โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ถนอม กิตติขจรและประภาส จารุเสถียร

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ถนอม กิตติขจรและประภาส จารุเสถียร

ถนอม กิตติขจร vs. ประภาส จารุเสถียร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายทหารที่มาจากคนธรรมดาสามัญที่ครองยศจอมพลสายทหารบก มีด้วยกัน 7 คน จอมพลถนอมเป็นคนที่ 6 จอมพลประภาส จารุเสถียรเป็นคนที่ 7 แต่ผู้ที่มีอายุยืนที่สุด คือจอมพลถนอม จึงกลายเป็น "จอมพลคนสุดท้าย" จอมพลถนอมถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตกเมื่อกลางดึก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน.. อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ถนอม กิตติขจรและประภาส จารุเสถียร

ถนอม กิตติขจรและประภาส จารุเสถียร มี 41 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2500พ.ศ. 2501พ.ศ. 2506พ.ศ. 2507พ.ศ. 2514พ.ศ. 2515พ.ศ. 2516พ.ศ. 2519พรรคชาติสังคมพรรคสหประชาไทยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์พจน์ สารสินกองทัพบกไทยรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรสฤษดิ์ ธนะรัชต์สุกิจ นิมมานเหมินท์อธิการบดีจอมพลจอมพล (ประเทศไทย)จอมพลอากาศจอมพลเรือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยณรงค์ กิตติขจรนายกรัฐมนตรีเหรียญชัยสมรภูมิเหรียญพิทักษ์เสรีชนเหรียญรัตนาภรณ์เหรียญราชการชายแดนเหรียญลูกเสือสดุดี...เหรียญจักรมาลาเหตุการณ์ 14 ตุลาเหตุการณ์ 6 ตุลาเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดีเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ1 มกราคม1 ตุลาคม11 ธันวาคม14 ตุลาคม17 พฤศจิกายน18 ธันวาคม ขยายดัชนี (11 มากกว่า) »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ถนอม กิตติขจรและพ.ศ. 2500 · ประภาส จารุเสถียรและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ถนอม กิตติขจรและพ.ศ. 2501 · ประภาส จารุเสถียรและพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ถนอม กิตติขจรและพ.ศ. 2506 · ประภาส จารุเสถียรและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ถนอม กิตติขจรและพ.ศ. 2507 · ประภาส จารุเสถียรและพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ถนอม กิตติขจรและพ.ศ. 2514 · ประภาส จารุเสถียรและพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ถนอม กิตติขจรและพ.ศ. 2515 · ประภาส จารุเสถียรและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ถนอม กิตติขจรและพ.ศ. 2516 · ประภาส จารุเสถียรและพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ถนอม กิตติขจรและพ.ศ. 2519 · ประภาส จารุเสถียรและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติสังคม

รรคชาติสังคม ก่อตั้งขึ้นมาหลังการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2500 เป็นพรรคการเมืองลำดับที่ 7/2500 จดทะเบียนวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2500 มี จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นหัวหน้าพรรค รองหัวหน้าพรรค ได้แก่ พลโทถนอม กิตติขจร, นายสุกิจ นิมมานเหมินท์ เลขาธิการพรรค คือ พลโทประภาส จารุเสถียร พรรคชาติสังคมได้ลงเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ. 2500 ปรากฏว่าสมาชิกพรรคได้รับเลือกมาทั้งหมด 9 คน จึงไม่อาจตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้ จึงต้องร่วมกับพรรคการเมืองอื่น จัดตั้งรัฐบาลขึ้น โดยมี พล.ท.ถนอม กิตติขจร รองหัวหน้าพรรคเป็นนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2501 แต่ทว่า การบริหารบ้านเมืองในสภาฯของ พล.ท.ถนอม เป็นไปด้วยความยากลำบาก เพราะสมาชิกพรรคชาติสังคมเองเรียกร้องผลประโยชน์ และค่าตอบแทนต่าง ๆ รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ด้วย จนกระทั่งนำไปสู่การรัฐประหารในปี พ.ศ. 2501 โดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งคำประกาศของคณะปฏิวัติชุดนี้ได้ยกเลิกพรรคการเมืองทั้งหมดบทบาทของพรรคชาติสังคมจึงยุติลงแต่เพียงเท่านี้.

ถนอม กิตติขจรและพรรคชาติสังคม · ประภาส จารุเสถียรและพรรคชาติสังคม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสหประชาไทย

รรคสหประชาไทย (ตัวย่อ: ส.ป.ท.) พรรคการเมืองในอดีตของประเทศไทยที่เคยเป็นพรรคที่ชนะการเลือกตั้งและเป็นพรรคที่เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาลก่อตั้งเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 24 ตุลาคม..

ถนอม กิตติขจรและพรรคสหประชาไทย · ประภาส จารุเสถียรและพรรคสหประชาไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..

ถนอม กิตติขจรและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ · ประภาส จารุเสถียรและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

พจน์ สารสิน

น์ สารสิน (25 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 28 กันยายน พ.ศ. 2543) นายกรัฐมนตรีคนที่ 9 ของประเทศไทย นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทยที่เป็นพลเรือนในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แต่ภายหลังได้ลาออกเนื่องจากมีความเห็นขัดแย้งกับรัฐบาลเกี่ยวกับการรับรองรัฐบาลเบาได๋ แห่งเวียดนามใต้ และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริก.

ถนอม กิตติขจรและพจน์ สารสิน · ประภาส จารุเสถียรและพจน์ สารสิน · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ. 2417.

กองทัพบกไทยและถนอม กิตติขจร · กองทัพบกไทยและประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไท.

ถนอม กิตติขจรและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย · ประภาส จารุเสถียรและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หรือ วปอ. เป็นสถาบันการศึกษาชั้นสูงของประเทศ ขึ้นตรงกับสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม มีหน้าที่จัดการศึกษาหลักสูตรเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งชาติและการป้องกันราชอาณาจักร ให้แก่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือน พนักงานองค์การของรัฐ รัฐวิสาหกิจ รวมทั้งเอกชน โดยฝึกปฏิบัติการวางแผนและนโยบายระดับชาติ การพัฒนายุทธศาสตร์ชาต.

ถนอม กิตติขจรและวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร · ประภาส จารุเสถียรและวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

ถนอม กิตติขจรและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ประภาส จารุเสถียรและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

สุกิจ นิมมานเหมินท์

ตราจารย์ สุกิจ นิมมานเหมินท์ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 — 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519) อดีตราชบัณฑิต อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีหลายกระทรวง และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม.

ถนอม กิตติขจรและสุกิจ นิมมานเหมินท์ · ประภาส จารุเสถียรและสุกิจ นิมมานเหมินท์ · ดูเพิ่มเติม »

อธิการบดี

อธิการบดี เป็นตำแหน่งผู้บังคับบัญชาสูงสุดและรับผิดชอบงานทั้งปวงของมหาวิทยาลั.

ถนอม กิตติขจรและอธิการบดี · ประภาส จารุเสถียรและอธิการบดี · ดูเพิ่มเติม »

จอมพล

อมพล (Field Marshal) เป็นยศทหาร ซึ่งในปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยศสูงสุดในกองทัพบกที่เกือบทุกประเทศทั่วโลกใช้ จอมพลเป็นยศที่สูงกว่าพลเอก.

จอมพลและถนอม กิตติขจร · จอมพลและประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

จอมพล (ประเทศไทย)

อมพล เป็นยศทหารชั้นสูงสุดของกองทัพไทย โดยมียศที่เทียบเท่ากันของทั้งสามเหล่าทัพ ได้แก่ จอมพล (ทหารบก) จอมพลเรือ (ทหารเรือ) และจอมพลอากาศ (ทหารอากาศ) (ตามพระราชบัญญัติยศทหาร พ.ศ. ๒๔๗๙) โดยเป็นยศสูงกว่าพลเอก และเป็นรองแต่เพียงจอมทัพไทยเท่านั้น(จอมทัพเป็นตำแหน่งมิใช่ยศทางการทหาร จอมทัพไทยหรือพระมหากษัตริย์ทรงดำรงยศ จอมพล จอมพลเรือ และ จอมพลอากาศ).

จอมพล (ประเทศไทย)และถนอม กิตติขจร · จอมพล (ประเทศไทย)และประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

จอมพลอากาศ

จอมพลอากาศ (Marshal of the air force) เป็นยศทหารชั้นสัญญาบัตรสูงสุดของกองทัพอากาศ สูงกว่าพลอากาศเอก เทียบเท่าจอมพลในกองทัพบก และจอมพลเรือในกองทัพเรือ หมวดหมู่:ยศทหาร หมวดหมู่:จอมพลอากาศ.

จอมพลอากาศและถนอม กิตติขจร · จอมพลอากาศและประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

จอมพลเรือ

จอมพลเรือ (admiral of the fleet, fleet admiral หรือ grand admiral) เป็นยศทหารเรือที่สูงสุด ในหลายประเทศที่สงวนไว้สำหรับในช่วงสงครามหรือพระราชพิธี มักจะมีอำนาจเหนือกว่ายศพลเรือเอก และจะจัดขึ้นบ่อยๆ โดยพลเรือเอกอาวุโสที่สุดของข้าราชการทหารเรือทั้งหมด หมวดหมู่:ยศทหาร หมวดหมู่:จอมพลเรือ.

จอมพลเรือและถนอม กิตติขจร · จอมพลเรือและประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและถนอม กิตติขจร · จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ กิตติขจร

ันเอก ณรงค์ กิตติขจร (21 ตุลาคม พ.ศ. 2476 —) เป็นบุตรชายของอดีตนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 10 จอมพลถนอม กิตติขจร อีกทั้งยังเป็นบุตรเขยของ จอมพลประภาส จารุเสถียร เป็นหนึ่งใน 3 บุคคลของฝ่ายรัฐบาลที่ถูกกล่าวถึงมากที่สุด ในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ที่มีผู้เสียชีวิตถึง 77 ราย ส่งผลให้.อ.ณรงค์ กิตติขจร, จอมพล ถนอม กิตติขจร และ จอมพลประภาส ต้องออกจากประเทศ ภายหลังเหตุการณ์สงบลง.อ.ณรงค์ กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับประเทศไทย และได้ลงเล่นการเมือง โดยก่อตั้งพรรคขึ้นมาใหม่ ชื่อว่า "พรรคเสรีนิยม".อ.ณรงค์ กิตติขจร ได้รับเลือกเป็น..

ณรงค์ กิตติขจรและถนอม กิตติขจร · ณรงค์ กิตติขจรและประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ถนอม กิตติขจรและนายกรัฐมนตรี · นายกรัฐมนตรีและประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญชัยสมรภูมิ

หรียญชัยสมรภูมิ เป็นเหรียญที่สร้างขึ้นเมื่อปี..

ถนอม กิตติขจรและเหรียญชัยสมรภูมิ · ประภาส จารุเสถียรและเหรียญชัยสมรภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญพิทักษ์เสรีชน

หรียญพิทักษ์เสรีชน สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 9 ใช้อักษรย่อว..

ถนอม กิตติขจรและเหรียญพิทักษ์เสรีชน · ประภาส จารุเสถียรและเหรียญพิทักษ์เสรีชน · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญรัตนาภรณ์

หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ. 2416 เหรียญรัตนาภรณ์ มีลำดับชั้นทั้งหมด 5ชั้น มีหลักเกณฑ์ในการรับพระราชทานดังนี้ ชั้นที่ 1และ 2 มักจะพระราชทานให้ พระราชวงศ์, ขุนนางข้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิดและทรงสนิทสนมเป็นพิเศษ, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี ฯลฯ ชั้นที่ 3 และ 4 พระราชทานให้ ขุนนางช้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิด, ข้าราชบริพารที่ทรงสนิทสนม, พระอนุวงศ์และราชนิกุล ฯลฯ ชั้นที่ 5 พระราชทานให้ ผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งส่วนราชการหรือส่วนพระองค์, ผู้ที่สร้างชื่อเสียงคุณงามความดีให้กับประเทศ ฯลฯ แต่ทั้งนี้การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยส่วนพระองค์ บุคคลที่มียศตำแหน่งตามที่ระบุอาจได้รับพระราชทานชั้นที่สูงหรือต่ำกว่านี้ ก็สุดแท้แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ.

ถนอม กิตติขจรและเหรียญรัตนาภรณ์ · ประภาส จารุเสถียรและเหรียญรัตนาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญราชการชายแดน

หรียญราชการชายแดน ด้านหน้า เหรียญราชการชายแดน (The Border Service Medal) ใช้อักษรย่อว..

ถนอม กิตติขจรและเหรียญราชการชายแดน · ประภาส จารุเสถียรและเหรียญราชการชายแดน · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญลูกเสือสดุดี

หรียญลูกเสือสดุดี มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษว่า "The Boy Scout Citation Medal" เป็นเหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในราชการ สร้างขึ้นตามพระราชบัญญัติลูกเสือ..

ถนอม กิตติขจรและเหรียญลูกเสือสดุดี · ประภาส จารุเสถียรและเหรียญลูกเสือสดุดี · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญจักรมาลา

ไม่มีคำอธิบาย.

ถนอม กิตติขจรและเหรียญจักรมาลา · ประภาส จารุเสถียรและเหรียญจักรมาลา · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 14 ตุลา

หตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จนมีผู้เสียชีวิตกว่า 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจำนวนมาก เหตุการณ์ครั้งนี้ได้เกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สะสมก่อนหน้านี้หลายประการทั้ง ข่าวการทุจริตในรัฐบาล การพบซากสัตว์ป่าจากอุทยานในเฮลิคอปเตอร์ทหาร การถ่ายโอนอำนาจของจอมพลถนอม กิตติขจรต่อจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่รัฐบาลทหารเข้าปกครองประเทศนานเกือบ 15 ปี และรวมถึงการรัฐประหารตัวเอง พ.ศ. 2514 ซึ่งเป็นชนวนเหตุที่ทำให้ประชาชนเบื่อหน่ายการปกครองในระบอบเผด็จการทหารและต้องการเรียกร้องรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยขึ้น การประท้วงเริ่มขึ้นอย่างเด่นชัดเมื่อมีการตีพิมพ์ "บันทึกลับจากทุ่งใหญ่" ออกเผยแพร่ทำให้เกิดความสนใจในหมู่ประชาชน สู่การเดินแจกใบปลิวเรียกร้องรัฐธรรมนูญของนิสิตนักศึกษาในสถานที่ต่างๆในกรุงเทพฯ จนถูกทหารควบคุมตัว ภายหลังเป็นที่รู้จักกันในฐานะ "13 ขบถรัฐธรรมนูญ" ทำให้เกิดความไม่พอใจครั้งใหญ่แก่มวลนักศึกษาและประชาชนเป็นอย่างมาก เกิดการประท้วงเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สู่การเดินประท้วงในถนนราชดำเนิน โดยมีประชาชนทยอยเข้าร่วมจำนวนมาก ทำให้รัฐบาลได้ทำการสลายการชุมนุมจนมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้มีพระราชดำรัสทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยต่อเหตุการณ์ครั้งนี้ ในเวลาต่อมาจอมพลถนอม กิตติขจรก็ได้ประกาศลาออกและได้เดินทางออกต่างประเทศรวมถึง.อ.ณรงค์ กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร กลุ่มบุคคลที่ประชาชนในสมัยนั้นเรียกว่า "3 ทรราช" เหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นการลุกฮือของประชาชนครั้งแรกที่เรียกร้องประชาธิปไตยไทยสำเร็จและยังถือเป็นการรวมตัวของประชาชนมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย จนกลายเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ เกาหลีใต้ในเหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู เป็นต้นหนังสือ มาร์ค เขาชื่อ...

ถนอม กิตติขจรและเหตุการณ์ 14 ตุลา · ประภาส จารุเสถียรและเหตุการณ์ 14 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 6 ตุลา

หตุการณ์ 6 ตุลา เป็นเหตุการณ์จลาจลและปราบปรามนักศึกษาและผู้ประท้วงในและบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และท้องสนามหลวง ขณะที่นักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยกำลังชุมนุมประท้วงการเดินทางกลับประเทศของจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่สนามฟุตบอลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถิติอย่างเป็นทางการระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 46 คน ซึ่งมีทั้งถูกยิงด้วยอาวุธปืน ถูกทุบตี หรือถูกทำให้พิการHandley, Paul M. The King Never Smiles: A Biography of Thailand's Bhumibol Adulyadej.

ถนอม กิตติขจรและเหตุการณ์ 6 ตุลา · ประภาส จารุเสถียรและเหตุการณ์ 6 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี (The Honourable Order of Rama) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 สำหรับบำเหน็จความดีความชอบแก่ผู้ทำความชอบพิเศษเป็นประโยชน์ยิ่งแก่ราชการทหาร ไม่ว่ายามสงบหรือยามสงคราม ตามที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๓๕, ตอน ๐ก, ๒๒ กรกฎาคม..

ถนอม กิตติขจรและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี · ประภาส จารุเสถียรและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ (The boy scout citation medal (Special class)) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานอนุญาตให้จัดสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2530 เพื่อส่งเสริมกำลังใจแก่ผู้อุทิศตนให้กิจการลูกเสืออย่างแท้จริง โดยมีลำดับเกียรติของเครื่องราชอิสริยาภรณ์เป็นลำดับที่ 26.

ถนอม กิตติขจรและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ · ประภาส จารุเสถียรและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

1 มกราคมและถนอม กิตติขจร · 1 มกราคมและประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

1 ตุลาคมและถนอม กิตติขจร · 1 ตุลาคมและประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

11 ธันวาคม

วันที่ 11 ธันวาคม เป็นวันที่ 345 ของปี (วันที่ 346 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 20 วันในปีนั้น.

11 ธันวาคมและถนอม กิตติขจร · 11 ธันวาคมและประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

14 ตุลาคม

วันที่ 14 ตุลาคม เป็นวันที่ 287 ของปี (วันที่ 288 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 78 วันในปีนั้น.

14 ตุลาคมและถนอม กิตติขจร · 14 ตุลาคมและประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤศจิกายน

วันที่ 17 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 321 ของปี (วันที่ 322 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 44 วันในปีนั้น.

17 พฤศจิกายนและถนอม กิตติขจร · 17 พฤศจิกายนและประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

18 ธันวาคม

วันที่ 18 ธันวาคม เป็นวันที่ 352 ของปี (วันที่ 353 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 13 วันในปีนั้น.

18 ธันวาคมและถนอม กิตติขจร · 18 ธันวาคมและประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ถนอม กิตติขจรและประภาส จารุเสถียร

ถนอม กิตติขจร มี 125 ความสัมพันธ์ขณะที่ ประภาส จารุเสถียร มี 108 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 41, ดัชนี Jaccard คือ 17.60% = 41 / (125 + 108)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ถนอม กิตติขจรและประภาส จารุเสถียร หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »