เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ประภาส จารุเสถียรและสฤษดิ์ ธนะรัชต์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประภาส จารุเสถียรและสฤษดิ์ ธนะรัชต์

ประภาส จารุเสถียร vs. สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั. อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประภาส จารุเสถียรและสฤษดิ์ ธนะรัชต์

ประภาส จารุเสถียรและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ มี 31 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนีพ.ศ. 2499พ.ศ. 2500พ.ศ. 2502พ.ศ. 2506พ.ศ. 2507พรรคชาติสังคมพรรคเสรีมนังคศิลาพจน์ สารสินกบฏบวรเดชกบฏวังหลวงกองอาสารักษาดินแดนกองทัพบกไทยรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยสงครามแปซิฟิกจอมพลจอมพลอากาศจอมพลเรือถนอม กิตติขจรคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 29ประเสริฐ รุจิรวงศ์นายกรัฐมนตรีเหรียญชัยสมรภูมิเหรียญรัตนาภรณ์เหรียญราชการชายแดนเหรียญลูกเสือสดุดีเหรียญจักรมาลาเผ่า ศรียานนท์เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี...1 มกราคม ขยายดัชนี (1 มากกว่า) »

ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี

อมพลอากาศ ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี (21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 - 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2530) อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม กระทรวงสาธารณสุข รองนายกรัฐมนตรี จอมพลอากาศ ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี มีนามเดิมว่า ฟื้น ฤทธาคนี เป็นบุตรของนายฟุ้ง ฤทธาคนีและนางพุดตาน ฤทธาคนี ศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ..

ประภาส จารุเสถียรและฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี · ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนีและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ประภาส จารุเสถียรและพ.ศ. 2499 · พ.ศ. 2499และสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ประภาส จารุเสถียรและพ.ศ. 2500 · พ.ศ. 2500และสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ประภาส จารุเสถียรและพ.ศ. 2502 · พ.ศ. 2502และสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ประภาส จารุเสถียรและพ.ศ. 2506 · พ.ศ. 2506และสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ประภาส จารุเสถียรและพ.ศ. 2507 · พ.ศ. 2507และสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติสังคม

รรคชาติสังคม ก่อตั้งขึ้นมาหลังการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2500 เป็นพรรคการเมืองลำดับที่ 7/2500 จดทะเบียนวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2500 มี จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นหัวหน้าพรรค รองหัวหน้าพรรค ได้แก่ พลโทถนอม กิตติขจร, นายสุกิจ นิมมานเหมินท์ เลขาธิการพรรค คือ พลโทประภาส จารุเสถียร พรรคชาติสังคมได้ลงเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ. 2500 ปรากฏว่าสมาชิกพรรคได้รับเลือกมาทั้งหมด 9 คน จึงไม่อาจตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้ จึงต้องร่วมกับพรรคการเมืองอื่น จัดตั้งรัฐบาลขึ้น โดยมี พล.ท.ถนอม กิตติขจร รองหัวหน้าพรรคเป็นนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2501 แต่ทว่า การบริหารบ้านเมืองในสภาฯของ พล.ท.ถนอม เป็นไปด้วยความยากลำบาก เพราะสมาชิกพรรคชาติสังคมเองเรียกร้องผลประโยชน์ และค่าตอบแทนต่าง ๆ รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ด้วย จนกระทั่งนำไปสู่การรัฐประหารในปี พ.ศ. 2501 โดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งคำประกาศของคณะปฏิวัติชุดนี้ได้ยกเลิกพรรคการเมืองทั้งหมดบทบาทของพรรคชาติสังคมจึงยุติลงแต่เพียงเท่านี้.

ประภาส จารุเสถียรและพรรคชาติสังคม · พรรคชาติสังคมและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเสรีมนังคศิลา

รรคเสรีมนังคศิลา เป็นพรรคการเมืองในลำดับแรกประเทศไทย จดทะเบียนเมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2498 หลังจากมี พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พุทธศักราช 2498 ออกมาใช้ ซึ่งถือว่าเป็นกฎหมายที่เปิดให้จดทะเบียนพรรคการเมืองได้เป็นครั้งแรกของประเทศไทย มีหัวหน้าพรรค คือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เลขาธิการพรรคคือ พลตำรวจเอกเผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจ มีรองหัวหน้าพรรคได้แก่ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์, พลตรีประภาส จารุเสถียร เป็นต้น มีที่ทำการพรรคอยู่ที่บ้านมนังคศิลา อันเป็นที่มาของชื่อพรรคโดยได้มีพิธีเปิดป้ายที่ทำการพรรคเมื่อวันที่ 2 กุมภาพัน..

ประภาส จารุเสถียรและพรรคเสรีมนังคศิลา · พรรคเสรีมนังคศิลาและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

พจน์ สารสิน

น์ สารสิน (25 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 28 กันยายน พ.ศ. 2543) นายกรัฐมนตรีคนที่ 9 ของประเทศไทย นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทยที่เป็นพลเรือนในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แต่ภายหลังได้ลาออกเนื่องจากมีความเห็นขัดแย้งกับรัฐบาลเกี่ยวกับการรับรองรัฐบาลเบาได๋ แห่งเวียดนามใต้ และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริก.

ประภาส จารุเสถียรและพจน์ สารสิน · พจน์ สารสินและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏบวรเดช

กบฏบวรเดช เกิดขึ้นเมื่อ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 นับเป็นการกบฏครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 สาเหตุมาจากความขัดแย้งระหว่างระบอบเก่ากับระบอบใหม่ จากข้อโต้แย้งในเรื่องเค้าโครงเศรษฐกิจที่นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้เสนอ และถูกมองว่าเป็น "คอมมิวนิสต์" ชนวนสำคัญที่สุดคือข้อโต้แย้งในเรื่องพระเกียรติยศและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบใหม่ เป็นผลนำไปสู่การนำกำลังทหารก่อกบฏโดยพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อันเป็นที่มาของชื่อ "กบฏบวรเดช" โดยในที่สุดฝ่ายรัฐบาลสามารถปราบปรามคณะกบฏลงได้ ส่วนพระองค์เจ้าบวรเดชหัวหน้าคณะกบฏและพระชายาได้หนีไปยังประเทศกัมพูชา อนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่บริเวณหลักสี่ บางเขน กรุงเทพฯ ที่เรียกกันว่า "อนุสาวรีย์หลักสี่" นั้น ชื่อจริงคือ "อนุสาวรีย์ปราบกบฏ" หรือ "อนุสาวรีย์พิทักษ์ธรรมนูญ" ซึ่งรัฐบาลในสมัยนั้น ได้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ผู้ที่เสียชีวิตในเหตุการณ์ปราบกบฏบวร.

กบฏบวรเดชและประภาส จารุเสถียร · กบฏบวรเดชและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏวังหลวง

กบฏวังหลวง ชื่อเรียกกบฏที่เกิดเมื่อวันที่ 26 กุมภาพัน..

กบฏวังหลวงและประภาส จารุเสถียร · กบฏวังหลวงและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

กองอาสารักษาดินแดน

กองอาสารักษาดินแดน (คำย่อ: อส., Volunteer Defense Corps; VDC) เป็นกองกำลังกึ่งทหาร ทำหน้าที่รักษาความสงบร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย การเทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ การจัดระเบียบสังคม การบริการประชาชน การส่งเสริมการท่องเที่ยว รวมถึงรักษาความปลอดภัยในสถานที่สำคัญ และการคมนาคม และเป็นกำลังสำรองส่วนหนึ่งที่พร้อมจะเพิ่มเติมและสนับสนุนกำลังทหารได้เมื่อมีการร้องขอทั้งในยามปกติและยามศึกสงคราม กองอาสารักษาดินแดนสังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้บัญชาการโดยตำแหน่งhttp://asa.dopa.go.th/line1.pdf และประธานกรรมการ.

กองอาสารักษาดินแดนและประภาส จารุเสถียร · กองอาสารักษาดินแดนและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ. 2417.

กองทัพบกไทยและประภาส จารุเสถียร · กองทัพบกไทยและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ประภาส จารุเสถียรและรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย · รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไท.

ประภาส จารุเสถียรและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย · รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามแปซิฟิก

งครามแปซิฟิก (Pacific War) หรือ สงครามมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia War; 大東亜戦争, Dai Tō-A Sensō) เป็นเขตสงครามหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง สู้รบกันในมหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกเป็นหลัก มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าสงครามแปซิฟิกเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 หรือ 8 ธันวาคม 1941 เมื่อญี่ปุ่นบุกครองประเทศไทยและโจมตีอาณานิคมของบริติช ได้แก่ มาลายา สิงคโปร์และฮ่องกง ตลอดจนฐานทัพสหรัฐในหมู่เกาะฮาวาย หมู่เกาะเวก เกาะกวมและฟิลิปปินส์ ทว่า สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและสาธารณรัฐจีนมีมาต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 1937 โดยมีความเป็นปรปักษ์ย้อนหลังไปถึงวันที่ 19 กันยายน 1931 เมื่อประเทศญี่ปุ่นบุกครองแมนจูเรีย จักรวรรดิญี่ปุ่นเริ่มนโยบายชาตินิยมโดยใช้คำขวัญที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asiatics) วันที่ 3 พฤศจิกายน..

ประภาส จารุเสถียรและสงครามแปซิฟิก · สงครามแปซิฟิกและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

จอมพล

อมพล (Field Marshal) เป็นยศทหาร ซึ่งในปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยศสูงสุดในกองทัพบกที่เกือบทุกประเทศทั่วโลกใช้ จอมพลเป็นยศที่สูงกว่าพลเอก.

จอมพลและประภาส จารุเสถียร · จอมพลและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

จอมพลอากาศ

จอมพลอากาศ (Marshal of the air force) เป็นยศทหารชั้นสัญญาบัตรสูงสุดของกองทัพอากาศ สูงกว่าพลอากาศเอก เทียบเท่าจอมพลในกองทัพบก และจอมพลเรือในกองทัพเรือ หมวดหมู่:ยศทหาร หมวดหมู่:จอมพลอากาศ.

จอมพลอากาศและประภาส จารุเสถียร · จอมพลอากาศและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

จอมพลเรือ

จอมพลเรือ (admiral of the fleet, fleet admiral หรือ grand admiral) เป็นยศทหารเรือที่สูงสุด ในหลายประเทศที่สงวนไว้สำหรับในช่วงสงครามหรือพระราชพิธี มักจะมีอำนาจเหนือกว่ายศพลเรือเอก และจะจัดขึ้นบ่อยๆ โดยพลเรือเอกอาวุโสที่สุดของข้าราชการทหารเรือทั้งหมด หมวดหมู่:ยศทหาร หมวดหมู่:จอมพลเรือ.

จอมพลเรือและประภาส จารุเสถียร · จอมพลเรือและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายทหารที่มาจากคนธรรมดาสามัญที่ครองยศจอมพลสายทหารบก มีด้วยกัน 7 คน จอมพลถนอมเป็นคนที่ 6 จอมพลประภาส จารุเสถียรเป็นคนที่ 7 แต่ผู้ที่มีอายุยืนที่สุด คือจอมพลถนอม จึงกลายเป็น "จอมพลคนสุดท้าย" จอมพลถนอมถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตกเมื่อกลางดึก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..

ถนอม กิตติขจรและประภาส จารุเสถียร · ถนอม กิตติขจรและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 29

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 29 (9 กุมภาพันธ์ 2502 - 8 ธันวาคม 2506) จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 11 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 29 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2502 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ พลเอกสุทธิ์ สุทธิสารรณกร ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2502 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 29และประภาส จารุเสถียร · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 29และสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ รุจิรวงศ์

ลเอก พลตำรวจเอก ประเสริฐ รุจิรวงศ์ (4 ธันวาคม พ.ศ. 2454 - 19 มกราคม พ.ศ. 2527) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย สมรสกับคุณหญิง น้อย รุจิรวง.

ประภาส จารุเสถียรและประเสริฐ รุจิรวงศ์ · ประเสริฐ รุจิรวงศ์และสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

นายกรัฐมนตรีและประภาส จารุเสถียร · นายกรัฐมนตรีและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญชัยสมรภูมิ

หรียญชัยสมรภูมิ เป็นเหรียญที่สร้างขึ้นเมื่อปี..

ประภาส จารุเสถียรและเหรียญชัยสมรภูมิ · สฤษดิ์ ธนะรัชต์และเหรียญชัยสมรภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญรัตนาภรณ์

หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ. 2416 เหรียญรัตนาภรณ์ มีลำดับชั้นทั้งหมด 5ชั้น มีหลักเกณฑ์ในการรับพระราชทานดังนี้ ชั้นที่ 1และ 2 มักจะพระราชทานให้ พระราชวงศ์, ขุนนางข้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิดและทรงสนิทสนมเป็นพิเศษ, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี ฯลฯ ชั้นที่ 3 และ 4 พระราชทานให้ ขุนนางช้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิด, ข้าราชบริพารที่ทรงสนิทสนม, พระอนุวงศ์และราชนิกุล ฯลฯ ชั้นที่ 5 พระราชทานให้ ผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งส่วนราชการหรือส่วนพระองค์, ผู้ที่สร้างชื่อเสียงคุณงามความดีให้กับประเทศ ฯลฯ แต่ทั้งนี้การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยส่วนพระองค์ บุคคลที่มียศตำแหน่งตามที่ระบุอาจได้รับพระราชทานชั้นที่สูงหรือต่ำกว่านี้ ก็สุดแท้แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ.

ประภาส จารุเสถียรและเหรียญรัตนาภรณ์ · สฤษดิ์ ธนะรัชต์และเหรียญรัตนาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญราชการชายแดน

หรียญราชการชายแดน ด้านหน้า เหรียญราชการชายแดน (The Border Service Medal) ใช้อักษรย่อว..

ประภาส จารุเสถียรและเหรียญราชการชายแดน · สฤษดิ์ ธนะรัชต์และเหรียญราชการชายแดน · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญลูกเสือสดุดี

หรียญลูกเสือสดุดี มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษว่า "The Boy Scout Citation Medal" เป็นเหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในราชการ สร้างขึ้นตามพระราชบัญญัติลูกเสือ..

ประภาส จารุเสถียรและเหรียญลูกเสือสดุดี · สฤษดิ์ ธนะรัชต์และเหรียญลูกเสือสดุดี · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญจักรมาลา

ไม่มีคำอธิบาย.

ประภาส จารุเสถียรและเหรียญจักรมาลา · สฤษดิ์ ธนะรัชต์และเหรียญจักรมาลา · ดูเพิ่มเติม »

เผ่า ศรียานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ (1 มีนาคม พ.ศ. 2452 — 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503) อดีตอธิบดีกรมตำรว..

ประภาส จารุเสถียรและเผ่า ศรียานนท์ · สฤษดิ์ ธนะรัชต์และเผ่า ศรียานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี (The Honourable Order of Rama) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 สำหรับบำเหน็จความดีความชอบแก่ผู้ทำความชอบพิเศษเป็นประโยชน์ยิ่งแก่ราชการทหาร ไม่ว่ายามสงบหรือยามสงคราม ตามที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๓๕, ตอน ๐ก, ๒๒ กรกฎาคม..

ประภาส จารุเสถียรและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี · สฤษดิ์ ธนะรัชต์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

1 มกราคมและประภาส จารุเสถียร · 1 มกราคมและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประภาส จารุเสถียรและสฤษดิ์ ธนะรัชต์

ประภาส จารุเสถียร มี 108 ความสัมพันธ์ขณะที่ สฤษดิ์ ธนะรัชต์ มี 127 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 31, ดัชนี Jaccard คือ 13.19% = 31 / (108 + 127)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประภาส จารุเสถียรและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: