โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

นินจา

ดัชนี นินจา

การวาดแม่แบบนินจาจากชุดสเก็ตช์ ("โฮะกุไซ มังงะ")โดย คะสึชิกะ โฮะกุไซ ภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่นบนกระดาษตอนที่ 6 ค.ศ. 1817 คุนะอิ '''คุนะอิ'''มีไว้ขุดหลุมหรือขว้างใส่ศัตรูเหมือนดาวกร.

38 ความสัมพันธ์: พิชัยสงครามกลุ่มภาษาจีนภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่นมินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะมือยุคคะมะกุระยุคเอะโดะยุคเฮอังยุคเซ็งโงกุสหรัฐอาวุธอิชิกะวะ โกะเอะมงฮัตโตริ ฮันโซจังหวัดนาระจารกรรมดาบดาวกระจาย (อาวุธ)คะสึชิกะ โฮะกุไซคะตะนะคันจิคุซุโนะกิ มะซะชิเงะคุนะอิคุโนะอิชิตระกูลโทกูงาวะซะนะดะ ยุกิมุระซามูไรประเทศญี่ปุ่นปราสาทปราสาทเอโดะนินจาคาถาโอ้โฮเฮะนินจุสึโชกุนโอดะ โนบูนางะโทกูงาวะ อิเอยาซุโทกูงาวะ ฮิเดตาดะไดเมียวเท้าเนะซุมิ โคโซ

พิชัยสงคราม

ตัวอย่างเนื้อหาของตำราพิชัยสงครามของไทย แสดงภาพการแปรขบวนทัพแบบมหิงสาพยุหะ หรือการตั้งทัพเป็นรูปควาย พิชัยสงคราม เป็นคำที่ใช้เรียกหนังสือหรือเอกสารที่มีการรวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับกลยุทธ ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธีการรบต่าง ๆ อาทิ การรุก การตั้งรับ การแปรขบวนทัพ การใช้อุบายทำลายข้าศึก เป็นต้น หนังสือจำพวกนี้ในบางแห่งมักจะมีการใส่เนื้อหาที่เป็นความเชื่อทางด้านโหราศาสตร์เข้ามาประกอบ เช่น การดูฤกษ์ยามในการเคลื่อนทัพ การทำพิธีข่มขวัญข้าศึกและบำรุงขวัญฝ่ายตน ฯลฯ รูปแบบเนื้อหานั้นอาจอยู่ในลักษณะของร้อยแก้วหรือร้อยกรองก็ได้ ในสารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้คำจำกัดความของตำราพิชัยสงครามไว้ว่า ตำราพิชัยสงครามที่นับว่ามีชื่อเสียงมากในระดับโลก คือ ตำราพิชัยสงครามของซุนวู ซึ่งแต่งขึ้นเมื่อประมาณ 600 ปีก่อนคริสตกาล อันอยู่ในช่วงยุครณรัฐของจีน ทั้งนี้ หนังสือพงศาวดารจีนบางเรื่องที่มีการกล่าวถึงการรบและการใช้อุบาย เช่น สามก๊ก ไซ่ฮั่น ก็อาจนับว่าเป็นตำราพิชัยสงครามได้เช่นกัน เนื้อหาและหลักในตำราพิชัยสงครามต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากตำราพิชัยสงครามของซุนวู ปัจจุบันได้มีการนำมาประยุกต์ใช้ในด้านการบริหารและด้านเศรษฐกิจขององค์กรต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: นินจาและพิชัยสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาจีน

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.

ใหม่!!: นินจาและกลุ่มภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่น

ทศกาลตุ๊กตา คุนิชิคะ โตะโยะฮะระ ภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่น (木版画, moku hanga, Woodblock printing in Japan) เป็นวิธีที่ใช้ในการสร้างงานศิลปะที่เรียกว่า “ภาพอุกิโยะ” และใช้อย่างแพร่หลายในการพิมพ์หนังสือในช่วงเวลาเดียวกัน การพิมพ์แกะไม้เป็นสิ่งที่ทำกันในประเทศจีนมาเป็นเวลาหลายร้อยปีในการพิมพ์หนังสือก่อนที่จะมีการประดิษฐ์แท่นพิมพ์กันขึ้น แต่ไม่ได้นำมาใช้ในประเทศญี่ปุ่นจนกระทั่งมาถึงสมัยเอะโดะ (ค.ศ. 1603-ค.ศ. 1867) วิธีการพิมพ์ก็คล้ายคลึงกันกับที่เรียกว่าแกะไม้ในการสร้างพิมพ์ทางตะวันตก.

ใหม่!!: นินจาและภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

มินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ

"โยะชิสึเนะและเบ็งเกใต้ต้นซากุระ" โดย โยะชิโตะชิ สึคิโอะกะ ค.ศ. 1885 มินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ (みなもとの よしつね Minamoto no Yoshitsune หรือ 源義経 Minamoto Yoshitsune ค.ศ. 1159 - 15 มิถุนายน ค.ศ. 1189) หรือ โยะชิสึเนะแห่งมินะโมะโตะ ผู้พันของกลุ่มนักรบมินะโมะโตะในญี่ปุ่น ในช่วงระหว่างปลายยุคเฮอังถึงต้นยุคคะมะกุระ เขาเป็นหนึ่งในตำนานของผู้กล้าของญี่ปุ่น ซึ่งมักจะมีการกล่าวถึงในทางวรรณกรรม และทางภาพยนตร.

ใหม่!!: นินจาและมินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ · ดูเพิ่มเติม »

มือ

มือ (Hand) คืออวัยวะส่วนหนึ่งของร่างกายอยู่ต่อแขน สำหรับจับ หยิบ สิ่งของต่าง.

ใหม่!!: นินจาและมือ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคคะมะกุระ

มะกุระ หรือ อ่านแบบไทย คะมะกุระ ตรงกับปีค.ศ. 1185-ค.ศ. 1333 เป็นยุคที่ญี่ปุ่นเริ่มต้นการปกครองระบบศักดินาโดยจักรพรรดิเป็นผู้มีอำนาจการปกครอง แต่เพียงในนามรัฐบาลทหารที่เรียกว่า คะมะกุระ บะกุฟุ ซึ่งมีโชกุนเป็นหัวหน้าปกครองประเทศในนามจักรพรรดิมีอำนาจเด็ดขาดทั้งทางการเมืองและการทหาร มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นโชกุนคนแรกจัดตั้งรัฐบาลทหารมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมืองคะมะกุระ ส่วนจักรพรรดิประทับที่เมืองเฮอัง ในยุคคะมะกุระญี่ปุ่นต้องเผชิญหน้ากับการรุกรานจากกองทัพมองโกลภายใต้การนำของ กุบไลข่าน ในสมัย ราชวงศ์หยวน ซึ่งโดนโจมตีครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: นินจาและยุคคะมะกุระ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเอะโดะ

อะโดะ หรือยุคที่เรียกว่า ยุคโทะกุงะวะ (徳川時代 Tokugawa-jidai) ค.ศ. 1603 - ค.ศ. 1868 คือยุคที่มีไดเมียวตระกูลโทะกุงะวะเป็นโชกุน เริ่มเมื่อโทะกุงะวะ อิเอะยะซุ ได้รวบอำนาจและตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นที่เอโดะ (ปัจจุบันคือโตเกียว) ใน..

ใหม่!!: นินจาและยุคเอะโดะ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเฮอัง

อัง อยู่ในช่วง ค.ศ. 794 - ค.ศ. 1185 ในปลายศตวรรษที่ 8 มีการย้ายเมืองหลวงไปที่ เฮอังเกียว (平安京 Heian-kyou) หรือเมืองเคียวโตะในปัจจุบัน นับเป็นยุคทองของประเทศญี่ปุ่น ที่ทั้งศิลปะและวัฒนธรรมรุ่งเรืองถึงขีดสุด มีการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมต่างๆ ที่หยิบยืมมาจากประเทศจีนในสมัยราชวงศ์ถัง และลัทธิขงจื้อ จนกลายเป็นวัฒนธรรมแบบเฉพาะตัวของญี่ปุ่น เฮอัง (平安,Heian) แปลว่า ความสงบสันต.

ใหม่!!: นินจาและยุคเฮอัง · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเซ็งโงกุ

ซ็งโงกุ เป็นช่วงเวลาของความไม่สงบใน ญี่ปุ่น อันเกิดจากอำนาจการปกครองของ โชกุนตระกูลอาชิกางะในยุคมูโรมาจิเสื่อมลง ทำให้บรรดาไดเมียวผู้ปกครองแคว้นต่าง ๆ ในญี่ปุ่นต่างพากันตั้งตนเป็นอิสระ โดยเฉพาะไดเมียวที่อยู่ห่างจากเมืองหลวงเกียวโตมาก และทำสงครามกันเอง ทำให้ญี่ปุ่นลุกเป็นไฟ บ้านเมืองไม่มีขื่อแป โชกุนที่เกียวโตไม่สามารถทำอะไรได้เพราะเป็นเพียงหุ่นเชิดของไดเมียวที่มีอำนาจ สมัยเซ็งโงกุเป็นสมัยแห่งวีรบุรุษ โดยเฉพาะวีรบุรุษทั้งสามที่รวมประเทศญี่ปุ่นให้กลับเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งเป็นการสิ้นสุดสมัยเซ็งโงกุ ได้แก่ โอดะ โนบูนางะ, โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ, และ โทกูงาวะ อิเอยาซุ อักษรคันจิของคำว่ายุคเซ็งโงกุ ตรงกับคำว่า "ยุคจ้านกว๋อ" ในภาษาจีน หมายถึง "ยุครณรัฐ" ซึ่งเกิดขึ้นอยู่ในช่วงระหว่าง 477-222 ปีก่อน..

ใหม่!!: นินจาและยุคเซ็งโงกุ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: นินจาและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

อาวุธ

อาวุธ คือเครื่องมือที่ใช้ระหว่างการรบเพื่อสังหารหรือทำลายทรัพย์สินและทรัพยากร จนไม่สามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรได้ อาจใช้ในการโจมตี การป้องกัน อาธิ เล่น ดิวโและการข่มขู่ ถูกแบ่งไว้2ประเภทคือ (1) อาวุธที่เป็นอาวุธโดยลักษณะเช่น ดาบ หอก กระบี่ สนับมือ ปืน เครื่องระเบิด เป็นต้น (2) อาวุธที่มิใช่อาวุธโดยลักษณะแต่ใช้ได้เสมือนดัง อาวุธ มีบันทึกการใช้อาวุธปรากฏในภาพเขียนบนผนังถ้ำ การศึกษากระบวนการในการต่อสู้ ทำให้เกิดทั้งศิลปะการต่อสู้และหลักยุทธศาสตร์ โดยอุปมา ทุกสิ่งที่ก่อให้เกิดความเสียหาย (แม้ทางจิตวิทยา) สามารถจัดให้เป็นอาวุธได้ อาจเป็นอาวุธอย่างง่ายจำพวกกระบองไปจนถึงที่ซับซ้อนอย่างขีปนาวุธข้ามทวีป (ICBM) หมวดหมู่:อาวุธ หมวดหมู่:การรักษาความปลอดภัย.

ใหม่!!: นินจาและอาวุธ · ดูเพิ่มเติม »

อิชิกะวะ โกะเอะมง

อูกิโยะในสมัยเมจิ) อิชิกาวะ โกเอมง (คันจิ: 石川五右衛門, ฮิรางานะ: いしかわ ごえもん, Ishikawa Goemon, พ.ศ. 2101 - พ.ศ. 2137) นักรบนินจาและจอมโจรที่มีชื่อเสียงในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น ถูกประหารชีวิตหลังจากที่ลอบสังหารโทโยโตมิ ฮิเดโยชิไม่สำเร็จ โกเอมงถูกต้มในน้ำเดือดจนตายพร้อมกับลูกชาย โดยตำนานกล่าวไว้ว่าโกเอมงได้อุ้มลูกชายเหนือน้ำจนกระทั่งตัวตาย อ่างอาบน้ำที่มีรูปทรงกะทะในประเทศญี่ปุ่นได้ตั้งชื่อตามว่าโกเอมงบูโระ โกเอมงได้มาเป็นตำนานพื้นบ้านของญี่ปุ่น และเป็นตัวละครที่นิยมนำมาเล่นในละครคาบุกิ โดยเฉพาะตอนต่อสู้ที่ด่านนันเซนจิในเกียวโต.

ใหม่!!: นินจาและอิชิกะวะ โกะเอะมง · ดูเพิ่มเติม »

ฮัตโตริ ฮันโซ

อ้างอิงจากโดเรม่อน ฮัตโตะริ หันหมู ฮัตโตะริ หันหมู (服部 半蔵, Hattori Hanzō) (ค.ศ. 1542 - 23 ธันวาคม ค.ศ. 1596) บางครั้งรู้จักในชื่อ ฮัตโตะริ มะซะนะริ (服部 正成) หรือ ฮัตโตะริ มะซะชิเงะ เป็นบุตรของ ฮัตโตะริ ยาสึนางะ ที่เป็นหัวหน้าของกลุ่มนินจาอิงะ แต่ไม่รู้แน่ชัดว่าฮันโซ ฝึกวิชานินจาเมื่อใด ตระกูลเขารับใช้ตระกูลมะสึไดระ หรือ ที่รู้จักกันในตอนหลังว่าตระกูลโทะกุงะวะ ฮันโซอาจจะเกิดและเติบโตที่แคว้นมิคะวะ แต่เขาก็กลับไปเยี่ยมครอบครัวของเขาที่หมู่บ้านนินจาอิงะบ่อยๆ เขาเป็นนักดาบที่คล่องแคล่ว นักวางแผน เชี่ยวชาญด้านการใช้หอก และสำเร็จวิชานินจาขั้นสูง หลังเหตุการณ์ที่วัดฮนโนจิ ในเวลานั้น อิเอะยะซุได้นำกำลังภายใต้ของขุนศึก อะนะยะมะ ไบเซะสึ (โนบุคิมิ) เข้าโจมตีอะเคะจิ มิสึฮิเดะ แต่ด้วยกำลังที่น้อยกว่าประกอบกับตัวไบเซะสึก็ถูกยิงเสียชีวิตในที่รบ พวกเขาต้องหนีตายกลับมิคะวะ ระหว่างการหลบหนีการตามล่าจากทหารของมิสึฮิเดะ คณะของอิเอะยะซุก็ได้หนีเข้าไปในแถบอิงะซึ่งเคยเป็นเขตอิทธิพลของนินจาอิงะมาก่อน แต่พวกเขาก็ยังไม่ปลอดภัยเสียทีเดียว เพราะนอกจากทหารของมิสึฮิเดะที่ยังตามล่าพวกเขานั้น ยังมีพวกโจรป่าคอยตามล่าอีกเพราะหวังเอาหัวของอิเอะยะซุไปแลกรางวัลกับกองทัพอะเคะจิ ในเวลานี้ฮันโซได้เสนอความคิดว่า ควรใช้เส้นทางลัดตัดผ่านหมู่บ้านอิงะไป ซึ่งมีเพียงฮันโซที่รู้ว่าหมู่บ้านนั้นอยู่ที่ไหน หลังการเจรจาซึ่งใช้เวลาไม่นาน กองทัพนินจาอิงะจึงให้ความคุ้มครองอิเอะยะซุและพาเขากลับมิคะวะอย่างปลอดภัย ฮัตโตะริ ฮันโซ มีบุตรชายอายุ 18 ปี ชื่อมะซะนะริเหมือนกันแต่สะกดด้วยคันจิคนละแบบ มะซะนะริรับช่วงฝึกเป็นนินจาต่อจากบิดา แต่ฝึกวิชานินจุสึไม่สำเร็จ และไม่ได้รับการยอมรับให้เป็นหนึ่งในนินจาของอิงะ และไม่ได้รับการยอมรับจากพวกนินจาด้วย ฮันโซเสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: นินจาและฮัตโตริ ฮันโซ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนาระ

ังหวัดนาระ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ในภาคคันไซ มีเมืองหลักจังหวัดในชื่อเดียวกันคือ นาระ ซึ่งในอดีตเป็นเมืองหลวงเก่าของประเทศญี่ปุ่นเมื่อ 1,300 ปีก่อน ในเมืองนาระมีสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มากมายอาทิ เช่น พระพุทธรูปไดบุตสึซึ่งเป็นพระพุทธหล่อองค์ใหญ่ที่สุดในโลก ถูกสร้างเมื่อ 1,200 ปีก่อน และยังมีวัดโฮริวจิ สิ่งก่อสร้างซึ่งทำด้วยไม้ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก และยังได้รับการบันทึกให้เป็นมรดกโลกเมื่อ..

ใหม่!!: นินจาและจังหวัดนาระ · ดูเพิ่มเติม »

จารกรรม

รกรรม (espionage หรือ spying) คือ การล้วงความลับจากคู่แข่งหรือศัตรูเพื่อความได้เปรียบทางการทหาร การเมือง หรือเศรษฐกิจ จารชน (spy) คือ บุคคลที่รัฐส่งไปล้วงความลับจากศัตรูหรือฝ่ายที่มีแนวโน้มว่าจะเป็นศัตรู โดยเฉพาะอย่างยิ่งความลับทางการทหาร แต่อาจรวมถึงการล้วงความลับจากต่างบริษัท เรียกว่า จารกรรมทางอุตสาหกรรม หลายประเทศส่งสายลับเข้าไปในประเทศอื่นทั้งประเทศที่เป็นมิตรและศัตรู แม้ว่าจะไม่เป็นที่เปิดเผย จารชนนี้อย่างอื่นก็เรียก เช่น สายลับ, คนสอดแนม, อุปนิกขิต หรือ อุปนิกษิต เรื่องราวเกี่ยวกับจารกรรมปรากฏในประวัติศาสตร์ตลอดมา ซุนวูกล่าวถึงการหลอกลวงและการบ่อนทำลาย อียิปต์โบราณพัฒนาระบบของการได้มาซึ่งข่าวกรอง โดยชาวฮิบรูก็ใช้ระบบนี้ โดยทั่วไป จารกรรมที่กระทำโดยพลเมืองของประเทศเป้าหมาย ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของการกบฏ หลายประเทศถือว่าจารกรรมเป็นความผิดอาญา ต้องได้รับโทษประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกากำหนดให้จารกรรมเป็นความผิดอาญาขั้นอุกฤษฏ์โทษ อย่างไรก็ตาม ผู้ต้องหามักได้รับข้อเสนอลดหย่อนโทษโดยแลกกับข้อมูลข่าวสาร ในสหราชอาณาจักร จารชนต่างชาติจะได้รับโทษจำคุกไม่เกิน 14 ปี ภายใต้ พระราชบัญญัติความลับของทางราชการ ขณะที่จารชนชาวอังกฤษที่เป็นสายลับให้ต่างชาติ และพิสูจน์ได้ว่าช่วยเหลือศัตรู จะถูกพิพากษาในข้อหาการกบฏ รับโทษสูงสุดจำคุกตลอดชีวิต นอกจากนี้ จารชนที่ทำงานให้ผู้ก่อการร้ายยังถือว่ากระทำผิดพระราชบัญญัติการก่อการร้าย ค.ศ. 2000 ในระหว่างสงครามเย็น มีความเคลื่อนไหวที่เกี่ยวข้องกับจารกรรมบ่อยครั้ง ส่วนใหญ่เกี่ยวพันกับความลับด้านอาวุธนิวเคลียร์ ปัจจุบันใช้สายลับกับการค้ายาเสพติดโดยผิดกฎหมายและการก่อการร้.

ใหม่!!: นินจาและจารกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ดาบ

ญี่ปุ่น หรือ คะตะนะ เป็นดาบที่มีคมด้านเดียว ดาบ เป็นชื่อเรียกของอาวุธที่มีขนาดยาวและมีคมที่ด้าน มีการใช้ทั่วโลกโดยมีชื่อเรียกและลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ส่วนประกอบหลักของดาบจะประกอบด้วยสามส่วนหลักคือ คมดาบ ไว้สำหรับฟันและตัด, ปลายดาบไว้สำหรับแทง, และ ด้ามดาบไว้สำหรับจับถือ.

ใหม่!!: นินจาและดาบ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวกระจาย (อาวุธ)

ดาวกระจายชนิด 4 แฉก ดาวกระจาย เป็นอาวุธสำหรับขว้างชนิดหนึ่งในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เป็นอาวุธสำหรับนินจา มีตั้งแต่ชนิด 3 แฉก จนถึง 8 แฉก ลักษณะเฉพาะคือมีรูตรงกลาง และขอบนอกคม ดาวกระจายไม่ได้ออกแบบมาเพื่อใช้เป็นอาวุธโจมตี ต่างจากที่เห็นในวัฒนธรรมสมัยนิยม แต่ใช้เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจของคู่ต่อสู้ หมวดหมู่:นินจา หมวดหมู่:อาวุธขว้าง.

ใหม่!!: นินจาและดาวกระจาย (อาวุธ) · ดูเพิ่มเติม »

คะสึชิกะ โฮะกุไซ

กุไซ หรือ คะสึชิกะ โฮะกุไซ (葛飾北斎?, Hokusai หรือ Katsushika Hokusai) (ตุลาคม หรือ พฤศจิกายน ค.ศ. 1760 - 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1849Nagata) เป็นจิตรกรภาพอุกิโยะและภาพพิมพ์แกะไม้ชาวญี่ปุ่นของสมัยเอะโดะของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมจีน โฮะกุไซเกิดที่เอะโดะ (ปัจจุบันคือโตเกียว) งานที่มีชื่อเสียงของโฮะกุไซที่เป็นที่รู้จักกันดีคือภาพพิมพ์แกะไม้ชุด “ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิ” (富嶽三十六景) ที่รวมภาพ “คลื่นยักษ์นอกฝั่งคะนะงะวะ” ซึ่งเป็นภาพสัญลักษณะอันเป็นที่รู้จักกันดีไปทั่วโลกที่เขียนในคริสต์ทศวรรษ 1820 โฮะกุไซ “ทัศนียภาพ 36 มุม” เพื่อเป็นทั้งการตอบสนองความต้องการของกิจการท่องเที่ยวภายในประเทศที่ขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว และความหลงใหลส่วนตัวในการวาดภาพภูเขาฟู.

ใหม่!!: นินจาและคะสึชิกะ โฮะกุไซ · ดูเพิ่มเติม »

คะตะนะ

มัยของดาบซามูไร แบ่งออกได้ 4.

ใหม่!!: นินจาและคะตะนะ · ดูเพิ่มเติม »

คันจิ

ันจิ เป็นอักษรจีนที่ใช้ในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบัน จัดอยู่ในประเภทอักษรคำ (Logograms) ใช้ร่วมกับตัวอักษร อีก 4 ประเภท ได้แก่ ฮิรางานะ (ひらがな, 平仮名 Hiragana) คะตาคานะ (カタカナ, 片仮名 Katakana) โรมะจิ (ローマ字 Rōmaji) และตัวเลขอารบิก คำว่า "คันจิ" หากอ่านตามเสียงภาษาจีนกลางจะอ่านว่า "ฮั่นจื้อ" มีความหมายว่า ตัวอักษรของชาวฮั่น อันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศจีน คำว่าภาษาจีนในภาษาจีนเอง ก็เรียกว่า ภาษาฮั่น (ภาษาจีนกลาง: 漢語, hànyǔ) เช่นกัน.

ใหม่!!: นินจาและคันจิ · ดูเพิ่มเติม »

คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ

ซุโนะกิ มะซะชิเงะ (ค.ศ. 1294 ถึง ค.ศ. 1336) เป็นซะมุไรในช่วงต้นยุคมุโระมะชิ เป็นซะมุไรคนสำคัญซึ่งสู้รบอยู่ในฝ่ายของพระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ อนุสาวรีย์ของคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ในสวนของพระราชวังอิมพีเรียลนครโตเกียว ชีวิตในวัยเยาว์ของคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ และความเป็นมาของตระกูลคุซุโนะกิ ไม่ได้รับการบันทึกไว้ คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ เป็นซะมุไรระดับล่าง อาศัยอยู่ในแคว้นคะวะชิ (จังหวัดโอซะกะในปัจจุบัน) เมื่อพระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ ทรงประกาศเชื้อเชิญให้บรรดาซะมุไรทั้งหลายที่ไม่พอใจการปกครองของรัฐบาลโชกุนคะมะกุระเข้าร่วมกับกองกำลังของพระองค์ในการล้มล้างรัฐบาลโชกุนฯ ในปีค.ศ. 1331 คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ประกาศตนเข้ากับฝ่ายของพระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ และสร้างกองกำลังอยู่ที่ป้อมอะกะซะกะ ในแคว้นคะวะชิ ซึ่งเจ้าชายโมะริโยะชิ พระโอรสของจักรพรรดิโกะ-ไดโงะเสด็จมายังป้อมอะกะซะกะเพื่อทรงร่วมนำทัพในการต่อต้านรัฐบาลโชกุน แต่ทว่าตระกูลโฮโจแห่งรัฐบาลโชกุนฯส่งกองทัพมาเข้าล้อมป้อมอะกะซะกะและสามารถยึดป้อมได้ คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ นำเจ้าชายโมะริโยะชิเสด็จหนีออกจากป้อมอะกะซะกะ จากนั้นมะซะชิเงะรวบรวมกำลังได้อีกครั้งที่ป้อมชิฮะยะ ทัพของตระกูลโฮโจเข้าล้อมป้อมชิฮะยะแต่ไม่สำเร็จ เมื่อไม่สามารถปราบกองกำลังของจักรพรรดิโกะ-ไดโงะได้ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระจึงส่งอะชิกะงะ ทะกะอุจิ ยกทัพมาปราบกองกำลังของจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ แต่ทว่าอะชิกะงะ ทะกะอุจิ แปรพักตร์มาเข้ากับฝ่ายของจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ และเข้ายึดนครหลวงเคียวโตะถวายแด่พระจักรพรรดิ ส่วนนิตตะ โยะชิซะดะ ยกทัพเข้ายึดเมืองคะมะกุระ ทำให้รัฐบาลโชกุนคะมะกุระสิ้นสุดลง พระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ ทรงฟื้นฟูการปกครองซึ่งมีราชสำนักเมืองเกียวโตเป็นศูนย์กลางขึ้นมาใหม่ เรียกว่า การฟื้นฟูเป็นเค็มมุ (Kemmu Restoration) และลดอำนาจของชนชั้นซะมุไร สร้างความไม่พอใจให้แก่ชนชั้นซะมุไรโดยทั่วไป ในค.ศ. 1335 อะชิกะงะ ทะกะอุจิ แยกตนออกไปเพื่อก่อตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นมาอีกครั้ง ในขณะที่คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ และนิตตะ โยะชิซะดะ ยังคงจงรักภักดีต่อพระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ อะชิกะงะ ทะกะอุจิ ยกทัพเข้าประชิดเมืองเกียวโตในค.ศ. 1335 คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ สามารถขับไล่ทัพของอะชิกะงะออกไปได้ แต่ทว่าในปีต่อมาค.ศ. 1336 อะชิกะงะ ทะกะอุจิ สามารถรวบรวมกำลังพลขนาดใหญ่ทั้งทางน้ำและทางบกเข้ามายังเมืองเกียวโต คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ถวายคำแนะนำแด่จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ ว่าควรจะเสด็จออกจากนครเกียวโตไปก่อนเพื่อไปทำการตั้งรับนอกเมือง เนื่องจากทัพของอะชิกะงะมีขนาดใหญ่เกินรับมือ แต่จักรพรรดิโกะ-ไดโงะและนิตตะ โยะชิซะดะ ยืนกรานที่จะตั้งรับอยู่ภายในนครหลวงเกียวโต แม้จะทราบดีว่าการสู้รบในครั้งนี้มีโอกาสชนะน้อย แต่คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ยังคงปฏิบัติตามพระราชโองการของจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ ยกทัพออกไปตั้งรับต่อกรกับอะชิกะงะ ในยุทธการที่มินะโตะงะวะ ทัพของนิตตะ โยะชิซะดะ ถูกโจมตีจนถอยร่นไป เหลือเพียงคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ เผชิญหน้ากับทัพขนาดใหญ่ของอะชิกะงะ ทะดะโยะชิ ( ) ซึ่งเป็นน้องชายของอะชิกะงะ ทะกะอุจิ เพื่อประสบกับความพ่ายแพ้ คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ จึงทำการเซ็ปปุกุเสียชีวิต หลังจากที่คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ เสียชีวิตไปแล้ว อะชิกะงะ ทะกะอุจิ สามารถเข้ายึดเมืองเกียวโตได้ ก่อตั้งรัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ บุตรชายของมะซะชิเงะ คือ คุซุโนะกิ มะซะซึระ รับช่วงต่อหน้าที่การนำทัพของพระราชวงศ์ฝ่ายใต้ในรัชสมัยของจักรพรรดิโกะ-มุระกะมิ คุซุโนะกิ มะซะซึระ เสียชีวิตระหว่างสงครามในค.ศ. 1348 จากนั้นบุตรชายอีกคนของมะซะชิเงะ คือ คุซุโนะกิ มะซะโนะริ ขึ้นเป็นผู้นำทัพของพระราชวงศ์ฝ่ายใต้ต่อมา นักวิชาการในยุคเมจิยกย่องเชิดชู คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ให้เป็นตัวอย่างของความจงรักภักดีต่อสถาบันพระจักรพรรดิญี่ปุ่น ในยุคเมจิมีการสร้างอนุสาวรีย์ของคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ขึ้นในพระราชวังอิมพีเรียลเมืองโตเกียว และคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ยังเป็นแบบอย่างให้แก่กองกำลังคะมิกะเซะในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองอีกด้ว.

ใหม่!!: นินจาและคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ · ดูเพิ่มเติม »

คุนะอิ

นะอิ คุนะอิ เป็นอาวุธโบราณจากญี่ปุ่นใช้โดยนินจา มีลักษณะคล้ายมีดขนาดประมาณ 10-15 ซม.

ใหม่!!: นินจาและคุนะอิ · ดูเพิ่มเติม »

คุโนะอิชิ

นะอิจิ คือ นินจาหญิง มีหน้าที่หลัก คือ หาข่าวสารและลอบสังหาร การฝึกฝนของคุโนะอิจิจะเน้นการใช้ยาพิษ การปลอมตัว ศิลปะการแสดง และการใช้เสน่ห์ให้เป็นประโยชน์ เพื่อล้วงความลับหรือจัดการกับเป้าหม.

ใหม่!!: นินจาและคุโนะอิชิ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลโทกูงาวะ

ตระกูลโทกูงาวะ เป็นตระกูลไดเมียวที่ทรงอำนาจของญี่ปุ่นในอดีต เป็นเชื้อสายของ จักรพรรดิเซวะ ผ่านราชสกุลฟุจิวะระและราชสกุลมินะโมโต..

ใหม่!!: นินจาและตระกูลโทกูงาวะ · ดูเพิ่มเติม »

ซะนะดะ ยุกิมุระ

วาดในยุคเอโดะของซะนะดะ โนะบุชิเกะ ซะนะดะ ซะเอมงโนะซุเกะ ยุกิมุระ ค.ศ. 1567 - ค.ศ. 1615 ถือเป็นสุดยอดซามูไรชาวญี่ปุ่นแห่งยุคเซงโงะกุ เป็นบุตรชายคนที่ 2 ของซะนะดะ มะซะยุกิ (พี่ชายคนโต: ซะนะดะ โนบุยุกิ) ซึ่งเป็นไดเมียวปกครองตระกูลซะนะดะ (ค.ศ. 1544 – ค.ศ. 1611) เดิมมีชื่อว่า "ซะนะดะ โนะบุชิเกะ "(真田信繁) ซึ่งถูกตั้งตามน้องชายของ "ทะเกะดะ ชิงเก็ง", "ทะเกะดะ โนะบุชิเกะ"(武田信繁) บิดาของยูกิมุระได้รับการขนานนามว่าเป็นยอดนักวางแผนการสงคราม ซึ่งกองทัพซะนะดะก็ไม่ได้มีขนาดใหญ่โตนัก แต่กลับสามารถเอาชนะกองทัพขนาดใหญ่ได้ในการศึกมากมายหลายครั้ง ส่วนตัวของซะนะดะ ยุกิมุระ เองก็ได้รับการขนานนามไว้หลายชื่อ ไม่ว่าจะเป็น "วีรบุรุษผู้จะมาปรากฎในทุกๆ 100 ปี", "ปีศาจสีเลือดแห่งสงคราม" และ ชิมะซุ ทะดะสึเนะ ก็เรียกยุกิมุระว่า "นักรบอันดับ 1 แห่งญี่ปุ่น".

ใหม่!!: นินจาและซะนะดะ ยุกิมุระ · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไร

ซามูไรในชุดเกราะ ถ่ายในช่วงทศวรรษที่ 1860 โดย เฟรีเช บีอาโต ซามูไร แปลเป็นภาษาไทยว่าทหาร คำว่า ซามูไร มีต้นกำเนิดจากคำว่า ซะบุระอุ ซึ่งเป็นคำกริยาในภาษาญี่ปุ่นโบราณ ที่มีความหมายว่า รับใช้ ฉะนั้น ซามูไรก็คือคนรับใช้นั่นเอง.

ใหม่!!: นินจาและซามูไร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: นินจาและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาท

ปราสาทคาร์คาโซนในฝรั่งเศส ปราสาท คือสิ่งก่อสร้างที่ใช้ในการป้องกันข้าศึกซึ่งเป็นสัญลักษณ์หลักของสมัยกลาง ความหมายของคำว่าปราสาทยังเป็นที่ถกเถียงกันในหมู่นักวิชาการถึงความหมายที่แท้จริง แต่โดยทั่วไปแล้วปราสาทมีความหมายต่างจากคำว่า “ป้อม” (fort) และ “ป้อมปราการ” (fortress) ตรงที่ปราสาทเป็นที่ประทับหรือที่พำนักของพระมหากษัตริย์หรือขุนนางในบริเวณที่เป็นจุดที่ต้องมีการป้องกันจากข้าศึก สิ่งก่อสร้างที่เป็นที่มาของปราสาทคือป้อมโรมัน (Roman fort) และ ป้อมเนิน (Hill fort) ที่สร้างกันทั่วยุโรปที่มาจากคริสต์ศตวรรษที่ 9 ในสมัยจักรวรรดิคาโรลินเจียน แต่การวิวัฒนาการของปืนใหญ่และดินปืนในคริสต์ศตวรรษที่ 13 เป็นการเปลี่ยนลักษณะการสงครามในยุโรปและทำให้สมรรถภาพของปราสาทในการใช้เป็นสิ่งป้องกันการโจมตีจากข้าศึกลดลง และทำให้การสร้างป้อมเป็นที่นิยมกันมากขึ้น สิ่งก่อสร้างในรัสเซียที่เรียกว่า “เคร็มลิน” (Kremlin) หรือในญี่ปุ่นที่เรียกว่า “ชิโร” (Shiro) ก็ถือว่าเป็นปราสาท.

ใหม่!!: นินจาและปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทเอโดะ

ปราสาทเอโดะ (江戸城, Edo Castle) เป็นปราสาทที่สำคัญแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น เพราะเคยใช้เป็นที่พักของรัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ เริ่มก่อสร้างในปี..

ใหม่!!: นินจาและปราสาทเอโดะ · ดูเพิ่มเติม »

นินจาคาถาโอ้โฮเฮะ

นินจาคาถาโอ้โฮเฮะ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น เนื้อหาเกี่ยวกับนินจา เรื่องและภาพโดยมะซะชิ คิชิโมะโตะ ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: นินจาและนินจาคาถาโอ้โฮเฮะ · ดูเพิ่มเติม »

นินจุสึ

นินจุสึ (คันจิ: 忍術, โรมะจิ: Ninjutsu) หมายถึง วิชาการต่อสู้ของนินจา เป็นวิชาการต่อสู้โบราณของญี่ปุ่น มีประวัติไม่แน่นอน แต่คาดกันว่ามีพระจาริกนำมาจากเมืองจีน และเมื่อได้เข้ามาในญี่ปุ่นก็ปรับเปลี่ยนไปตามประเพณีและวัฒนธรรมญี่ปุ่น ในอดีตมีสำนักของนินจุสึอยู่ทั่วประเทศญี่ปุ่นกว่า 20 สำนัก กลุ่มของนินจาที่โด่งดังของญี่ปุ่นในอดีตได้แก่ อิกะ โคกะ ฟูมะ แต่หลังจากถูกกวาดล้างจากสงครามของโอดะ โนบุนากะที่ให้วิชาจำนวนมากหายสาบสูญไป ในบางช่วงของประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นวิชานินจุสึถูกสั่งห้ามไม่ให้ฝึก ทำให้คนรู้จักวิชานี้หลงเหลืออยู่น้อยมาก.

ใหม่!!: นินจาและนินจุสึ · ดูเพิ่มเติม »

โชกุน

กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..

ใหม่!!: นินจาและโชกุน · ดูเพิ่มเติม »

โอดะ โนบูนางะ

อดะ โนบุนางะ เป็นไดเมียว และหนึ่งในสามผู้ยิ่งใหญ่แห่งยุคเซงโงกุ เป็นหนึ่งในสามผู้รวบรวมญี่ปุ่นจากความแตกแยกในยุคเซงโงก.

ใหม่!!: นินจาและโอดะ โนบูนางะ · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ อิเอยาซุ

ทกูงาวะ อิเอยาซุ คือผู้สถาปนาบะกุฟุ (รัฐบาลทหาร) ที่เมืองเอะโดะ (โตเกียวในปัจจุบัน) และเป็นโชกุนคนแรกจากตระกูลโทกูงาวะที่ปกครองประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่สิ้นสุด ศึกเซะกิงะฮะระและเริ่มต้นยุคเอะโดะ เมื่อปี..

ใหม่!!: นินจาและโทกูงาวะ อิเอยาซุ · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ ฮิเดตาดะ

ทะกุงะวะ ฮิเดะตะดะ เป็นโชกุนคนที่ 2 แห่ง ตระกูลโทะกุงะวะ โดยท่านเป็นบุตรชายคนที่ 3 ของ โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1579 หลังจากผู้เป็นบิดาได้ลงจากตำแหน่งโชกุนในปี ค.ศ. 1605 ท่านจึงขึ้นดำรงตำแหน่งสืบต่อมาขณะอายุได้เพียง 26 ปี ในสมัยของท่านตระกูลโทะกุงะวะสามารถขยายอำนาจออกไปได้อย่างกว้างขวาง และลงจากอำนาจในปี ค.ศ. 1623 ขณะอายุได้ 44 ปีแต่ก็ยังทรงอิทธิพลอยู่ก่อนจะที่จะเสียชีวิตลงในวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ. 1632 ขณะอายุได้ 53 ปี.

ใหม่!!: นินจาและโทกูงาวะ ฮิเดตาดะ · ดูเพิ่มเติม »

ไดเมียว

ไดเมียว (แปลว่า มูลนาย) นั้นเป็นตำแหน่งเจ้าเมืองที่มีความสำคัญรองลงมาจากโชกุนและไดเมียวจากหลายตระกูลก็ได้เป็นโชกุนในเวลาต่อมา พวกตระกูลที่มีฐานะเป็นไดเมียวเรียกกันว่า โคตรตระกูล หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:ไดเมียว.

ใหม่!!: นินจาและไดเมียว · ดูเพิ่มเติม »

เท้า

ท้า เป็นโครงสร้างทางกายวิภาคศาสตร์ของสัตว์หลายชนิด ใช้สำหรับการเคลื่อนที่ ในสัตว์หลายชนิดมีเท้าเป็นอวัยวะที่แยกออกต่างหากอยู่ปลายสุดของขา ประกอบด้วยกระดูกหลายชิ้นรวมทั้งกรงเล็บ (claws) และเล็บ (nail).

ใหม่!!: นินจาและเท้า · ดูเพิ่มเติม »

เนะซุมิ โคโซ

นะซุมิ โคโซ หรือ จอมโจรหนู ยิโรคิจิ (คันจิ: 次郎吉, ฮิรางานะ: ねずみ小僧 เสียชีวิต พ.ศ. 2375) เป็นจอมโจรในตำนานพื้นบ้านของญี่ปุ่น โดยปล้นคนรวยเอาเงินมาแจกคนจนเหมือนโรบินฮูดของอังกฤษ เนะซุมิ โคโซ โยในเมืองเอโดะ (ปัจจุบันคือเมือง โตเกียว) ในช่วงยุคเอโดะ สาเหตุที่ได้ชื่อว่า "จอมโจรหนู" เนื่องมาจากที่เนะซุมิ โคโซ เวลาแอบปล้นบ้านเศรษฐี เขาได้ขนถุงที่เต็มไปด้วยหนู และได้ปล่อยหนูให้วิ่งทั่วในบ้านเพื่อสร้างความแตกตื่นแก่เจ้าของบ้าน ในปี พ.ศ. 2365 โคโซได้ถูกจับและถูกขับไล่ออกจากเอโดะ และสิบปีให้หลังในปี พ.ศ. 2375 ได้ถูกจับอีกครั้งและถูกจับมัด โดยขี่ม้ารอบเมืองประจานต่อหน้าสาธารณชน ก่อนที่จะถูกประหารชีวิต โดยหัวของเนะซุมิ โคโซ ได้ถูกเสียบประจานกลางตัวเมือง ก่อนที่จะเสียชีวิตได้กล่าวถึงเงิน 30,000 เรียว ที่ขโมยมาจากซามูไรเศรษฐีกว่า 100 คนในช่วงเวลา 15 ปีของเขา สุสานของเนะซุมิ โคโซตั้งอยู่ที่เอโคะ ในโตเกียว ในช่วงชีวิตที่เป็นจอมโจร โคโซได้เป็นที่ชื่นชอบของผู้คนที่ถูกกดขี่ข่มเหงจากความไม่เป็นธรรมของรัฐบาลญี่ปุ่นในสมัยนั้น หลังจากที่เสียชีวิตลง ตำนานของเนะซุมิ โคโซ ได้ถูกเล่าต่อกันมา โดยมีกล่าวถึงว่า เนะซุมิ โคโซ ได้เคยเป็นนินจามาก่อน เรื่องราวของเนะซุมิ โคโซ นิยมนำมาแสดงในละครคาบุกิ ภาพยนตร์ ละครย้อนยุค เนื้อเพลง วิดีโอเกม และ วัฒนธรรมป๊อป ต่างๆ เนะซุมิ โคโซ ได้ถูกเทียบกับอิชิคาวา โกเอมอน โดยถึงแม้ว่าจะอยู่ในช่วงคนละยุคกัน และในวิดีโอเกมกัมบาเระ โกเอมอน ของโคนามิ ได้มีโคโซและโกเอมอนเป็นตัวละครหลัก.

ใหม่!!: นินจาและเนะซุมิ โคโซ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Ninjaชิโนบิ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »