล่นในฟุตบอลโลก 1938 และยังไม่มีผลงานที่โดดเด่นในระดับเอเชีย ส่วนในระดับอาเซียน ทีมอินโดนีเซียได้อันดับรองชนะเลิศไทเกอร์คัพ 3 ครั้ง ในช่วงแรกทีมชาติอินโดนีเซียได้ร่วมเล่นในฟุตบอลโลกในตัวแทนของ ดัตช์อีสต์อินดีส์ (จักรวรรดิดัตช์ตะวันออก) ซึ่งเป็นชื่อของอินโดนีเซียในช่วงที่เป็นเมืองขึ้นของประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยทีมนี้เป็นทีมในทวีปเอเชียทีมแรกที่ได้ร่วมเล่นฟุตบอลโลก โดยเข้าเล่นในฟุตบอลโลก 1938 ที่ฝรั่งเศสเป็นเจ้.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016และฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติไทย

ฟุตบอลทีมชาติไทย เป็นตัวแทนของประเทศไทยในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ และอยู่ภายใต้การบริหารของสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยทีมมีประวัติของความสำเร็จในการแข่งขันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือชนะเลิศอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 5 สมัย และชนะเลิศซีเกมส์ 10 สมัย โดยทีมชาติไทยยังสามารถคว้าอันดับ 3 ในเอเชียนคัพ 1972 และเข้าร่วมการแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2 ครั้ง และในเอเชียนเกมส์ 4 ครั้ง โดยอันดับโลกฟีฟ่าที่ทีมชาติไทยทำอันดับได้ดีที่สุด คือ อันดับที่ 42 ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2541 ปัจจุบันทีมชาติไทยอยู่อันดับที่ 122 ของโลก อันดับที่ 23 ของเอเชีย และอยู่ในอันดับที่ 3 ของอาเซียน จากการจัดอันดับโดยฟีฟ่า (12 เมษายน พ.ศ. 2561).

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลทีมชาติไทย · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016และฟุตบอลทีมชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม

ฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศเวียดนาม ควบคุมโดยสหพันธ์ฟุตบอลเวียดนาม ในปัจจุบัน ทีมชาติเวียดนามยังไม่มีผลงานระดับโลก หรือระดับเอเชีย เท่าไรนัก โดยผลงานที่ดีที่สุดในระดับอาเซียน คือรองชนะเลิศในไทเกอร์คัพ(ถือว่ากาก) ภายหลังจากเวียดนามแบ่งประเทศเป็น เวียดนามเหนือและเวียดนามใต้ ได้มีทีมชาติเกิดขึ้นสองทีม ในขณะที่ฟุตบอลทีมชาติเวียดนามเหนือไม่ค่อยมีผลงานในทางฟุตบอลเท่าไร โดยเล่นกับทีมอื่นในชาติคอมมิวนิสต์ ในระหว่างปี พ.ศ. 2499-พ.ศ. 2509 แต่เวียดนามใต้ ได้ร่วมเล่นในเอเชียนคัพและได้อันดับ 4 สองครั้ง และในปี พ.ศ. 2534 ทีมชาติเวียดนามได้ตั้งขึ้นภายหลังจากที่สองประเทศได้รวมกัน โดยรวมทีมเวียดนามใต้เข้าม.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016และฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

การยิงลูกโทษ

ทีมไอวอรีโคสต์ (ชุดสีส้ม) กำลังยิงลูกโทษ การยิงลูกโทษ เป็นการตั้งเตะทำคะแนนในการแข่งขันฟุตบอล โดยลูกฟุตบอลจะอยู่ในตำแหน่งหน้าประตูห่างมาเป็นระยะ 12 หลา (ประมาณ 11 เมตร) โดยมีผู้รักษาประตูคนเดียวเท่านั้นที่อยู่ในตำแหน่งที่ป้องกันได้ ในการแข่งขันฟุตบอลจะมีการยิงลูกโทษสองลักษณะคือ ลักษณะแรกการยิงลูกโทษระหว่างการแข่งขัน เกิดจากที่ผู้เล่นในฝ่ายรับทำฟาล์วผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามตั้งแต่ภายในเขตโทษ โดยผู้ที่ยิงลูกโทษจะมีสิทธิยิงได้หนึ่งครั้งโดยเมื่อยิงเสร็จแล้วจะปล่อยให้เกมเล่นต่อตามปกติ ในลักษณะที่สองคือการยิงลูกโทษภายหลังจากหมดเวลาการแข่งขัน และทั้งสองฝ่ายมีคะแนนเท่ากัน จะทำการยิงลูกโทษในการตัดสินผู้ชนะ โดยการยิงลูกโทษลักษณะนี้จะ เริ่มต้นโดยผู้ยิงฝ่ายละ 5 คน สลับกันยิงลูกโทษ โดยถ้าไม่สามารถตัดสินกันได้ให้มีการยิงต่อไปเรื่อยๆ จนกว่าจะได้ผู้ชน.

การยิงลูกโทษและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน · การยิงลูกโทษและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน

หพันธ์ฟุตบอลอาเซียน (ASEAN Football Federation) หรือ เอเอฟเอฟ (AFF) เป็นองค์กรย่อยของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย สำหรับจัดการแข่งขันฟุตบอลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเอฟเอฟก่อตั้งในปี พ.ศ. 2537 โดยมี 10 ประเทศสมาชิกอาเซียนในปัจจุบันเป็นสมาชิกก่อตั้ง และในปี พ.ศ. 2539 ได้มีการจัดการแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน และ พ.ศ. 2545 มีการจัดการแข่งขัน อาเซียนคลับแชมเปียนชิพ และ พ.ศ. 2559 จัดการแข่งขัน อาเซียนซูเปอร์ลีก ปัจจุบันเอเอฟเอฟได้มีสมาชิกใหม่คือติมอร์-เลสเต เพิ่มเข้ามาในปี พ.ศ. 2547 และออสเตรเลีย ที่เข้าร่วมการแข่งขันตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 และได้เป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2556.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016และสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน · ดูเพิ่มเติม »

อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007

ในการแข่งขันอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2006 นี้ได้เริ่มเปลี่ยนชื่อจาก "ไทเกอร์คัพ" เดิม มาเป็น อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพขึ้น โดยจะจัดรอบคัดเลือก ระหว่างวันที่ 12 พฤศจิกายน..

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016และอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ธีรศิลป์ แดงดา

ีรศิลป์ แดงดา เกิดวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2531 เป็นนักเตะระดับ กองหน้าทีมชาติไทย เคยลงเล่นกับทีมเอสซีจีเมืองทอง และเคยเล่น ให้กับ อัลเมเรีย ในศึกลาลีก่าของสเปน ปัจจุบันเล่นให้กับ ซานเฟสเซ ฮิโรชิม่า ใน สัญญายืมตัวจาก เอสซีจีเมืองทอง.

ธีรศิลป์ แดงดาและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน · ธีรศิลป์ แดงดาและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ประเทศฟิลิปปินส์และฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน · ประเทศฟิลิปปินส์และฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ประเทศพม่าและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน · ประเทศพม่าและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ไทเกอร์คัพ 1996

ทเกอร์คัพ 1996 เป็นการแข่งขันฟุตบอลในรายการอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ หรือภายใต้ชื่อของ "ไทเกอร์คัพ" ตามผู้สนับสนุน ซึ่งครั้งนี้เป็นการจัดการแข่งครั้งแรกโดยมีประเทศสิงคโปร์เป็นเจ้าภาพ เริ่มการแข่งขันตั้งแต่วัน 1 กันยายน - 15 มกราคม พ.ศ. 2539 โดยมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 10 ประเท.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและไทเกอร์คัพ 1996 · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016และไทเกอร์คัพ 1996 · ดูเพิ่มเติม »

ไทเกอร์คัพ 1998

อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ หรือภายใต้ชื่อของ ไทเกอร์คัพ ตามผู้สนับสนุน โดยครั้งนี้ประเทศเวียดนาม เป็นเจ้าภาพ เริ่มการแข่งขันตั้งแต่วัน 26 สิงหาคม - 5 กันยายน พ.ศ. 2541 โดยมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 8 ประเท.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและไทเกอร์คัพ 1998 · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016และไทเกอร์คัพ 1998 · ดูเพิ่มเติม »

ไทเกอร์คัพ 2000

อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ หรือภายใต้ชื่อของ ไทเกอร์คัพ ตามผู้สนับสนุน โดยครั้งนี้ประเทศไทย เป็นเจ้าภาพ เริ่มการแข่งขันตั้งแต่วัน 5 พฤศจิกายน - 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 โดยมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 9 ประเท.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและไทเกอร์คัพ 2000 · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016และไทเกอร์คัพ 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ไทเกอร์คัพ 2002

อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ หรือภายใต้ชื่อของ ไทเกอร์คัพ ตามผู้สนับสนุน โดยครั้งนี้ประเทศอินโดนีเซียและสิงคโปร์ เป็นเจ้าภาพร่วมกัน เริ่มการแข่งขันตั้งแต่วัน 15 ธันวาคม พ.ศ. 2545 - 29 ธันวาคม พ.ศ. 2546 โดยมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 9 ประเท.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและไทเกอร์คัพ 2002 · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016และไทเกอร์คัพ 2002 · ดูเพิ่มเติม »

ไทเกอร์คัพ 2004

อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ หรือภายใต้ชื่อของ ไทเกอร์คัพ ตามผู้สนับสนุน โดยครั้งนี้ประเทศเวียดนามและมาเลเซีย เป็นเจ้าภาพร่วมกัน เริ่มการแข่งขันตั้งแต่วัน 7 ธันวาคม พ.ศ. 2547 - 16 มกราคม พ.ศ. 2548 โดยมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 10 ประเท.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและไทเกอร์คัพ 2004 · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016และไทเกอร์คัพ 2004 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2008

ในการแข่งขันครั้งนี้ได้เริ่มเปลี่ยนชื่อจากอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ มาเป็น เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ โดยครั้งนี้ประเทศไทยและอินโดนีเซีย เป็นเจ้าภาพร่วมกัน เริ่มการแข่งขันตั้งแต่วัน 5 ธันวาคม - 28 ธันวาคม พ.ศ. 2551 โดยมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 8 ประเท.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2008 · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016และเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2008 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2010

อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2010 หรือ เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2010 ครั้งนี้ถูกจัดขึ้นเป็นครั้งที่ 8 ในวันที่ 1-29 ธันวาคม พ.ศ. 2553 นี้โดยประเทศอินโดนีเซียและประเทศเวียดนามจะเป็นเจ้าภาพร่วมในรอบแบ่งกลุ่มครั้งนี้.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2010 · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016และเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2010 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2012

การแข่งขันฟุตบอล เอเอฟเอฟคัพ 2012 หรือในชื่อ เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2012 ตามชื่อของผู้สนับสนุน ซึ่งในปีนี้เป็นการแข่งขันครั้งที่ 9 ของ สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ซึ่งเป็นสหพันธ์ฟุตบอลของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยในปีนี้จะจัดการแข่งขันที่ มาเลเซีย และ ไทย จะแข่งขันกันระหว่างวันที่ 24 พฤศจิกายน ถึง 22 ธันวาคม พ.ศ. 2555.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2012 · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016และเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2012 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน มี 38 ความสัมพันธ์ขณะที่ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016 มี 52 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 22, ดัชนี Jaccard คือ 24.44% = 22 / (38 + 52)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2016 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »