เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและศรัณยู วงษ์กระจ่าง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและศรัณยู วงษ์กระจ่าง

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง vs. ศรัณยู วงษ์กระจ่าง

งษ์พัฒน์ วชิรบรรจง (เกิด 2 กันยายน พ.ศ. 2504) ชื่อเล่น อ๊อฟ เป็นนักร้อง นักแสดง และผู้กำกับชาวไทย ทางด้านธุรกิจเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัท แอค อาร์ต เจเนอเรชั่น จำกัด อ๊อฟจบปริญญาตรี พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร. รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและศรัณยู วงษ์กระจ่าง

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและศรัณยู วงษ์กระจ่าง มี 30 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บุษกร วงศ์พัวพันธ์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีบ้านทรายทองพ.ศ. 2549พฤษภาทมิฬพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยพันท้ายนรสิงห์การประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งกาเหว่าที่บางเพลงรางวัลนาฏราชรางวัลโทรทัศน์ทองคำวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553วนาลีศรัณยู วงษ์กระจ่างศิริลักษณ์ ผ่องโชคสยามพารากอนสุริโยไทหัวใจ 4 สีอยู่กับก๋งอวสานเซลส์แมนจริยา แอนโฟเน่ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ดงผู้ดีคมชัดลึก อวอร์ดปรียานุช ปานประดับนาถยา แดงบุหงาแอน ทองประสมเพ็ญพักตร์ ศิริกุลเมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์29 มีนาคม

บุษกร วงศ์พัวพันธ์

ษกร วงศ์พัวพันธ์ หรือ บุษกร พรวรรณะศิริเวช ชื่อเล่นว่า "หน่อย" เกิดวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2513 เป็นนักแสดง และพิธีกรรายการโทรทัศน.

บุษกร วงศ์พัวพันธ์และพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · บุษกร วงศ์พัวพันธ์และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

บ้านทรายทอง

้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ เป็นนวนิยายอมตะเรื่องหนึ่งของวงการวรรณกรรมไทย เขียนโดย ก.สุรางคนางค์ (กัณหา เคียงศิริ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ปี 2529) นักประพันธ์ผู้มีชื่อเสียง ตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสารรายปักษ์ชื่อ "ปิยมิตร" ประมาณปี พ.ศ. 2493 เคยเป็น ละครโทรทัศน์และ ภาพยนตร์ ได้รับความนิยมสูงตลอดมา สวลี ผกาพันธุ์ มีชื่อเสียงจากบทสาวน้อยถักผมเปีย พจมาน สว่างวงศ์ คนแรกในวงการแสดง จากละครเวทีของคณะอัศวินการละคร ของ เสด็จพระองค์ชายใหญ่ (ภาณุพันธุ์) ที่ ศาลาเฉลิมไท..

บ้านทรายทองและพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · บ้านทรายทองและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2549และพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · พ.ศ. 2549และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาทมิฬ

หตุการณ์พฤษภาทมิฬ เป็นเหตุการณ์ที่ประชาชนเคลื่อนไหวประท้วงรัฐบาลครั้งสำคัญครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองที่มีพลเอกสุจินดา คราประยูร เป็น นายกรัฐมนตรี และต่อต้านการสืบทอดอำนาจของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ระหว่างวันที่ 17-24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นการรัฐประหาร รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นำไปสู่เหตุการณ์ปราบปรามและปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจและทหารกับประชาชนผู้ชุมนุม มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจำนวนมาก (พลเอกสุจินดาแถลงว่ามีผู้เสียชีวิต 40 คน บาดเจ็บ 600 คน) และนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เหตุการณ์ได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ โดยมีหัวหน้าคณะคือ พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในขณะนั้นภายหลังการรัฐประหารได้เลือกนาย อานันท์ ปันยารชุน เป็นรักษาการนายกรัฐมนตรีและได้ร่างรัฐธรรมนูญจนมีการเลือกตั้งผลปรากฏว่านายณรงค์ วงศ์วรรณ หัวหน้าพรรคสามัคคีธรรมที่ตั้งขึ้นและได้รับการสนับสนุนจากบุคคลในคณะ ร. ได้คะแนนมากที่สุด แต่สุดท้ายไม่สามารถดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีได้เนื่องจากถูกรัฐบาลสหรัฐขึ้นบัญชีดำจากความใกล้ชิดกับนักค้ายาเสพติด ทำให้ พล.อ.สุจินดา ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน ซึ่งเป็นการตระบัดสัตย์ที่เคยกล่าวไว้ว่าจะไม่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนได้รับฉายา "เสียสัตย์เพื่อชาติ" จากสื่อมวลชนในเวลาต่อมา จากผลดังกล่าว ทำให้ประชาชนหลายส่วนไม่พอใจการขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีของพล.อ.สุจินดา ซึ่งขัดกับหลักประชาธิปไตย จนนำไปสู่การประท้วงทั้งการอดอาหาร การเดินขบวน และการชุมนุมในสถานที่ต่างๆ ในกรุงเทพฯ ทำให้รัฐบาลพล.อ.สุจินดาใช้คำสั่งสลายการชุมนุม เกิดการปะทะขึ้น มีประชาชนเสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก ในเวลาต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงรับสั่งให้พลเอกสุจินดา คราประยูรและพลตรีจำลอง ศรีเมืองเข้าเฝ้า โดยทรงพระราชทานพระราชดำรัสแก่คณะผู้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ซึ่งได้มีการเผยแพร่ผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย หลังจากนั้นอีก 4 วัน พล.อ.สุจินดา จึงได้ประกาศลาออกจากการเป็นนายกรัฐมนตรี และนายอานันท์ ปันยารชุน ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ก่อนการเลือกตั้งในเวลาต่อมา การชุมนุมในครั้งนี้ยังเป็นการชุมนุมที่ผู้ประท้วงมีโทรศัพท์มือถือใช้สื่อสารจนถูกเรียกว่าเป็น "ม็อบมือถือ" และรวมถึงการเรียกชื่อฝั่งพรรคซึ่งแตกออกเป็น 2 ฝั่งจากผู้สื่อข่าว โดยเรียกฝั่งพรรคที่เข้าไปทางรัฐบาลของพล.อ.สุจินดา ว่า "พรรคมาร" ส่วนฝั่งพรรคที่คัดค้านการมีอำนาจของพล.อ.สุจินดา เรียกว่า "พรรคเทพ".

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและพฤษภาทมิฬ · พฤษภาทมิฬและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

ันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (People's Alliance for Democracy, PAD) หรือเรียกว่า กลุ่มพันธมิตรกู้ชาติ หรือ กลุ่มคนเสื้อเหลือง เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทยที่มีบทบาทสำคัญในช่วง พ.ศ. 2548-2552 โดยเป็นการรวมตัวจากหลายองค์กรทั่วประเทศ และได้รับการสนับสนุนจากหลายฝ่าย ภายใต้จุดประสงค์ในการขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และแสดงความต้องการให้อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทนอย่างเปิดเผยBloomberg,, 19 December 2008 กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยมีแกนนำคนสำคัญ ได้แก่ สนธิ ลิ้มทองกุล และพลตรีจำลอง ศรีเมือง สัญลักษณ์หลักของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย มีการใช้สีเหลืองเป็นสัญลักษณ์หลัก และมีการใส่เสื้อสีเหลืองพร้อมผ้าโพกศีรษะที่มีข้อความว่า "กู้ชาติ" และผ้าพันคอสีฟ้า และมีมือตบเป็นเครื่องมือสัญลักษณ์ ในปี..

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย · พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

พันท้ายนรสิงห์

รูปเคารพพันท้ายนรสิงห์ ที่ศาลพันท้ายนรสิงห์ ภายในอุทยานประวัติศาสตร์พันท้ายนรสิงห์ พันท้ายนรสิงห์ เป็นนายท้ายเรือในรัชสมัยพระเจ้าเสือ หรือสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ตอนปลายอาณาจักรอยุธยา โดยพันท้ายนรสิงห์เป็นผู้มีชื่อเสียงด้านความซื่อสัต.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและพันท้ายนรสิงห์ · พันท้ายนรสิงห์และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

การประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง

การประท้วงทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง เป็นเหตุการณ์ในประเทศไทยที่เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2547 ในช่วงปลายรัฐบาลทักษิณ 1 เมื่อมีการรวมตัวของกลุ่มคนในนาม กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์ และมีการชุมนุมปราศรัยเพื่อขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เมื่อวันที่ 25 กันยายน..

การประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งและพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · การประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

กาเหว่าที่บางเพลง

ฉากภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2537 กาเหว่าที่บางเพลง เป็นนิยายวิทยาศาสตร์ ผลงานประพันธ์ของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ตีพิมพ์เป็นตอนๆ ลงในหนังสือพิมพ์สยามรัฐรายวัน ช่วงประมาณ..

กาเหว่าที่บางเพลงและพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · กาเหว่าที่บางเพลงและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลนาฏราช

รางวัลนาฏราช เป็นรางวัลแห่งผู้ที่สร้างโลกบันเทิงที่สร้างสรรค์ จัดโดยสมาพันธ์สมาคมวิชาชีพวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ โดยผู้ลงคะแนนเป็นบุคคลในวิชาชีพวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์โดยตรง.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและรางวัลนาฏราช · รางวัลนาฏราชและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ รางวัลโทรทัศน์ทองคำ เป็นรางวัลผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ ซึ่งจัดโดยชมรมส่งเสริมโทรทัศน์ เริ่มครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2529 โดยเป็นรางวัลสำหรับผลงานทางโทรทัศน์ที่มีอายุยาวนานที่สุด และยังมีการมอบรางวัลจวบจนถึงปัจจุบัน.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ · รางวัลโทรทัศน์ทองคำและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553

วิกฤตการณ์การเมืองไท..

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553 · วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

วนาลี

วนาลี เป็นนวนิยายไทยแนวรัก บทประพันธ์ของ สราญจิตต์ ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2498 และต่อมาอีกหลายครั้ง ครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2553 สำนักพิมพ์แสงดาว ได้นำมาตีพิมพ์ใหม่ เป็นเล่มปกอ่อน วนาลี ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2502 นำแสดงโดย เกศริน ปัทมวรรณ และ อาคม มกรานนท์ ครั้งที่สองในปี พ.ศ. 2529 นำแสดงโดย พิม วัฒนพานิช และ ไพโรจน์ สังวริบุตร ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างสูง ต่อมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์อีก 2 ครั้ง ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2533 นำแสดงโดย ศรัณยู วงศ์กระจ่าง และ ลลิตา ปัญโญภาส ประสบความสำเร็จอย่างสูงเช่นกัน และครั้งที่สองในปี พ.ศ. 2554 นำแสดงโดย ณัฐวุฒิ สกิดใจ และ ลักษณ์นารา เปี้ยท.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและวนาลี · วนาลีและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559).

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ศิริลักษณ์ ผ่องโชค

ริลักษณ์ ผ่องโชค ชื่อเล่น จอย นักแสดงและนักร้องชาวไทย เป็นนักแสดงที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงไทย ที่มีผลงานละครสร้างชื่อเสียง ได้แก่ รักเดียวของเจนจิรา, สาวน้อยคาเฟ่, ราชินีหมอลำ, เสน่ห์นางงิ้ว เป็นต้น.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและศิริลักษณ์ ผ่องโชค · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและศิริลักษณ์ ผ่องโชค · ดูเพิ่มเติม »

สยามพารากอน

้านหน้าสยามพารากอน สยามพารากอนเวลากลางคืน ด้านข้างสยามพารากอนเวลากลางคืน ศูนย์การค้าสยามพารากอน (Siam Paragon) เป็น ศูนย์การค้า ขนาดใหญ่ในกลุ่มพลังสยาม มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศไทย รองจากศูนย์การค้า เซ็นทรัลเวิลด์ และ เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต บริหารงานโดย บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด ร่วมกับ บริษัท เดอะมอลล์กรุ๊ป จำกัด ในนาม บริษัท สยามพารากอน ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด และ บริษัท สยามพารากอน รีเทล จำกัด ตั้งอยู่บน ถนนพระรามที่ 1 ในพื้นที่แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เน้นความสำคัญกับกลุ่มลูกค้าที่มีกำลังซื้อสูง กลุ่มนักท่องเที่ยว กลุ่มลูกค้าต่างชาติ และกลุ่มลูกค้าระดับกลางถึงบนในศูนย์การค้าเดียว อีกทั้งยังเป็นศูนย์การค้าคู่แข่งกับ เซ็นทรัลเวิลด์ โดยตรง สยามพารากอนมีลูกค้าชาวไทยประมาณ 60% และชาวต่างชาติ 40% เป็นสถานที่ที่มีผู้แชร์ภาพผ่านอินสตาแกรมมากที่สุดในโลกในปี..

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและสยามพารากอน · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและสยามพารากอน · ดูเพิ่มเติม »

สุริโยไท

ริโยไท เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ เน้นถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตของตัวละครเอก คือ พระสุริโยไท พระมเหสีของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอ.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและสุริโยไท · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและสุริโยไท · ดูเพิ่มเติม »

หัวใจ 4 สี

หัวใจ 4 สี เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและหัวใจ 4 สี · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและหัวใจ 4 สี · ดูเพิ่มเติม »

อยู่กับก๋ง

อยู่กับก๋ง (ละครเทิดพระเกียรติ) เป็นละครโทรทัศน์แนว ดราม่า บทประพันธ์ หยก บูรพา บทโทรทัศน์โดย มนชยา พานิชสาส์น กำกับการแสดงโดย สราวุธ วิเชียรสาร ผลิตโดย บริษัท ทูแฮนส์ จำกัด ออกอากาศทุกวันเสาร์–อาทิตย์ เวลา 20.15 - 21.00 น. ทาง สถานีโทรทัศน์กองทัพบก นำแสดงโดย พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง, โฉมฉาย ฉัตรวิไล,..

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและอยู่กับก๋ง · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและอยู่กับก๋ง · ดูเพิ่มเติม »

อวสานเซลส์แมน

อวสานเซลส์แมน (Death of a Salesman) เป็นบทละคร ผลงานประพันธ์ของอาร์เธอร์ มิลเลอร์ เมื่อปี พ.ศ. 2492 และได้รางวัลพูลิตเซอร์ และรางวัลโทนี ในปีนั้น บทละครกล่าวถึงชีวิตของวิลลี่ โลแมน เซลส์แมนที่ต้องวิ่งหาลูกค้า เพื่อความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ยอมทำทุกอย่างแม้กระทั่งการโกหกพกลม แต่แล้วในที่สุดก็ต้องยอมพ่ายแพ้ต่อโชคชะตาด้วยความขมขื่น โลแมนกอบกู้ศักดิ์ศรีของตัวเองโดยการฆ่าตัวตาย เพื่อการยอมรับจากลูกเมียของตัวเอง อวสานเซลส์แมน ได้รับการยกย่องว่าเป็นละครแห่งยุค มิลเลอร์สามารถสะท้อนสภาพสังคม และความฝันของคนอเมริกันชนได้อย่างถึงแก่น และเป็นผลงานชิ้นเอกของมิลเลอร์ ถูกนำมาแสดงเป็นละครเวที และภาพยนตร์หลายครั้ง.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและอวสานเซลส์แมน · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและอวสานเซลส์แมน · ดูเพิ่มเติม »

จริยา แอนโฟเน่

ริยา แอนโฟเน่ (ชื่อเล่น: นก) หรือ จริยา สรณะคม แต่นามสกุลเดิมจริงคือ องค์สรณะคม เกิดเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2508 ที่กรุงเทพ (แต่คุณพ่อเป็นชาวภูเก็ต).

จริยา แอนโฟเน่และพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · จริยา แอนโฟเน่และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์

ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ (เดิมชื่อ นัฏฐิกา หรือ ณัฏฐิกา) หรือ น้ำผึ้ง เกิดเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2521 เป็น นักแสดงชาวไทยและอดีตผู้ประกาศข่าว.

ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์และพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ดงผู้ดี

งผู้ดี เป็นละครที่ออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ประพันธ์โดย บุษยมาส เคยสร้างเป็นละครโทรทัศน์เมื่อปี..

ดงผู้ดีและพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · ดงผู้ดีและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก อวอร์ด

มชัดลึก อวอร์ด เป็นรางวัลที่มอบให้กับบุคคลในวงการบันเทิงไทย ใน 4 สาขา คือ ละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ เพลงไทยสากล และเพลงลูกทุ่ง จัดโดย ฝ่ายข่าวบันเทิง หนังสือพิมพ์คมชัดลึก มีพิธีมอบรางวัลเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2547 จนถึงปัจจุบัน.

คมชัดลึก อวอร์ดและพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · คมชัดลึก อวอร์ดและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ปรียานุช ปานประดับ

ปรียานุช ปานประดับ (เกิด 18 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นผู้หญิงไทยคนที่ 2 ที่ได้รับตำแหน่งมิสเอเชียแปซิฟิก นักแสดง ผู้จัดละคร และผู้เขียนบทโทรทัศน์ โดยใช้นามปากกาว่า นายพันดี สมรสกับนพพล โกมารชุน บุตรชายของจุรี โอศิริ และ เสนอ โกมารชุน.

ปรียานุช ปานประดับและพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · ปรียานุช ปานประดับและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

นาถยา แดงบุหงา

นาถยา แดงบุหงา มีชื่อจริงว่า นาถยา เบ็ญจศิริวรรณ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตนักแสดงและนางแบบที่มีชื่อเสียง นอกจากจะเป็นดาราสาวที่ได้รับการยกย่องว่า ทั้งสวย ทั้งเก๋ และเก่ง แล้ว เธอคนนี้ยังได้ชื่อว่าเป็น “เจ้าแม่พรีเซ็นเตอร์” แห่งยุคอีกด้ว.

นาถยา แดงบุหงาและพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · นาถยา แดงบุหงาและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

แอน ทองประสม

แอน ทองประสม เกิดวันที่ 1 พฤศจิกายน..

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและแอน ทองประสม · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและแอน ทองประสม · ดูเพิ่มเติม »

เพ็ญพักตร์ ศิริกุล

็ญพักตร์ ศิริกุล (ชื่อเล่น: ต่าย เกิดเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2504) เป็นนักแสดง, นางแบบ และนักร้องชาวไทย โด่งดังจากการถ่ายแบบเปลือ.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและเพ็ญพักตร์ ศิริกุล · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและเพ็ญพักตร์ ศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์

มืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์ (Muangthai Rachadalai Theatre) เป็นโรงละครสำหรับแสดงละครเวที ตั้งอยู่ชั้น 4 ศูนย์การค้าเอสพละนาด รัชดาภิเษก ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร ใช้สำหรับละครเวที คอนเสิร์ต การแสดง การประชุม และกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ ด้วยความจุ 1,512 ที่นั่ง โดยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ครั้งดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินแทนพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ไปทรงเปิดโรงละครอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2550.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและเมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์ · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและเมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

29 มีนาคม

วันที่ 29 มีนาคม เป็นวันที่ 88 ของปี (วันที่ 89 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 277 วันในปีนั้น.

29 มีนาคมและพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · 29 มีนาคมและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและศรัณยู วงษ์กระจ่าง

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง มี 146 ความสัมพันธ์ขณะที่ ศรัณยู วงษ์กระจ่าง มี 270 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 30, ดัชนี Jaccard คือ 7.21% = 30 / (146 + 270)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและศรัณยู วงษ์กระจ่าง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: