โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและเพ็ญพักตร์ ศิริกุล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและเพ็ญพักตร์ ศิริกุล

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง vs. เพ็ญพักตร์ ศิริกุล

งษ์พัฒน์ วชิรบรรจง (เกิด 2 กันยายน พ.ศ. 2504) ชื่อเล่น อ๊อฟ เป็นนักร้อง นักแสดง และผู้กำกับชาวไทย ทางด้านธุรกิจเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัท แอค อาร์ต เจเนอเรชั่น จำกัด อ๊อฟจบปริญญาตรี พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร. ็ญพักตร์ ศิริกุล (ชื่อเล่น: ต่าย เกิดเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2504) เป็นนักแสดง, นางแบบ และนักร้องชาวไทย โด่งดังจากการถ่ายแบบเปลือ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและเพ็ญพักตร์ ศิริกุล

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและเพ็ญพักตร์ ศิริกุล มี 12 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2504รักในรอยแค้นรางวัลไนน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ดส์ ครั้งที่ 10สุริโยไทสุดแต่ใจจะไขว่คว้าหัวใจสองภาคคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 14ประเทศไทยแรด (เลือดมังกร)เมื่อดอกรักบานเหนือเมฆ 2 มือปราบจอมขมังเวทย์เทวดาตกสวรรค์

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2504และพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · พ.ศ. 2504และเพ็ญพักตร์ ศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

รักในรอยแค้น

รักในรอยแค้น เป็นละครดราม่าเรื่องแรกของบริษัท เอ็กแซ็กท์ จำกัด - Official site ซึ่งออกอากาศ เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2535 เป็นผลงานการกำกับละครยาวเรื่องแรกของ ถกลเกียรติ วีรวรรณ และยังเป็นละครยาวเรื่องแรกของ ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง รวมทั้งผลงานเข้าสู่วงการบันเทิงของ นุสบา วานิชอังกูร ซึ่งละครได้รับผลตอบรับที่ดีเยี่ยม กลายเป็นผลงานสร้างชื่อของทั้งบริษัท, ผู้กำกับ และ นักแสดง รักในรอยแค้น เขียนเค้าโครงเรื่องโดย วาณิช จรุงกิจอนันต์ และเขียนบทโทรทัศน์โดย ทองขาว ทวีปรังษีนุกุล เป็นเรื่องของความรักของ 2 หนุ่ม-สาวที่ไม่อาจเป็นไปได้เพราะมาอยู่ตรงกลางระหว่างความแค้นของ 2 ตระกูล และมีฉากจบถูกพูดถึงมากที่สุดจนถึงทุกวันนี้ รักในรอยแค้น ได้นำกลับมาสร้างใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2545 เนื่องในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของบริษัท เอ็กแซ็กท์ ซึ่งบทพัดยศนำแสดงโดย ณวัฒน์ กุลรัตนรักษ์ รับบท พัดยศ และ เอวิตรา ศิระสาตร์ รับบท องค์อร.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและรักในรอยแค้น · รักในรอยแค้นและเพ็ญพักตร์ ศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลไนน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ดส์ ครั้งที่ 10

รางวัลไนน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ดส์ ครั้งที่ 10 ประจำปี พ.ศ. 2559 จัดโดย กองบรรณาธิการข่าวศิลปวัฒนธรรมและบันเทิง สำนักข่าวไทย โดยตัดสินเพื่อมอบรางวัลจากการลงคะแนนของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คำวิจารณ์จะถูกนำส่งคณะกรรมการตัดสินเพื่อร่วมพิจารณารางวัล ภายใต้แนวคิด "หน้าม่านคุณภาพ หลังม่านคุณธรรม" จัดขึ้นในวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและรางวัลไนน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ดส์ ครั้งที่ 10 · รางวัลไนน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ดส์ ครั้งที่ 10และเพ็ญพักตร์ ศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุริโยไท

ริโยไท เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ เน้นถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตของตัวละครเอก คือ พระสุริโยไท พระมเหสีของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอ.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและสุริโยไท · สุริโยไทและเพ็ญพักตร์ ศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุดแต่ใจจะไขว่คว้า

แต่ใจจะไขว่คว้า เป็นละครโทรทัศน์ไทยแนวสะท้อนชีวิต สร้างสรรค์สังคม ที่สร้างจากบทประพันธ์ของ โบตั๋น ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2529 เริ่มสร้างครั้งแรกในปี พ.ศ. 2532 โดยสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำแสดงโดย เสกสรร ชัยเจริญ รอน บรรจงสร้าง ชุดาภา จันทเขตต์ ก้ามปู สุวรรณปัทม์ อารดา ศรีสร้อยแก้ว สะอาด เปี่ยมพงษ์สานต์ พิศมัย วิไลศักดิ์ แต่งเพลงนำละครโดย เทียรี่ เมฆวัฒนา และ สมหวัง อนุศักดิ์เสถียร ซึ่งจากนี้เองได้รับรางวัลเมขลา และ โทรทัศน์ทองคำ สาขาเพลงนำละครดีเด่น และละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น ต่อมามีการสร้างละครโทรทัศน์อีกในปี พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2551 โดยออกอากาศทางช่องเดิม และใช้เพลงนำละครมาแต่เดิม เพียงเปลี่ยนผู้ร้อง และสร้างเป็นละครโทรทัศน์อีกครั้งในปี 2558 ออกอากาศทางช่อง 8.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและสุดแต่ใจจะไขว่คว้า · สุดแต่ใจจะไขว่คว้าและเพ็ญพักตร์ ศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

หัวใจสองภาค

ละครหัวใจสองภาค ปี พ.ศ. 2530 หัวใจสองภาค เป็นละครโทรทัศน์ไทย แนวดราม่า-โรแมนติก จากบทประพันธ์ของ ม.มธุการี โดยมีการสร้างเป็น ละครโทรทัศน์ มาแล้ว 3 ครั้งด้วยกัน ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2530 และครั้งที่สองในปี พ.ศ. 2543 ออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 และครั้งที่สามในปี พ.ศ. 2552-พ.ศ. 2553 ออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและหัวใจสองภาค · หัวใจสองภาคและเพ็ญพักตร์ ศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 14

หมวดหมู่:กล่องท้ายเรื่อง.

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 14และพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 14และเพ็ญพักตร์ ศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · ประเทศไทยและเพ็ญพักตร์ ศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

แรด (เลือดมังกร)

แรด เป็นละครในชุด เลือดมังกร สร้างจากนิยายชื่อเดียวกัน เพื่อฉลองการครบรอบสี่สิบห้าปีของช่อง 3.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและแรด (เลือดมังกร) · เพ็ญพักตร์ ศิริกุลและแรด (เลือดมังกร) · ดูเพิ่มเติม »

เมื่อดอกรักบาน

มื่อดอกรักบาน เป็นละครที่สร้างจากบทประพันธ์เรื่อง ดอกรักบานที่สันกำแพง โดย อรชร กำกับการแสดงโดย พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง นำแสดงโดย กฤษฎา พรเวโรจน์ แสดงเป็น กานต์ ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ แสดงเป็น สายไหม เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ แสดงเป็น เคลีย ชาตโยดม หิรัญยัษฐิติ แสดงเป็น ตะวัน ณัฐพล ลียะวณิช แสดงเป็น สุริยน ศิรพันธ์ วัฒนจินดา แสดงเป็น สายน้ำผึ้ง ออกอากาศทุกทุกวันจันทร์ - อังคาร เวลา 20.30 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ได้รับรางวัลจาก รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 22 ประจำปี 2550 คือ รางวัลองค์ประกอบศิลป์ดีเด่น รางวัลดารานำชายดีเด่น รางวัลดารานำหญิงดีเด่น และ รางวัลละครดีเด่น ก่อนหน้านี้ เมื่อดอกรักบาน เคยถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ชื่อ สันกำแพง โดย ไพรัช กสิวัฒน์ ในปี พ.ศ. 2511 นำแสดงโดย สมบัติ เมทะนี, อรัญญา นามวงศ์ และ สุทิศา พัฒนุช ต่อมาได้สร้างเป็นภาพยนตร์อีกครั้งในปี พ.ศ. 2523 นำแสดงโดย สรพงษ์ ชาตรี แสดงเป็น กานต์ นันทิดา แก้วบัวสาย แสดงเป็น สายไหม ธิติมา สังขพิทักษ์ แสดงเป็น เคลีย มนตรี เจนอักษร แสดงเป็น ตะวัน ปิยะ ตระกูลราษฎร์ แสดงเป็น สุริยน และ พรพรรณ เกษมมัสสุ แสดงเป็น สายน้ำผึ้ง.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและเมื่อดอกรักบาน · เพ็ญพักตร์ ศิริกุลและเมื่อดอกรักบาน · ดูเพิ่มเติม »

เหนือเมฆ 2 มือปราบจอมขมังเวทย์

หนือเมฆ 2 มือปราบจอมขมังเวทย์ เป็นละครโทรทัศน์ภาคต่อจากเรื่องเหนือเมฆในปี พ.ศ. 2553 ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ทุกวันศุกร์ เสาร์และอาทิตย์ ประพันธ์โดย คฑาหัสต์ บุษปะเกศ ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2555 มีกำหนดเดิมที่จะจบในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2556 ทว่าในวันที่ 4 มกราคม สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ได้ออกมาประกาศถึงการยุติการออกอากาศอย่างฉับพลัน โดยนำละครเรื่องแรงปรารถนาเข้าออกอากาศแทน โดยให้เหตุผลว่า "มีเนื้อหาบางช่วงบางตอนที่ไม่เหมาะสมกับการออกอากาศ" ทำให้ละครเรื่องนี้กลายเป็นละครที่ไม่มีตอนจบออกอาก.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและเหนือเมฆ 2 มือปราบจอมขมังเวทย์ · เพ็ญพักตร์ ศิริกุลและเหนือเมฆ 2 มือปราบจอมขมังเวทย์ · ดูเพิ่มเติม »

เทวดาตกสวรรค์

ทวดาตกสวรรค์ เป็นละครโทรทัศน์ไทย ประพันธ์โดย ประภาส ชลศรานนท์ ออกอากาศครั้งแรกวันที่ 4 สิงหาคม - 12 กันยายน..

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและเทวดาตกสวรรค์ · เทวดาตกสวรรค์และเพ็ญพักตร์ ศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและเพ็ญพักตร์ ศิริกุล

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง มี 146 ความสัมพันธ์ขณะที่ เพ็ญพักตร์ ศิริกุล มี 122 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 12, ดัชนี Jaccard คือ 4.48% = 12 / (146 + 122)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและเพ็ญพักตร์ ศิริกุล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »