เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

นินจาและยุคคะมะกุระ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง นินจาและยุคคะมะกุระ

นินจา vs. ยุคคะมะกุระ

การวาดแม่แบบนินจาจากชุดสเก็ตช์ ("โฮะกุไซ มังงะ")โดย คะสึชิกะ โฮะกุไซ ภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่นบนกระดาษตอนที่ 6 ค.ศ. 1817 คุนะอิ '''คุนะอิ'''มีไว้ขุดหลุมหรือขว้างใส่ศัตรูเหมือนดาวกร. มะกุระ หรือ อ่านแบบไทย คะมะกุระ ตรงกับปีค.ศ. 1185-ค.ศ. 1333 เป็นยุคที่ญี่ปุ่นเริ่มต้นการปกครองระบบศักดินาโดยจักรพรรดิเป็นผู้มีอำนาจการปกครอง แต่เพียงในนามรัฐบาลทหารที่เรียกว่า คะมะกุระ บะกุฟุ ซึ่งมีโชกุนเป็นหัวหน้าปกครองประเทศในนามจักรพรรดิมีอำนาจเด็ดขาดทั้งทางการเมืองและการทหาร มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นโชกุนคนแรกจัดตั้งรัฐบาลทหารมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมืองคะมะกุระ ส่วนจักรพรรดิประทับที่เมืองเฮอัง ในยุคคะมะกุระญี่ปุ่นต้องเผชิญหน้ากับการรุกรานจากกองทัพมองโกลภายใต้การนำของ กุบไลข่าน ในสมัย ราชวงศ์หยวน ซึ่งโดนโจมตีครั้งแรกในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง นินจาและยุคคะมะกุระ

นินจาและยุคคะมะกุระ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะยุคเฮอังคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ

มินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ

"โยะชิสึเนะและเบ็งเกใต้ต้นซากุระ" โดย โยะชิโตะชิ สึคิโอะกะ ค.ศ. 1885 มินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ (みなもとの よしつね Minamoto no Yoshitsune หรือ 源義経 Minamoto Yoshitsune ค.ศ. 1159 - 15 มิถุนายน ค.ศ. 1189) หรือ โยะชิสึเนะแห่งมินะโมะโตะ ผู้พันของกลุ่มนักรบมินะโมะโตะในญี่ปุ่น ในช่วงระหว่างปลายยุคเฮอังถึงต้นยุคคะมะกุระ เขาเป็นหนึ่งในตำนานของผู้กล้าของญี่ปุ่น ซึ่งมักจะมีการกล่าวถึงในทางวรรณกรรม และทางภาพยนตร.

นินจาและมินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ · มินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะและยุคคะมะกุระ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเฮอัง

อัง อยู่ในช่วง ค.ศ. 794 - ค.ศ. 1185 ในปลายศตวรรษที่ 8 มีการย้ายเมืองหลวงไปที่ เฮอังเกียว (平安京 Heian-kyou) หรือเมืองเคียวโตะในปัจจุบัน นับเป็นยุคทองของประเทศญี่ปุ่น ที่ทั้งศิลปะและวัฒนธรรมรุ่งเรืองถึงขีดสุด มีการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมต่างๆ ที่หยิบยืมมาจากประเทศจีนในสมัยราชวงศ์ถัง และลัทธิขงจื้อ จนกลายเป็นวัฒนธรรมแบบเฉพาะตัวของญี่ปุ่น เฮอัง (平安,Heian) แปลว่า ความสงบสันต.

นินจาและยุคเฮอัง · ยุคคะมะกุระและยุคเฮอัง · ดูเพิ่มเติม »

คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ

ซุโนะกิ มะซะชิเงะ (ค.ศ. 1294 ถึง ค.ศ. 1336) เป็นซะมุไรในช่วงต้นยุคมุโระมะชิ เป็นซะมุไรคนสำคัญซึ่งสู้รบอยู่ในฝ่ายของพระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ อนุสาวรีย์ของคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ในสวนของพระราชวังอิมพีเรียลนครโตเกียว ชีวิตในวัยเยาว์ของคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ และความเป็นมาของตระกูลคุซุโนะกิ ไม่ได้รับการบันทึกไว้ คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ เป็นซะมุไรระดับล่าง อาศัยอยู่ในแคว้นคะวะชิ (จังหวัดโอซะกะในปัจจุบัน) เมื่อพระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ ทรงประกาศเชื้อเชิญให้บรรดาซะมุไรทั้งหลายที่ไม่พอใจการปกครองของรัฐบาลโชกุนคะมะกุระเข้าร่วมกับกองกำลังของพระองค์ในการล้มล้างรัฐบาลโชกุนฯ ในปีค.ศ. 1331 คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ประกาศตนเข้ากับฝ่ายของพระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ และสร้างกองกำลังอยู่ที่ป้อมอะกะซะกะ ในแคว้นคะวะชิ ซึ่งเจ้าชายโมะริโยะชิ พระโอรสของจักรพรรดิโกะ-ไดโงะเสด็จมายังป้อมอะกะซะกะเพื่อทรงร่วมนำทัพในการต่อต้านรัฐบาลโชกุน แต่ทว่าตระกูลโฮโจแห่งรัฐบาลโชกุนฯส่งกองทัพมาเข้าล้อมป้อมอะกะซะกะและสามารถยึดป้อมได้ คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ นำเจ้าชายโมะริโยะชิเสด็จหนีออกจากป้อมอะกะซะกะ จากนั้นมะซะชิเงะรวบรวมกำลังได้อีกครั้งที่ป้อมชิฮะยะ ทัพของตระกูลโฮโจเข้าล้อมป้อมชิฮะยะแต่ไม่สำเร็จ เมื่อไม่สามารถปราบกองกำลังของจักรพรรดิโกะ-ไดโงะได้ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระจึงส่งอะชิกะงะ ทะกะอุจิ ยกทัพมาปราบกองกำลังของจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ แต่ทว่าอะชิกะงะ ทะกะอุจิ แปรพักตร์มาเข้ากับฝ่ายของจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ และเข้ายึดนครหลวงเคียวโตะถวายแด่พระจักรพรรดิ ส่วนนิตตะ โยะชิซะดะ ยกทัพเข้ายึดเมืองคะมะกุระ ทำให้รัฐบาลโชกุนคะมะกุระสิ้นสุดลง พระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ ทรงฟื้นฟูการปกครองซึ่งมีราชสำนักเมืองเกียวโตเป็นศูนย์กลางขึ้นมาใหม่ เรียกว่า การฟื้นฟูเป็นเค็มมุ (Kemmu Restoration) และลดอำนาจของชนชั้นซะมุไร สร้างความไม่พอใจให้แก่ชนชั้นซะมุไรโดยทั่วไป ในค.ศ. 1335 อะชิกะงะ ทะกะอุจิ แยกตนออกไปเพื่อก่อตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นมาอีกครั้ง ในขณะที่คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ และนิตตะ โยะชิซะดะ ยังคงจงรักภักดีต่อพระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ อะชิกะงะ ทะกะอุจิ ยกทัพเข้าประชิดเมืองเกียวโตในค.ศ. 1335 คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ สามารถขับไล่ทัพของอะชิกะงะออกไปได้ แต่ทว่าในปีต่อมาค.ศ. 1336 อะชิกะงะ ทะกะอุจิ สามารถรวบรวมกำลังพลขนาดใหญ่ทั้งทางน้ำและทางบกเข้ามายังเมืองเกียวโต คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ถวายคำแนะนำแด่จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ ว่าควรจะเสด็จออกจากนครเกียวโตไปก่อนเพื่อไปทำการตั้งรับนอกเมือง เนื่องจากทัพของอะชิกะงะมีขนาดใหญ่เกินรับมือ แต่จักรพรรดิโกะ-ไดโงะและนิตตะ โยะชิซะดะ ยืนกรานที่จะตั้งรับอยู่ภายในนครหลวงเกียวโต แม้จะทราบดีว่าการสู้รบในครั้งนี้มีโอกาสชนะน้อย แต่คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ยังคงปฏิบัติตามพระราชโองการของจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ ยกทัพออกไปตั้งรับต่อกรกับอะชิกะงะ ในยุทธการที่มินะโตะงะวะ ทัพของนิตตะ โยะชิซะดะ ถูกโจมตีจนถอยร่นไป เหลือเพียงคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ เผชิญหน้ากับทัพขนาดใหญ่ของอะชิกะงะ ทะดะโยะชิ ( ) ซึ่งเป็นน้องชายของอะชิกะงะ ทะกะอุจิ เพื่อประสบกับความพ่ายแพ้ คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ จึงทำการเซ็ปปุกุเสียชีวิต หลังจากที่คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ เสียชีวิตไปแล้ว อะชิกะงะ ทะกะอุจิ สามารถเข้ายึดเมืองเกียวโตได้ ก่อตั้งรัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ บุตรชายของมะซะชิเงะ คือ คุซุโนะกิ มะซะซึระ รับช่วงต่อหน้าที่การนำทัพของพระราชวงศ์ฝ่ายใต้ในรัชสมัยของจักรพรรดิโกะ-มุระกะมิ คุซุโนะกิ มะซะซึระ เสียชีวิตระหว่างสงครามในค.ศ. 1348 จากนั้นบุตรชายอีกคนของมะซะชิเงะ คือ คุซุโนะกิ มะซะโนะริ ขึ้นเป็นผู้นำทัพของพระราชวงศ์ฝ่ายใต้ต่อมา นักวิชาการในยุคเมจิยกย่องเชิดชู คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ให้เป็นตัวอย่างของความจงรักภักดีต่อสถาบันพระจักรพรรดิญี่ปุ่น ในยุคเมจิมีการสร้างอนุสาวรีย์ของคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ขึ้นในพระราชวังอิมพีเรียลเมืองโตเกียว และคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ยังเป็นแบบอย่างให้แก่กองกำลังคะมิกะเซะในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองอีกด้ว.

คุซุโนะกิ มะซะชิเงะและนินจา · คุซุโนะกิ มะซะชิเงะและยุคคะมะกุระ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง นินจาและยุคคะมะกุระ

นินจา มี 38 ความสัมพันธ์ขณะที่ ยุคคะมะกุระ มี 38 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 3.95% = 3 / (38 + 38)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง นินจาและยุคคะมะกุระ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: