โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน vs. อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน (ASEAN Football Championship - ชื่อเดิม ไทเกอร์คัพ) หรือ เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ (AFF Suzuki Cup) หรือเรียกย่อกันว่า อาเซียนคัพ เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศในเขตอาเซียน จัดขึ้นทุก ๆ 2 ปี จัดโดย สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน หรือ เอเอฟเอฟ (ASEAN Football Federation - AFF) จัดการแข่งขันครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) ภายใต้ชื่อไทเกอร์คัพ เนื่องจากมีผู้สนับสนุนหลักคือเบียร์ไทเกอร์ เบียร์จากสิงคโปร์ ภายหลังเมื่อเบียร์ไทเกอร์ได้ยกเลิกการสนับสนุน จึงเปลี่ยนชื่อจากไทเกอร์คัพเป็นอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ แต่เปลี่ยนชื่อได้แค่ปีเดียวก็มีซูซูกิเข้ามาเป็นผู้สนับสนุนใหม่ จึงเปลี่ยนชื่อเป็น เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ สืบมาจนถึงปัจจุบัน. ในการแข่งขันอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2006 นี้ได้เริ่มเปลี่ยนชื่อจาก "ไทเกอร์คัพ" เดิม มาเป็น อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพขึ้น โดยจะจัดรอบคัดเลือก ระหว่างวันที่ 12 พฤศจิกายน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 มี 15 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟุตบอลทีมชาติพม่าฟุตบอลทีมชาติมาเลเซียฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซียฟุตบอลทีมชาติไทยฟุตบอลทีมชาติเวียดนามพ.ศ. 2549อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007ประเทศฟิลิปปินส์ประเทศมาเลเซียประเทศสิงคโปร์ประเทศไทยประเทศเวียดนามไทเกอร์คัพ 2004เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2008

ฟุตบอลทีมชาติพม่า

ฟุตบอลทีมชาติพม่า (Myanmar national football team; พม่า: မြန်မာ အမျိုးသား ဘောလုံးအသင်း) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศพม่า อยู่ภายใต้การควบคุมของ สหพันธ์ฟุตบอลพม่า ทีมชาติพม่ายังไม่มีผลงานในระดับโลก แต่ในระดับเอเชีย เคยได้รองชนะเลิศในการแข่งขัน เอเชียนคัพ สำหรับในระดับอาเซียน อับดับสูงสุดคือได้เข้ารอบรองชนะเลิศใน ไทเกอร์คัพ ซึ่งในเอเชียนคัพของเขตอาเซียน ทีมชาติพม่าถือได้ว่ามีสถิติสูงสุด โดยได้อันดับรองชนะเลิศ ใน เอเชียนคัพ 1968 ในช่วงทศวรรษที่ 60-70 พม่าถือว่าเป็นทีมฟุตบอลระดับแถวหน้าของอาเซียนและทีมหนึ่งในระดับเอเชีย โดยได้แชมป์เซียปเกมส์ (กีฬาแหลมทอง) ถึง 5 สมัย แชมป์เอเชียนเกมส์ถึง 2 สมัย อีกทั้งยังเคยเข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลในกีฬาโอลิมปิก 1972 ที่นครมิวนิค ประเทศเยอรมนีตะวันตก แต่หลังจากปี..

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลทีมชาติพม่า · ฟุตบอลทีมชาติพม่าและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติมาเลเซีย

ฟุตบอลทีมชาติมาเลเซีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศมาเลเซียภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลมาเลเซีย ผลงานในระดับโลกของทีมชาติมาเลเซียนั้น ยังไม่เคยได้เข้าร่วมในฟุตบอลโลก แต่ทีมชาติมาเลเซียได้เข้าร่วมโอลิมปิก ที่มิวนิก ใน โอลิมปิก 1972 ส่วนในระดับเอเชียนั้น ทีมชาติมาเลเซียได้ร่วมเล่นในเอเชียนคัพโดยอันดับสูงสุดคือรอบแรกของการแข่งเอเชียนคัพ และในระดับอาเซียน ทีมชาติมาเลเซีย ได้อันดับสูงสุดคือรองชนะเลิศ ไทเกอร์คัพ สำหรับฉายาของทีมชาติมาเลเซีย สื่อมวลชนในประเทศไทยนิยมเรียกกันว่า "เสือเหลือง" และมีฉายาของกองเชียร์ว่า "Ultras Malaya" (อุลตร้าส์มาลายา).

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลทีมชาติมาเลเซีย · ฟุตบอลทีมชาติมาเลเซียและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์

ฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์ เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศสิงคโปร์ ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลสิงคโปร์ ทีมชาติสิงคโปร์นั้นยังไม่มีผลงานในฟุตบอลโลกหรือในระดับเอเชีย แต่ในระดับอาเซียนนั้นทีมชาติสิงคโปร์เป็นทีมหนึ่งที่ประสบความสำเร็จ โดยชนะการแข่งขันไทเกอร์คัพ 2 ครั้ง ในปี 2541 และ 2548.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์ · ฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์และอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย

ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศอินโดนีเซีย ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลอินโดนีเซีย ทีมชาติอินโดนีเซียเป็นทีมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพียงไม่กี่ทีมที่เคยร่วมเล่นฟุตบอลโลก โดยเล่นในฟุตบอลโลก 1938 และยังไม่มีผลงานที่โดดเด่นในระดับเอเชีย ส่วนในระดับอาเซียน ทีมอินโดนีเซียได้อันดับรองชนะเลิศไทเกอร์คัพ 3 ครั้ง ในช่วงแรกทีมชาติอินโดนีเซียได้ร่วมเล่นในฟุตบอลโลกในตัวแทนของ ดัตช์อีสต์อินดีส์ (จักรวรรดิดัตช์ตะวันออก) ซึ่งเป็นชื่อของอินโดนีเซียในช่วงที่เป็นเมืองขึ้นของประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยทีมนี้เป็นทีมในทวีปเอเชียทีมแรกที่ได้ร่วมเล่นฟุตบอลโลก โดยเข้าเล่นในฟุตบอลโลก 1938 ที่ฝรั่งเศสเป็นเจ้.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย · ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซียและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติไทย

ฟุตบอลทีมชาติไทย เป็นตัวแทนของประเทศไทยในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ และอยู่ภายใต้การบริหารของสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยทีมมีประวัติของความสำเร็จในการแข่งขันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือชนะเลิศอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 5 สมัย และชนะเลิศซีเกมส์ 10 สมัย โดยทีมชาติไทยยังสามารถคว้าอันดับ 3 ในเอเชียนคัพ 1972 และเข้าร่วมการแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2 ครั้ง และในเอเชียนเกมส์ 4 ครั้ง โดยอันดับโลกฟีฟ่าที่ทีมชาติไทยทำอันดับได้ดีที่สุด คือ อันดับที่ 42 ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2541 ปัจจุบันทีมชาติไทยอยู่อันดับที่ 122 ของโลก อันดับที่ 23 ของเอเชีย และอยู่ในอันดับที่ 3 ของอาเซียน จากการจัดอันดับโดยฟีฟ่า (12 เมษายน พ.ศ. 2561).

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลทีมชาติไทย · ฟุตบอลทีมชาติไทยและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม

ฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศเวียดนาม ควบคุมโดยสหพันธ์ฟุตบอลเวียดนาม ในปัจจุบัน ทีมชาติเวียดนามยังไม่มีผลงานระดับโลก หรือระดับเอเชีย เท่าไรนัก โดยผลงานที่ดีที่สุดในระดับอาเซียน คือรองชนะเลิศในไทเกอร์คัพ(ถือว่ากาก) ภายหลังจากเวียดนามแบ่งประเทศเป็น เวียดนามเหนือและเวียดนามใต้ ได้มีทีมชาติเกิดขึ้นสองทีม ในขณะที่ฟุตบอลทีมชาติเวียดนามเหนือไม่ค่อยมีผลงานในทางฟุตบอลเท่าไร โดยเล่นกับทีมอื่นในชาติคอมมิวนิสต์ ในระหว่างปี พ.ศ. 2499-พ.ศ. 2509 แต่เวียดนามใต้ ได้ร่วมเล่นในเอเชียนคัพและได้อันดับ 4 สองครั้ง และในปี พ.ศ. 2534 ทีมชาติเวียดนามได้ตั้งขึ้นภายหลังจากที่สองประเทศได้รวมกัน โดยรวมทีมเวียดนามใต้เข้าม.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม · ฟุตบอลทีมชาติเวียดนามและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2549และฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน · พ.ศ. 2549และอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007

ในการแข่งขันอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2006 นี้ได้เริ่มเปลี่ยนชื่อจาก "ไทเกอร์คัพ" เดิม มาเป็น อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพขึ้น โดยจะจัดรอบคัดเลือก ระหว่างวันที่ 12 พฤศจิกายน..

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007และอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ประเทศฟิลิปปินส์และฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน · ประเทศฟิลิปปินส์และอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ประเทศมาเลเซียและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน · ประเทศมาเลเซียและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ประเทศสิงคโปร์และฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน · ประเทศสิงคโปร์และอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน · ประเทศไทยและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ประเทศเวียดนามและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน · ประเทศเวียดนามและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ไทเกอร์คัพ 2004

อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ หรือภายใต้ชื่อของ ไทเกอร์คัพ ตามผู้สนับสนุน โดยครั้งนี้ประเทศเวียดนามและมาเลเซีย เป็นเจ้าภาพร่วมกัน เริ่มการแข่งขันตั้งแต่วัน 7 ธันวาคม พ.ศ. 2547 - 16 มกราคม พ.ศ. 2548 โดยมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 10 ประเท.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและไทเกอร์คัพ 2004 · อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007และไทเกอร์คัพ 2004 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2008

ในการแข่งขันครั้งนี้ได้เริ่มเปลี่ยนชื่อจากอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ มาเป็น เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ โดยครั้งนี้ประเทศไทยและอินโดนีเซีย เป็นเจ้าภาพร่วมกัน เริ่มการแข่งขันตั้งแต่วัน 5 ธันวาคม - 28 ธันวาคม พ.ศ. 2551 โดยมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 8 ประเท.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2008 · อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007และเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2008 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน มี 38 ความสัมพันธ์ขณะที่ อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 มี 49 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 15, ดัชนี Jaccard คือ 17.24% = 15 / (38 + 49)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »