ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี มี 56 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การบินไทยการูดาอินโดนีเซียกาตาร์แอร์เวย์มาเลเซียแอร์ไลน์สิงคโปร์แอร์ไลน์ออล นิปปอน แอร์เวย์ท่าอากาศยานฟุกุโอะกะท่าอากาศยานภูเก็ตท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิท่าอากาศยานดอนเมืองท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์ท่าอากาศยานนานาชาติพนมเปญท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้งท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิสท่าอากาศยานนานาชาติสมุยท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธีท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดีท่าอากาศยานนานาชาติดูไบท่าอากาศยานนานาชาติคันไซท่าอากาศยานนานาชาติคิงส์ฟอร์ดสมิธท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโกท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตาท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตงท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่งท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล...ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงก์เฟิร์ตท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่ายท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียวท่าอากาศยานนานาชาติไคโรท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ตท่าอากาศยานเชียงใหม่ท่าอากาศยานเมลเบิร์นท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโนคอนกรีตแอร์ฟรานซ์แอร์ไชนาแอร์เอเชียโคเรียนแอร์ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ไชนาแอร์ไลน์ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ไทยแอร์เอเชียไทเกอร์แอร์เวียดนามแอร์ไลน์เอมิเรตส์แอร์ไลน์เอเชียน่าแอร์ไลน์เจแปนแอร์ไลน์เตอร์กิชแอร์ไลน์ ขยายดัชนี (26 มากกว่า) »
การบินไทย
ริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (Thai Airways International Public Company Limited; ชื่อย่อ: ไทย, THAI) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ทำหน้าที่ดำเนินธุรกิจการบินพาณิชย์ ในฐานะสายการบินแห่งชาติของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503 จากเว็บไซต์การบินไทย โดยปฏิบัติการบินจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นหลัก ทั้งนี้ การบินไทยยังได้ร่วมก่อตั้งกลุ่มพันธมิตรการบิน สตาร์อัลไลแอนซ์ เคยเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในสายการบินนกแอร์ และเปิดตัวสายการบินลูก ไทยสมายล์ อีกด้วย ปัจจุบัน(มิถุนายน พ.ศ. 2561) การบินไทยบิน 64 สนามบินรวมต่างประเทศและในประเทศ แบ่งเป็นต่างประเทศ 60 สนามบิน ในประเทศไทย 4 สนามบินไม่รวมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทั้งหมด 3 ทวีป 32 ประเทศทั่วโลกไม่รวมประเทศไทย จากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ด้วยฝูงบินกว่า 84 ลำ การบินไทยเป็นสายการบินลำดับต้นในเอเชีย ที่ทำการบินในเส้นทางกรุงเทพ ลอนดอน (ท่าอากาศยานฮีทโธรว์) นอกจากนี้ การบินไทยได้รับรางวัลยอดเยี่ยมจากองค์การอนามัยโลกว่าด้วยสุขอนามัยบนเครื่องบินอีกด้ว.
การบินไทยและท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน · การบินไทยและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
การูดาอินโดนีเซีย
การูดาอินโดนีเซีย (Garuda Indonesia) เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งชื่อตามคำในภาษาอังกฤษที่แปลว่า "ครุฑ" ซึ่งเป็นตราแผ่นดินของอินโดนีเซีย สายการบินมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ภายในท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตาในจังหวัดบันเติน ใกล้กับกรุงจาการ์ตา ทั้งนี้ ในปี..
การูดาอินโดนีเซียและท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน · การูดาอินโดนีเซียและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
กาตาร์แอร์เวย์
กาตาร์แอร์เวย์ (القطرية) เป็นสายการบินที่มีฐานอยู่ที่กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ ให้บริการบินสู่จุดหมายมากกว่า100แห่งทั่วโลก จัดเป็นหนึ่งในสายการบินที่เติบโตเร็วที่สุด และเป็น 1 ใน 5 สายการบินที่ได้รับการจัดอันดับจาก Skytrax ให้อยู่ในอันดับ 5 ดาวในแต่ละปีมีผู้โดยสารใช้บริการถึง 12 ล้านคน.
กาตาร์แอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน · กาตาร์แอร์เวย์และท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
มาเลเซียแอร์ไลน์
Malaysia Airlines head office มาเลเซียแอร์ไลน์ เป็นสายการบินประจำชาติของมาเลเซีย ให้บริการเดินทางทั้งในและนอกทวีป เคยเป็น 1 ใน 5 สายการบินที่ได้รับการจัดอันดับโดยสกายแทรกซ์ให้อยู่ในอันดับ 5 ดาว มาเลเซียแอร์ไลน์เคยเป็นหนึ่งในสายการบินที่มีผู้คนยอมรับมากที่สุดในโลกตะวันออก จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์เครื่องบินของเที่ยวบินที่ 370 สูญหายระหว่างทำการบินในเดือนมีนาคม..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและมาเลเซียแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและมาเลเซียแอร์ไลน์ ·
สิงคโปร์แอร์ไลน์
อาคารสิงคโปร์แอร์ไลน์ สิงคโปร์แอร์ไลน์ (abbreviated 新航) เป็นบริษัทสายการบินในสิงคโปร์ มีท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีเป็นท่าอากาศยานหลัก จัดว่ามีความแข็งแกร่งในตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และ"เส้นทางจิงโจ้" (เส้นทางบินระหว่างประเทศในทวีปออสเตรเลียกับสหราชอาณาจักรโดยผ่านซีกโลกตะวันออก) นอกจากนี้ยังมีเที่ยวบินข้ามมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งรวมถึงเที่ยวบินตรงเชิงพาณิชย์ที่ใช้เวลาบินนานที่สุดในโลกสองเส้นทาง คือ จากสิงคโปร์ไปนูอาร์ก และลอสแอนเจลิส ด้วยเครื่องบินแอร์บัส เอ 340-500 สิงคโปร์แอร์ไลน์เป็นสายบินแรกที่สั่งซื้อเครื่องบินแอร์บัส เอ 380 และนอกจากกิจการสายการบินแล้ว ยังขยายกิจการไปยังธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับสายการบิน เช่น การจัดการและวิศวกรรมอากาศยาน มีสายการบินซิลค์แอร์เป็นบริษัทสาขาที่สิงคโปร์แอร์ไลน์เป็นเจ้าของทั้งหมด ให้บริการเที่ยวบินภายในภูมิภาคไปยังเมืองที่มีความสำคัญระดับรองและมีผู้โดยสารน้อยกว่า และยังมีสิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โกเป็นบริษัทสาขาที่ดำเนินการบินฝูงบินขนส่งสินค้าและจัดการขนส่งและจัดเก็บสัมภาระบนเครื่องบินโดยสาร สิงคโปร์แอร์ไลน์ถือหุ้นในสายการบินเวอร์จินแอตแลนติกอยู่ 49% และลงทุนในสายการบินไทเกอร์แอร์ไลน์เป็นส่วนปันผล 49% เพื่อรับมือการแข่งขันจากสายการบินต้นทุนต่ำ สิงคโปร์แอร์ไลน์จัดว่าเป็นสายการบินที่มีจำนวนผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 11 ในเอเชีย และมีผู้โดยสารระหว่างประเทศมากเป็นอันดับ 6 ของโลก สิงคโปร์แอร์ไลน์ได้รับการจัดอันดับจากนิตยสารฟอร์จูนให้อยู่ในอันดับที่ 27 ในหมวดหมู่บริษัทที่เป็นที่ยกย่องชมเชยมากที่สุดในโลกประจำ พ.ศ. 2553 และได้สร้างตราบริษัทที่แข็งแกร่งในฐานะผู้สร้างปรากฏการณ์ในอุตสาหกรรมการบิน โดยเฉพาะความเป็นเลิศในด้านนวัตกรรม ความปลอดภัย และบริการ ที่เชื่อมโยงเข้ากับความได้เปรียบทางธุรกิจอย่างมั่นคง นอกจากนี้ยังได้รับรางวัลมากมายและเป็นผู้นำทางอุตสาหกรรมในด้านการจัดซื้ออากาศยาน มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ Airport House ใกล้กับท่าอากาศยานชางงีในย่านชางงีในสิงคโปร.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและสิงคโปร์แอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและสิงคโปร์แอร์ไลน์ ·
ออล นิปปอน แอร์เวย์
ออลนิปปอนแอร์เวย์ (All Nippon Airways) หรือ บริษัท เดินอากาศเซ็งนิปปง มหาชนจำกัด หรือย่อว่า ANA เป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดในประเทศญี่ปุ่น มีสำนักงานใหญ่อยู่ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น และมีท่าอากาศยานหลักนานาชาติคือ ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ และ ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ (โอซาก้าใต้) และมีท่าอากาศยานหลักภายในประเทศคือ ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว ท่าอากาศยานนานาชาติโอซะกะ ท่าอากาศยานชูบุเซ็นแทรร์ (นาโกย่า) และ ท่าอากาศยานชินชิโตเสะ (ซัปโปโร) ANA จัดตั้งขึ้นโดยการควบรวมของ แอร์นิปปอน (สายการบินภูมิภาค) และ แอร์เจแปน (ผู้ให้บริการเช่าเหมาลำ) และต่อมาในปี 2547 ANA ได้จัดตั้งสายการบินต้นทุนต่ำในนามของ แอร์เน็กซ์ (Air Next) เพื่อทำการบินจากท่าอากาศยานฟุกุโอกะ ซึ่งเริ่มทำการบินครั้งแรกในปี 2548 และในปีเดียวกันนั้น (2547) ANA ได้เป็นผู้ถืหุ้นหลักในสายการบินนะกะนิคอน แอร์ไลน์ เซอร์วิส (NAL) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่ที่เมืองนาโกย่า และในปี 2548 ได้เปลี่ยนชื่อนะกะนิคอนฯ เป็น แอร์ เซ็นทรัล พร้อมทั้งย้ายที่ทำการไปยังท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและออล นิปปอน แอร์เวย์ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและออล นิปปอน แอร์เวย์ ·
ท่าอากาศยานฟุกุโอะกะ
อะแกรมของท่าอากาศยานฟุกุโอะกะ ท่าอากาศยานฟุกุโอะกะ ชื่อเดิมคือ ฐานทัพอากาศอิตะซุเกะ เป็นท่าอากาศยานในเมืองฟุกุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ห่างจากสถานีรถไฟฮะกะตะ 3 กิโลเมตรทางทิศตะวันออก จัดเป็นท่าอากาศยานระดับสองในญี่ปุ่น ปัจจุบันรองรับเที่ยวบินภายในประเทศและระหว่างประเทศ มีการใช้งานเต็มอัตราการรองรับของท่าอากาศยานและไม่สามารถขยายได้แล้ว ปิดการขึ้นลงของเที่ยวบินเวลา 22.00 น. ทุกวันเพื่อลดเสียงรบกวนต่อผู้อยู่อาศัยบริเวณใกล้เคียงในเวลากลางคืน และจะเปิดให้เที่ยวบินขึ้นลงอีกครั้งเวลา 7.00 น. ท่าอากาศยานตั้งอยู่ที่เขตฮะกะตะ ทางตะวันออกเฉียงใต้ของศูนย์กลางของเมือง เชื่อมต่อกับส่วนอื่นของเมืองด้วยรถไฟใต้ดินและถนน รถไฟใต้ดินวิ่งจากท่าอากาศยานไปยังย่านธุรกิจใช้เวลาไม่ถึง 10 นาที ท่าอากาศยานฟุกุโอะกะเป็นท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารคับคั่งเป็นอันดับสีของญี่ปุ่น ใน..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานฟุกุโอะกะ · ท่าอากาศยานฟุกุโอะกะและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานภูเก็ต
ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต หรือ สนามบินภูเก็ต เป็นสนามบินตั้งอยู่ที่ เหนือสุดของเกาะภูเก็ตเป็นท่าอากาศยานที่มีเที่ยวบินหนาแน่นเป็นอันดับที่สามของประเทศ รองจากท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง มีเที่ยวบินทั้งในและต่างประเทศ บินมาลงทุกวัน ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีมาตรฐานทั้งในด้านการท่องเที่ยว เศรษฐกิจ ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต ตั้งอยู่เลขที่ 222 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4026 ตำบลไม้ขาว อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ห่างจากตัวเมืองภูเก็ตประมาณ 32 กิโลเมตร เนื้อที่โดยประมาณ 94,800 ตารางเมตร แท๊กซี่เวย์ 8 จุด ทิศเหนือเป็นภูเขา ทิศใต้เป็นสวนยางพารา ทิศตะวันตกเป็นชายฝั่งทะเลอันดามัน สามารถรองรับผู้โดยสารได้ 6,500,000 คนต่อปี โดยในปี..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานภูเก็ต · ท่าอากาศยานภูเก็ตและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์
ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ (London Heathrow Airport) หรือมักเรียกโดยย่อว่า ฮีทโธรว์ เป็นท่าอากาศยานที่มีการจราจรทางอากาศหนาแน่นที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของประเทศสหราชอาณาจักร และทวีปยุโรป ในกรณีของจำนวนผู้โดยสาร และเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของโลก ในกรณีของจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศ ดำเนินการโดย บริษัท ท่าอากาศยานอังกฤษ จำกัด (เดิมคือ องค์การท่าอากาศยานแห่งประเทศอังกฤษ) ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเมืองฮิลลิงดอน ห่างจากตัวเมืองของกรุงลอนดอนประมาณ 24 กิโลเมตร (15 ไมล์) เป็นหนึ่งในสามของท่าอากาศยานที่อยู่ในเขตของกรุงลอนดอนและปริมณฑล อีกสองแห่งก็คือ ท่าอากาศยานลอนดอนซิตี และท่าอากาศยานลอนดอนบิกกิงฮิล ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์มีทางวิ่งขนานกัน 2 ทางวิ่ง ตามแนวทิศตัวออกและทิศตะวันตก และ มีอาคารผู้โดยสาร 4 อาคาร โดยอาคารที่ 5 กำลังก่อสร้าง และยังมีแผนปรับปรุงอาคารผู้โดยสารฝั่งตะวันออกใหม่ รวมทั้งเพิ่มทางวิ่งอีกหนึ่งเส้นทางด้ว.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ · ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์และท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก (132.2 เมตร) และอาคารผู้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก (563,000 ตารางเมตร) ปัจจุบันเป็น หนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลกและใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 109 สายการบิน ซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) Suvarnabhumi Airport.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ·
ท่าอากาศยานดอนเมือง
แผนผังท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง (ชื่อเดิมคือ ท่าอากาศยานกรุงเทพ) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า สนามบินดอนเมือง ตั้งอยู่บนถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง ช่วงกิโลเมตรที่ 24 ทางตอนเหนือของกรุงเทพมหานคร เป็นจุดศูนย์กลางทางการบินในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่สามารถเชื่อมโยงการคมนาคมทางอากาศไปยังจุดต่างๆ ของโลกได้อย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการบินภายในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน หรือระหว่างทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา ทวีปออสเตรเลีย ซึ่งสามารถใช้เป็นจุดแวะลงและเชื่อมต่อในการเดินทางของผู้โดยสารตลอดจนพัสดุไปรษณียภัณฑ์ไปยังจุดอื่นๆ ได้อย่างดี เปิดดำเนินการครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2457 โดยปิดตัวลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 วันเดียวกับที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเปิดใช้งาน โดยสนามบินดอนเมืองถูกเปลี่ยนเป็นสถานที่ซ่อมเครื่องบิน ฝึกบิน และสำหรับจอดเครื่องบินส่วนตัวของบุคคลสำคัญ อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา ท่าอากาศยานดอนเมืองได้กลับมาให้บริการเที่ยวบินแบบประจำ (scheduled flight) เที่ยวบินในประเทศอีกครั้งโดยมี สายการบินไทย นกแอร์ วันทูโก และพีบีแอร์มาเปิดให้บริการในลำดับแรก หลังจากพบปัญหาหลายอย่างที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ท่าอากาศยานดอนเมืองได้กลับมาเปิดให้บริการในฐานะสนามบินนานาชาติแห่งที่สองอีกครั้ง เนื่องด้วยนโยบายรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตรต้องการลดความแออัดของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิลง ปัจจุบัน ท่าอากาศยานดอนเมือง รับเที่ยวบิน จาก ประเทศจีน ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศสิงคโปร์ ประเทศกัมพูชา ประเทศมาเลเซีย ประเทศพม่า ประเทศเวียดนาม ประเทศไต้หวัน ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศอินเดีย ประเทศมัลดีฟส์ ฮ่องกง ประเทศฟิลิปปินส์ มาเก๊า และล่าสุด ประเทศเนปาล รวม 14 ประเทศ ส่วนเที่ยวบินภายในประเทศสำหรับท่าอากาศยานดอนเมืองมีเที่ยวบินภายในประเทศบริการบินไปกลับ จาก ท่าอากาศยานแพร่ ท่าอากาศยานตรัง ท่าอากาศยานร้อยเอ็ด ท่าอากาศยานนครพนม ท่าอากาศยานนครศรีธรรมราช ท่าอากาศยานระนอง ท่าอากาศยานสกลนคร ท่าอากาศยานพิษณุโลก ท่าอากาศยานบุรีรัมย์ ท่าอากาศยานน่านนคร ท่าอากาศยานแม่ฮ่องสอน ท่าอากาศยานแม่สอด และ ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ ซึ่ง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ไม่มีบริการใน 13 จังหวัดดังกล่าว ใน 13 จังหวัดดังกล่าวมีเที่ยวบินให้บริการที่ ท่าอากาศยานดอนเมืองเท่านั้น.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน · ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์
ท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์ ตั้งอยู่ในพื้นที่ถมทะเล ชานเมืองนาโงยะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นท่าอากาศยานแห่งใหม่ (แทนท่าอากาศยานนานาชาติชูบุ - Chubu International Airport) ที่สร้างขึ้นเพื่อรองรับงาน เอกซ์โป 2005 ที่จังหวัดไอชิ เนื่องจากสภาพที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่อยู่กึ่งกลางประเทศญี่ปุ่น จึงสามารถเป็นศูนย์กลางการเดินทางทางอากาศของประเทศที่สำคัญ มีลักษณะพิเศษคือมีพื้นที่พาณิชยกรรมแยกอยู่บนชั้นหนึ่งของอาคารผู้โดยสาร เรียกว่า แอร์ซิตี (Aircity) ประกอบด้วยพื้นที่ขายของแบบตะวันตก แบบญี่ปุ่น และพื้นที่พักผ่อน เช่น โรงอาบน้ำแร่ ทำให้นอกจากเป็นท่าอากาศยานแล้ว ยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวของประชาชนในจังหวัดไอชิและพื้นที่ใกล้เคียง สามารถเดินทางระหว่างตัวเมืองนาโงยะได้รถไฟฟ้าความเร็วสูง ภายในเวลา 20 นาที.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์ · ท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์และท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติพนมเปญ
ท่าอากาศยานนานาชาติพนมเปญ (អាកាសយានដ្ឋានអន្តរជាតិភ្នំពេញ; อากาสยานฐานอนฺตรชาติภนุมฺเพญ, Phnom Penh International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของกัมพูชา ตั้งอยู่ห่างจากใจกลางกรุงพนมเปญไปทางตะวันตก 7 กิโลเมตร มีชื่อเดิมว่า "ท่าอากาศยานนานาชาติโปเชนตง" (អាកាសយានដ្ឋានអន្តរជាតិពោធិ៏ចិនតុង; อากาสยานฐานอนฺตรชาติโพธิ์จินตุง, Pochentong International Airport) เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติพนมเปญ · ท่าอากาศยานนานาชาติพนมเปญและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่
ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่ หรือ สนามบินกระบี่ (Krabi International Airport) ตั้งอยู่ริมถนนเพชรเกษม ตำบลเหนือคลอง อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ ตั้งอยู่ระหว่างอำเภอเมืองกระบี่กับอำเภอเหนือคลอง ไปทางจังหวัดตรัง เป็นท่าอากาศยานในสังกัดกรมท่าอากาศยาน กระทรวงคมนาคม.
ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่และท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน · ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่และท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์
ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ (Lapangan Terbang Antarabangsa Kuala Lumpur) ตั้งอยู่ที่เขตเซปัง รัฐเซอลาโงร์ ประเทศมาเลเซีย ห่างจากตัวเมืองกัวลาลัมเปอร์ประมาณ 50 กิโลเมตร เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2541 เพื่อใช้เป็นท่าอากาศยานหลัก แทน ท่าอากาศยานสุลต่านอับดุล อาซิส ซาห์ (ซูบัง) ซึ่งตั้งห่างอยู่ทางทิศเหนือ (ปัจจุบันเปิดทำการในสายภายในประเทศ และเครื่องบินขนาดเล็ก) และเป็นท่าอากาศยานหลักของมาเลเซียแอร์ไลน์, มาเลเซียแอร์ไลน์คาร์โก และแอร์เอเชีย ได้รับรางวัลท่าอากาศยานที่ดีที่สุด จาก (AETRA awards) ปี 2005 และ (ACI-ASQ awards) ปี 2006.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ · ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง
ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง (พม่า: ရန်ကုန်အပြည်ပြည်ဆိုင်ရာလေဆိပ်) เป็นท่าอากาศยานที่ตั้งอยู่ในตำบลมีนกะลาโดน ทางเหนือ 15 กิโลเมตรจากตัวเมืองย่างกุ้ง ดำเนินงานโดยรัฐบาล เป็นท่าอากาศยานนานาชาติแห่งหลักของพม่า และเป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์ และท่าอากาศยานนานาชาติเนปยีดอ อาคารผู้โดยสารหลังเก่าปัจจุบันถูกใช้งานสำหรับเที่ยวบินภายในประเทศ ในขณะที่อาคารผู้โดยสารหลังใหม่ที่เริ่มเปิดใช้งานเมื่อ พฤษภาคม..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง · ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้งและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส
ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส (Los Angeles International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ชาวแคลิฟอร์เนียจะเรียกท่าอากาศยานแห่งนี้อย่างย่อว่า แอลเอเอกซ์ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของลอสแอนเจลิส ห่างจากตัวเมืองไปประมาณ 24 กิโลเมตร แอลเอเอกซ์เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินอเมริกันแอร์ไลน์ และอลาสกาแอร์ไลน์ เนื่องจากท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเล ทำให้ต้องเจอกับปัญหาเรื่องหมอก จนบางครั้งจะต้องให้เครื่องบินเปลี่ยนไปลงที่ท่าอากาศยานนานาชาติแอลเอ/ออนแทริโอ ซึ่งอยู่ห่างออกไปทางตะวันออก 76 กิโลเมตร.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส · ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิสและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติสมุย
ตอร์เช็คอินสนามบินสมุย ท่าอากาศยานนานาชาติสมุย หรือ สนามบินสมุย (Samui International Airport) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ของเกาะสมุย อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเกาะสมุย ประมาณ 23 กิโลเมตร ในพื้นที่ตำบลบ่อผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นท่าอากาศยานนานาชาติ ดำเนินการโดย บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) อีกทั้งยังเป็นท่าอากาศยานสำหรับนักท่องเที่ยว ที่มา เกาะพะงัน อีกด้วย โดยมีเที่ยวบินเข้าออกไปยังเมืองต่างๆมากม.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติสมุย · ท่าอากาศยานนานาชาติสมุยและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน
ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน (ฮังกึล: 인천국제공항, ฮันจา: 仁川國際空港) ตั้งอยู่ที่เกาะยางจอง เมืองอินช็อน ประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของโซล โดยรองรับการเป็นท่าอากาศยานหลักของเกาหลีใต้ และสายการบินแห่งชาติอย่างโคเรียนแอร์ รวมทั้งเอเชียน่าแอร์ไลน์ และคาร์โก360 แทนที่ท่าอากาศยานกิมโป (เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติกิโป) นับตั้งแต่ปี..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน · ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธี
ท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธี เป็นสนามบินหลักของเขตเมืองหลวงของเดลี ประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ที่ปาลาม ห่างจากตัวเมืองนิวเดลีทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เป็นระยะทาง ตั้งชื่อตามนางอินทิรา คานธี อดีตนายกรัฐมนตรีของอินเดีย ในปัจจุบันเป็นสนามบินหลัก และมีผู้โดยสารมากที่สุดของอินเดีย หลังจากการเปิดใช้อาคารผู้โดยสารแห่งใหม่ หรือ อาคาร 3 ท่าอากาศยานแห่งนี้จึงได้กลายเป็นสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียใต้ และเป็นศูนย์กลางการบินที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาค พร้อมศักยภาพในการขนส่งผู้โดยสารกว่า 46 ล้านคนต่อปี และมีเป้าหมายที่ 100 ล้านคนต่อปีภายในปีค.ศ. 2030 โดยเมื่อรวมกับท่าอากาศยานนานาชาติฉัตรปติ ศิวาชีที่มุมไบ จะสามารถขนส่งผู้โดยสารมากกว่าครึ่งหนึ่งของภูมิภาคเอเชียใต้ โดยมีบริษัท เดลี อินเตอร์แนชันนัล แอร์พอร์ต ไพรเวท จำกัด (Delhi International Airport Private Limited (DIAL)) เป็นผู้ดำเนินการ ซึ่งมีเป้าหมายและความมุ่งมั่นที่จะทำให้ท่าอากาศยานแห่งนี้เป็นฐานการบินนานาชาติ ในปีค.ศ. 2011 - ค.ศ. 2012 ท่าอากาศยานอินทิรา คานธี ได้รองรับผู้โดยสารเป็นจำนวนรวมทั้งสิ้น 35.88 ล้านคน และโครงการต่อเติมในอนาคตจะเพิ่มขีดศักยภาพให้สามารถรับได้ถึง 100 ล้านคนต่อปีในปีค.ศ. 2030 โดยมีอาคารผู้โดยสาร 3 ที่สามารถรองรับผู้โดยสารเพิ่มมากขึ้นถึง 34 ล้านคนต่อปีตั้งแต่การเปิดกีฬาคอมมอนเวลท์ (Commonwealth Game) ในปีค.ศ. 2010 ซึ่งอาคารผู้โดยสาร 3 นี้เคยได้ถูกบันทึกเป็นอาคารผู้โดยสารที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ของโลก ในเดือนกันยายน..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธี · ท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธีและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง
ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง (จีน: 香港國際機場, จีนกลาง: Xiānggǎng Guójì Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: hoeng1 gong2 gwok3 zai3 gei1 coeng4) หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินเช็กล้าบก็อก (จีน: 赤鱲角機場, จีนกลาง: Chìlièjiǎo Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: cek3 laap6 gok3 gei1 coeng4) เป็นท่าอากาศยานหลักของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน เปิดใช้เมื่อปีพ.ศ. 2541 แทนที่ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงเดิม ท่าอากาศยานแห่งนี้เปิดใช้งานเพื่อการพาณิชย์เมื่อปี พ.ศ. 2541 และเป็นจุดเปลี่ยนถ่ายผู้โดยสารที่สำคัญของสาธารณรัฐประชาชนจีน เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้ว่าจะมีประวัติความเป็นมาไม่ยาวนานนัก แต่ท่าอากาศยานแห่งนี้ก็ได้รับรางวัลท่าอากาศยานยอดเยี่ยมระดับนานาชาติมาหลายครั้งในช่วงปี..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง · ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี
ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี · ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดีและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ
ท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ (อาหรับ: مطار دبي الدولي) ตั้งอยู่ที่ดูไบ, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเอมิเรตส์แอร์ไลน.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ · ท่าอากาศยานนานาชาติดูไบและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ
ทางอากาศ หอควบคุมการบิน ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ตั้งอยู่เกาะที่มนุษย์สร้างขึ้นในอ่าวโอซะกะ นอกชายฝั่งเมืองเซ็นนังและเมืองอิซุมิซะโนะ จังหวัดโอซะกะ ญี่ปุ่น ออกแบบโดยสถาปนิก Renzo Piano เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2537 โดย ในระหว่างปีงบประมาณ 2015 (พ.ศ. 2558) ท่าอากาศยานแห่งนี้มีเที่ยวบินเข้าและออก 163,506 เที่ยว ในจำนวนนี้มี 72,251 เที่ยวเป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ และอีก 40,328 เที่ยวเป็นเที่ยวบินภายในประเทศ มีผู้โดยสารมาใช้บริการทั้งหมด 23,214,756 คน โดยเป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศ 16,250,323 คน และผู้โดยสารภายในประเทศ 5,289,063 คน.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ · ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติคิงส์ฟอร์ดสมิธ
ท่าอากาศยานนานาชาติซิดนีย์ คิงส์ฟอร์ด สมิธ (Sydney Kingsford Smith International Airport) หรือท่าอากาศยานซิดนีย์ ตั้งอยู่ที่เมืองซิดนีย์ ในรัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย ติดกับอ่าวโบตานี รองรับการเป็นท่าอากาศยานหลักของออสเตรเลีย และสายการบินควอนตัส ท่าอากาศยานซิดนีย์นับเป็นท่าอากาศยานที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกที่ยังเปิดให้บริการมาอย่างอย่างต่อเนื่อง และได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่อปัจจุบันเมื่อปี..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติคิงส์ฟอร์ดสมิธ · ท่าอากาศยานนานาชาติคิงส์ฟอร์ดสมิธและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโก
ท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโก (San Francisco International Airport) ตั้งอยู่ริมอ่าวซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ห่างจากตัวเมืองออกไปทางตอนใต้ประมาณ 21 กิโลเมตร (13 ไมล์) มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 2 ของแคลิฟอร์เนีย เป็นรองจากลอสแอนเจลิส ซานฟรานซิสโกยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และหากเป็นไปตามแผนที่จัดเตรียมไว้ ก็จะเป็นท่าอากาศยานหลักของเวอร์จิ้น อเมริกา ด้ว.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโก · ท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโกและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตา
ท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตา (Soekarno–Hatta International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของกรุงจาการ์ตาและปริมณฑล ตั้งอยู่ในจังหวัดบันเตินบนเกาะชวา ในขณะที่สนามบินอีกแห่งหนึ่งของจาการ์ตาคือ ท่าอากาศยานฮาลิมเปอร์ดานะกุสุมา ท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งชื่อตาม ประธานาธิบดีคนแรก ซูการ์โน และรองประธานาธิบดีคนแรก โมฮัมหมัด ฮัตตา บางครั้งชาวอินโดนีเซียก็เรียกสนามบินแห่งนี้ว่า สนามบินเช็งกาเร็ง ตามชื่อแขวงที่ตั้งท่าอากาศยาน.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตา · ท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตาและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง
ท่าอากาศยานนานาชาติเซี่ยงไฮ้ผู่ตง (จีนตัวย่อ: 上海浦东国际机场, จีน: 上海浦東國際機場, พินอิน: Shànghǎi Pǔdōng Guójì Jīchǎng) ตั้งอยู่ทางตะวันออกของผู่ตง ในเขตเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นประตูหลักสู่ประเทศจีน รองรับผู้โดยสารระหว่างประเทศกว่า 17 ล้านคน ในปี..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง · ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตงและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง
อาคารเทียบเครื่องบิน 3 ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นสนามบินระหว่างประเทศสนามบินหลักของกรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือห่างจากใจกลางเมืองประมาณ ในเขตฉาวหยาง และบางส่วนของ เขตซุ่นอี้ บริหารงานโดย บริษัทท่าอากาศยานปักกิ่งแคปิตอล ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ รหัสสนามบิน IATA ของปักกิ่งคือ PEK มาจากการถอดความชื่อของปักกิ่งเป็นอักษรโรมันแบบเดิม (Peking) ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ไชน่า สายการบินแห่งชาติของประเทศจีน ซึ่งมีเที่ยวบินจากที่นี่มากกว่า 120 เส้นทาง (ไม่รวมเที่ยวบินส่งสินค้า) ทั้งนี้ยังมี ไห่หนานแอร์ไลน์ และ ไชน่าเซาเทิร์นแอร์ไลน์ ที่ยึดสนามบินนี้เป็นสนามบินหลักอีกด้วย ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เพิ่มอาคารผู้โดยสารหลังที่ 3 ในปี..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง · ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่งและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล
ท่าอากาศยานปารีส-ชาร์ล เดอ โกล (Paris-Charles de Gaulle Airport; Aéroport Paris-Charles-de-Gaulle) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า ท่าอากาศยานรัวซี (Roissy) ตั้งอยู่ที่รัวซี กรุงปารีส ฝรั่งเศส อยู่ห่างจากตัวเมืองปารีสไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 25 กิโลเมตร นับเป็นประตูสำคัญในการเดินทางเข้าออกประเทศฝรั่งเศส นอกจากนี้ยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ฟรานซ์ด้วย ท่าอากาศยานแห่งนี้ ตั้งชื่อตามชาร์ล เดอ โกล วีรบุรุษ และผู้นำขบวนการปลดปล่อยฝรั่ง.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล · ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติปีนัง
ท่าอากาศยานนานาชาติปีนัง (Lapangan Terbang Antarabangsa Pulau Pinang) เดิมคือ ท่าอากาศยานนานาชาติบายันเลอปัซ ตั้งอยู่ที่เมืองบายันเลอปัซ รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซีย อยู่ห่างจากตัวเมืองจอร์จทาวน์ (เมืองหลวงของรัฐ) ไปทางใต้ประมาณ 16 กิโลเมตร (10 ไมล์) รองรับการจราจรทางอากาศของปีนังเพื่อเชื่อมต่อกับเมืองสำคัญต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของไฟร์ฟลาย ซึ่งเป็นสายการบินลูกของ Malaysia Airlines ทางวิ่งของท่าอากาศยานนานาชาติปีนังอยู่ในทิศทาง 04/22 ผิวราดด้วยแอสฟัลต์ มีความยาว 3,352 เมตร กว้าง 45.5 เมตร ภายในอาคารมีช่องตรวจบัตรโดยสาร 64 ช่อง ประตูขึ้นเครื่อง 11 ประตู เป็นแบบประชิดอาคารมีสะพานเทียบ 8 ประตู มีสายพานรับกระเป๋า 3 สายพาน และลานจอดรองรับรถยนต์ได้ 808 คัน ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังเป็นท่าอากศยานขนาดกลาง บริหารงานโดย Malaysia Airports Holdings Berhad (MAHB) ซึ่งเป็นบริษัทของกระทรวงคมนาคม มีเที่ยวบินเชื่อมโยงไปยังสนามบินหลักๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เนื่องด้วยขนาดที่กระทัดรัดของสนามบิน ทำให้ผู้โดยสารได้รับการบริการที่รวดเร็ว และมีสิ่งอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานอย่างครบครัน โดยมีเวลาขั้นต่ำในการต่อเครื่องบิน (minimum connection times) จากในประเทศไปต่างประเทศ (และในทางกลับกัน) 40 นาที และจากในประเทศไปในประเทศ 30 นาที ในปี 2007 ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังมีผู้โดยสารมาใช้บริการทั้งสิ้นกว่า 3.1 ล้านคน จำนวนเครื่องบินขึ้นลงทั้งหมด 39,265 ลำ รองรับสินค้าทางอากาศทั้งสิ้น 208,582 ตัน.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติปีนัง · ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ
ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ เป็นสนามบินนานาชาติ ตั้งอยู่ที่เมืองนาริตะ จังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น ดำเนินการโดย บริษัทท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ ซึ่งแปรสภาพมาจาก องค์การบริหารงานท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียวแห่งใหม่ ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นสนามบินหลักที่ให้บริการผู้โดยสารระหว่างประเทศที่เดินทางเข้าและออกจากประเทศญี่ปุ่น และเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางระหว่างทวีปเอเชียและอเมริกา เป็นสนามบินที่รองรับเที่ยวบินสำหรับผู้โดยสารมากอันดับ 2 ของญี่ปุ่น (รองจากสนามบินฮะเนะดะ) เป็นสนามบินที่รองรับการขนส่งทางอากาศเป็นอันดับ 1 ของญี่ปุ่นและอันดับ 3 ของโลก ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเจแปนแอร์ไลน์ สายการบินออล นิปปอน แอร์เวย์ และสายการบินนอร์ธเวสต์แอร์ไลน์ และยังเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ อีกด้วย ท่าอากาศยานานาชาตินาริตะ เคยใช้ชื่อว่า New Tokyo International Airport (新東京国際空港 Shin-Tōkyō Kokusai Kūkō) จนกระทั่งปี..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ · ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงก์เฟิร์ต
ท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงก์เฟิร์ต (เยอรมัน: Rhein-Main-Flughafen หรือ Flughafen Frankfurt am Main, อังกฤษ: Frankfurt Airport) ตั้งอยู่ที่แฟรงก์เฟิร์ต เยอรมนี เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของเยอรมนี และใหญ่เป็นอันดับ 3 ของยุโรป แฟรงก์เฟิร์ตเป็นท่าอากาศยานหลักของลุฟต์ฮันซา สายการบินแห่งชาติเยอรมนี แต่ลุฟต์ฮันซาต้องแบ่งการให้บริการไปยังท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิกบางส่วน เนื่องจากความสามารถในการรองรับที่จำกัดของแฟรงก์เฟิร์ต.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงก์เฟิร์ต · ท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงก์เฟิร์ตและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย
ท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย (Sân bay Quốc tế Nội Bài) เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนามตอนเหนือ ให้บริการสำหรับบริเวณเมืองหลวงฮานอย ตั้งอยู่ห่างจากใจกลางเมือง 45 กิโลเมตร การเดินทางจากเมืองโดยรถแท็กซี่ใช้เวลา 30-45 นาที.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย · ท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่ายและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว
อาคาร 1 อาคาร 2 อาคารระหว่างประเทศ ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว หรือรู้จักกันโดยทั่วไปว่า ท่าอากาศยานฮะเนะดะ ตั้งอยู่ที่เมืองโอตะ กรุงโตเกียว ญี่ปุ่น รองรับการบริการกรุงโตเกียว ในปี..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว · ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียวและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติไคโร
ท่าอากาศยานนานาชาติไคโร (อาหรับ: مطار القاهرة الدولي) ตั้งอยู่ที่กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 15 กิโลเมตร เป็นประตูสำคัญในการเข้าออกอียิปต์ และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของอียิปต์แอร์ ไคโรเป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 2 ของทวีปแอฟริกา เป็นรองจากท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ ที่เมืองโจฮันเนสเบิร์ก.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติไคโร · ท่าอากาศยานนานาชาติไคโรและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐ
ท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐ-อังกอร์ (អាកាសយានដ្ឋានអន្តរជាតិសៀមរាបអង្គរ; อากาสยานฐานอนฺตรชาติเสียมราบองฺคร; Siem Reap International Airport, Aéroport International De Siem Reap) คือสนามบินที่ตั้งอยู่ในจังหวัดเสียมราฐ มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศกัมพู.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐ · ท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต
ท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต (Cảng hàng không quốc tế Tân Sơn Nhất) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนาม ตั้งอยู่ในโฮจิมินห์ซิตี.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต · ท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ตและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานเชียงใหม่
มุมสูงของท่าอากาศยานเชียงใหม่ มองจากวัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร ภายในอาคารท่าอากาศยานเชียงใหม่ Boeing 737-800 ของสายการบินนกแอร์ ที่สนามบินเชียงใหม่ Airbus A319 ของสายการบินบางกอกแอร์เวย์ ที่สนามบินเชียงใหม่ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ หรือสนามบินเชียงใหม่ (Chiang Mai International Airport) ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ 4 กิโลเมตร ในตำบลสุเทพ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นท่าอากาศยานนานาชาติ 1 ในจำนวนทั้งหมด 6 แห่ง ที่ดำเนินงานโดยบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) เป็นศูนย์กลางทางการบินของภาคเหนือ โดยมีเที่ยวบินเข้าออกหนาแน่นเป็นลำดับสี่ รองจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง และท่าอากาศยานภูเก็ต.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานเชียงใหม่ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและท่าอากาศยานเชียงใหม่ ·
ท่าอากาศยานเมลเบิร์น
ท่าอากาศยานเมลเบิร์น หรือ ท่าอากาศยานทัลลามารีน ตั้งอยู่ที่เมืองทัลลามารีน ในรัฐวิกตอเรีย ประเทศออสเตรเลีย เป็นท่าอากาศยานหลักอันดับสองของออสเตรเลีย เป็นรองจากท่าอากาศยานนานาชาติคิงส์ฟอร์ดสมิธ และยังเป็นฐานบริการของควอนตัส และสายการบินลูกอย่างเจ็ตสตาร์แอร์เวย์ รวมถึงไทเกอร์แอร์เวย์ออสเตรเลียซึ่งจะเริ่มเปิดฐานบริการที่เมลเบิร์นในช่วงปลายปี..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานเมลเบิร์น · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและท่าอากาศยานเมลเบิร์น ·
ท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน
ท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน (Aeroporto Leonardo da Vinci di Fiumicino) หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ ท่าอากาศยานฟีอูมีชีโน เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในอิตาลี ด้วยจำนวนผู้โดยสาร 35,226,351 คนใน พ.ศ. 2551 ตั้งอยู่ในเมืองฟีอูมีชีโน ห่างจากศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ของโรม 35 กิโลเมตร นอกจากนี้ ยังเป็นท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารคับคั่งมากเป็นอันดับที่ 27 ของโลกใน พ.ศ. 2552 และเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินอัลอิตาเลีย ชื่อของท่าอากาศยานชื่อของเลโอนาร์โด ดา วินชี ผู้เชี่ยวชาญหลากหลายสาขาวิชาชาวอิตาลี ผู้ออกแบบต้นแบบของเฮลิคอปเตอร์และเครื่องจักรมีปีกบินได้เป็นคนแรกของโลก.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน ·
คอนกรีต
การเทคอนกรีต สำหรับหล่อพื้น คอนกรีต (คอน-กรีด) (Concrete ในภาษาอังกฤษอ่านว่า คอนครีท) เป็นวัสดุผสมที่นิยมใช้ในงานก่อสร้างประกอบด้วย 3 ส่วนหลักคือ ปูนซีเมนต์ วัสดุผสม (เช่น หิน ทราย หรือ กรวด) และ น้ำ โดยอาจจะมีสารเคมีเติมเพิ่มเข้าไปสำหรับคุณสมบัติด้านอื่น เมื่อผสมเสร็จคอนกรีตจะแข็งตัวอย่างช้าๆ ซึ่งน้ำและซีเมนต์จะทำปฏิกิริยาทางเคมีกันในลักษณะที่เรียกว่าการไฮเดรชัน โดยซีเมนต์จะเริ่มจับตัวกับวัสดุอื่นและแข็งตัว ซึ่งในสถานะนี้จะนิยมเรียกกันว่าคอนกรีต ความแข็งแรงของคอนกรีตจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆหลังจากที่ผสม และยังแข็งแรงขึ้นภายหลังจากการแข็งตัว โดยประมาณหลังจากแข็งตัวแล้ว 28 วัน ความแข็งแรงจะเริ่มคงที่ คอนกรีตมีใช้กันในงานก่อสร้างหลายชนิด ซึ่งรวมถึง อาคาร ถนน เขื่อน สะพาน อนุสาวรีย์ และงานก่อสร้างต่างๆ ซึ่งมีเห็นได้ทั่วไป คุณสมบัติหลักของคอนกรีตคือการรับแรงอัดสูง ในขณะที่สามารถรับแรงดึงได้ต่ำ (ประมาณ 10% ของแรงอัด) โดยเมื่อต้องการให้คอนกรีตสามารถรับแรงดึง จะมีการเสริมวัสดุอื่นเพิ่มเข้าไปในคอนกรีตโดยจะเรียกว่า คอนกรีตเสริมแรง หรือคอนกรีตเสริมเหล็กที่เรียกกัน (โดยเสริมแรงด้วยเหล็ก) วัสดุเหล่านี้จะช่วยรับแรงดึงภายในคอนกรีต ซึ่งงานโครงสร้างอาคารส่วนใหญ่นิยมใช้คอนกรีตเสริมแรงแทนที่คอนกรีตเปลือย นอกจากนี้ในงานก่อสร้างยังมีการใช้วิธีการที่เรียกว่า คอนกรีตอัดแรง โดยทำการใส่แรงเข้าไปในคอนกรีตหล่อสำเร็จที่หล่อมาจากโรงงาน โดยเมื่อนำไปใช้งาน แรงที่ใส่เข้าไปในคอนกรีตจะหักล้างกับน้ำหนักของตัวคอนกรีตเองและน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นมา ซึ่งวิธีการนี้จะทำให้คอนกรีตสามารถรับน้ำหนักได้เพิ่มมากขึ้น โดยงานสะพานและทางยกระดับ นิยมใช้คอนกรีตอัดแรง มนุษย์เริ่มใช้คอนกรีตในการก่อสร้างตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ ในอดีต ชาวกรีกและชาวโรมันใช้คอนกรีตในการก่อสร้างป้อมปราการทางการทหารและสถานที่สำคัญต่างๆมากม.
คอนกรีตและท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน · คอนกรีตและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
แอร์ฟรานซ์
แอร์ฟรานซ์ (Air France) (Compagnie Nationale Air France) เป็นสายการบินหนึ่งของแอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม (Air France-KLM) แอร์ฟรานซ์เป็นสายการบินประจำชาติของฝรั่งเศส ปัจจุบันได้เข้าร่วมกิจการกับสายการบินเคแอลเอ็ม (KLM) สายการบินประจำชาติของเนเธอร์แลนด์ โดยใช้ชื่อว่า "แอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม" และแอร์ฟรานซ์เป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งของเครือข่ายพันธมิตรสายการบินสกายทีม.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและแอร์ฟรานซ์ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและแอร์ฟรานซ์ ·
แอร์ไชนา
แอร์ไชนา (อังกฤษ: Air China, จีนตัวย่อ: 中国国际航空公司, พินอิน: Zhōngguó Guójì Hángkōng Gōngsī) เป็นสายการบินแห่งชาติของสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นรัฐวิสาหกิจในรัฐบาล และเป็นสายการบินใหญ่อันดับสองของจีนรองจากสายการบินไชนาเซาต์เทิร์นแอร์ไลน์ มีขนาดฝูงบินเป็นอันดับที่ 18 ของโลก มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง, ท่าอากาศยานนานาชาติเฉิงตูซวงหลิว, และท่าอากาศยานนานาชาติเซี่ยงไฮ้ผู่ตง เป็นหนึ่งในพันธมิตรสายการบินสตาร์อัลไลแอนซ.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและแอร์ไชนา · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและแอร์ไชนา ·
แอร์เอเชีย
การบินแอร์เอเชีย เป็นสายการบินต้นทุนต่ำที่ก่อตั้งขึ้นในประเทศมาเลเซีย และเป็นสายการบินที่ให้บริการด้วยค่าโดยสารที่ถูกที่สุดในเอเชีย กลุ่มแอร์เอเชีย ดำเนินการให้บริการเที่ยวบินทั่งในประเทศ และ ระหว่างประเทศ โดยมีจุดหมายปลายทางมากกว่า 400 เมืองใน 25 ประเทศ และมีท่าอากาศยานหลักคือ ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ โดยให้บริการที่อาคารผู้โดยสาร อาคาร KLIA2 และยังมี สายการบินไทยแอร์เอเชีย, สายการบินอินโดนีเซียแอร์เอเชีย เข้ามาใช้บริการร่วมด้วย แอร์เอเชียมาเลเซีย มีสำนักงานจดทะเบียนตั้งอยู่ที่เปอตาลิงจายา, รัฐเซอลาโงร์ ประเทศมาเลเซีย และมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ แอร์เอเชียมีแผนจะเปิดสำนักงานใหญ่ประจำภูมิภาคอาเซียนในจาการ์ตา ในปี..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและแอร์เอเชีย · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและแอร์เอเชีย ·
โคเรียนแอร์
รียนแอร์ (ฮันกึล: 대한항공, ฮันจา: 大韓航空) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศเกาหลีใต้ และเป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุด มีสำนักงานใหญ่ที่โซล มีฐานบินหลักที่ท่าอากาศยานนานาชาติอินชอนและท่าอากาศยานกิมโป นอกจากนี้ยังมีท่าอากาศยานรองอีก คือ ท่าอากาศยานนานาชาติเชจู และท่าอากาศยานนานาชาติกิมแฮ เมืองปูซาน เป็นหนึ่งในพันธมิตรสายการบินสกายทีม แต่เดิมสายการบิน โคเรียนแอร์ นั้นก่อตั้งขึ้นโดยรัฐบาลเกาหลีใต้ในปี 1962 ต่อมาในเดือนมีนาคม ปี1969 กลุ่มบริษัท ฮันจินอินดัสตรีกรุ๊ป (Hanjin Transport Group) ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มแชโบล ที่ก่อตั้งโดยนาย โช ชุง-ฮุน บิดาของนาย โช ยัง-โฮ เข้าถือหุ้นใหญ่และเป็นผู้บริหารสายการบินโคเรียนแอร์ นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นม.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและโคเรียนแอร์ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและโคเรียนแอร์ ·
ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์
China Eastern Airlines and Shanghai Airlines headquarters ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ เป็นสายการบินที่ให้บริการทั้งเส้นทางภายในประเทศ และเส้นทางระหว่างประเทศ โดยมีฐานการบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง และท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่หงเฉียว และยังมีฐานการบินที่ท่าอากาศยานนานาชาติคุนหมิงอูเจียป้า และท่าอากาศยานนานาชาติซีอานเสียนหยาง ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ เป็นสายการบินที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของจีน เมื่อนับจากจำนวนผู้โดยสาร และเมื่อวันที่ 16 เมษายน..2010 ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ได้ประกาศตัวเข้าเป็นสามชิกของกลุ่มสกายทีม.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ ·
ไชนาแอร์ไลน์
CAL Park, China Airlines headquarters The former China Airlines headquarters in Taipei ไชน่าแอร์ไลน์ เป็นสายการบินแห่งชาติของสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถาหยวน และมีสำนักงานใหญ่ที่เขตต้าหยวน เทศมณฑลเถาหยวน ให้บริการจุดหมายปลายทางทั้งในทวีปเอเชีย ยุโรป อเมริกาเหนือ และโอเชียเนีย โดยเฉพาะการเปิดเส้นทางระหว่างไต้หวันกับจีนแผ่นดินใหญ่ซึ่งเริ่มให้บริการเมื่อเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2551 จุดหมายที่สำคัญคือเมืองเซี่ยงไฮ้ กวางโจว ปักกิ่ง และฮ่องกง คู่แข่งที่สำคัญของไชนาแอร์ไลน์ คือสายการบินอีวาแอร์ซึ่งเป็นสายการบินเอกชนของไต้หวัน ในเครื่อเอเวอร์กรีน.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและไชนาแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและไชนาแอร์ไลน์ ·
ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์
China Southern head office ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ เป็นสายการบินหนึ่งในสามสายการบินหลักสัญชาติจีน สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ เขตไป่หยวน เมืองกว่างโจว มณฑลกวางตุ้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นสายการบินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลกในจำนวนผู้โดยสาร เป็นสายการบินที่มีขนาดฝูงบินใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชีย, และอันดับ 4 ของโลกในจำนวนผู้โดยสารเดินทางภายในประเทศ มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป้หยวน และท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง กับ 121 จุดหมายปลายทาง ปัจจุบันเข้าร่วมกลุ่มพันธมิตรทางการบินสกายทีม ในปี..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ ·
ไทยแอร์เอเชีย
ทยแอร์เอเชีย (IATA: FD, ICAO: AIQ, Callsign: THAI ASIA) ด้วยสโลแกนหลัก ใคร ใคร...ก็บินได้ (Now Everyone Can Fly) เป็นแรงจูงใจและกระตุ้นให้ผู้โดยสารที่ไม่เคยเดินทางโดยเครื่องบิน ได้เดินทางด้วยราคาที่เหมาะสม ซึ่งรูปแบบการนำเสนอคือ การเดินทางแบบเรียบง่าย การเดินทางในระยะสั้นตั๋วค่าโดยสารไม่ถูกบวกเพิ่มด้วยอาหาร และเครื่องดื่ม สายการบินไทยแอร์เอเชีย มีความโดดเด่น เนื่องจากเป็นสายการบินที่มีราคาเหมาะสม จากต้นทุนได้ถูกควบคุมในทุกวิธีการ อีกทั้งวัฒนธรรมทางองค์กรที่มีการบริหารงานอย่างมืออาชีพ ทำให้สายการบินไทยแอร์เอเชีย เติบโตได้อย่างรวดเร็วมากภายในระยะเวลาไม่กี่ปี สายการบินไทยแอร์เอเชีย มีความแปลกใหม่ และเน้นการใช้เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างมาก โดยลดต้นทุนจากการใช้งานบุคลากรให้ใช้งานผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งมีความสะดวกรวดเร็วมากกว่า พร้อมทั้งจ่ายด้วยบัตรเครดิตได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย โดยการจองที่นั่งผ่านทางระบบออนไลน์ ไทยแอร์เอเชียยังเป็นสายการบินผู้ให้การสนับสนุนคณะกรรมการผู้ตัดสินฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก 2012 อย่างเป็นทางการ และ ทีมฟุตบอลต่างๆ ที่สังกัดสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยอีกด้ว.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและไทยแอร์เอเชีย · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและไทยแอร์เอเชีย ·
ไทเกอร์แอร์
ทเกอร์แอร์ (Tigerair) หรือชื่อเดิมคือ ไทเกอร์ แอร์เวย์ (Tiger Airways) คือสายการบินราคาประหยัดที่มีฐานการบินอยู่ที่ประเทศสิงคโปร์"." Civil Aviation Authority of Singapore.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและไทเกอร์แอร์ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและไทเกอร์แอร์ ·
เวียดนามแอร์ไลน์
แอร์บัส เอ 321 ของเวียดนาม แอร์ไลน์ เวียดนาม แอร์ไลน์ (เวียดนาม: Tổng công ty Hàng không Quốc gia Việt Nam) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศเวียดนาม เดิมเป็นหน่วยงานของรัฐ ก่อนที่จะแปรรูปกิจการมาเป็นเวียดนาม แอร์ไลน์ คอร์ปอเรชั่น ในปี..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและเวียดนามแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและเวียดนามแอร์ไลน์ ·
เอมิเรตส์แอร์ไลน์
แอร์บัส เอ 380 F-WWDD โดยใช้ลายเครื่องของเอมิเรตส์ ในงานดูไบแอร์โชว์ เมื่อพ.ศ. 2548 เอมิเรตส์แอร์ไลน์ (อาหรับ: طيران الإمارات) เป็นสายการบินของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ให้บริการไปยัง 87 จุดหมายปลายทางใน 59 ประเทศทั่วโลก และยังให้บริการขนส่งสินค้าภายใต้ชื่อเอมิเรตส์ สกายคาร์โก โดยให้บริการหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติดู.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและเอมิเรตส์แอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและเอมิเรตส์แอร์ไลน์ ·
เอเชียน่าแอร์ไลน์
อเชียนาแอร์ไลน์ (Asiana Airlines) เป็นสายการบินที่มีฐานอยู่ที่โซล สาธารณรัฐเกาหลี และเป็นหนึ่งในสองสายการบินหลักของเกาหลีใต้ เอเชียนาแอร์ไลน์เป็นสมาชิกของ Star Alliance และให้บริการเส้นทางการบินไปยังจุดหมายปลายทางภายในประเทศ 12 แห่ง และระหว่างประเทศ 73 แห่งใน 17 ประเทศ สำนักงานใหญ่และศูนย์กลางระหว่างประเทศของเอเชียนาแอร์ไลน์ตั้งอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติอินชอน (ใกล้กับโซล) ขณะที่ศูนย์กลางภายในประเทศตั้งอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติกิมโป.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและเอเชียน่าแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและเอเชียน่าแอร์ไลน์ ·
เจแปนแอร์ไลน์
แปนแอร์ไลน์ (Japan Airlines) หรือ บริษัท สายการบินญี่ปุ่น มหาชนจำกัด หรือ เจเอแอล (JAL) เป็นสายการบินที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศญี่ปุ่นรองจากสายการบินออล นิปปอน แอร์เวย์ มีศูนย์การบินอยู่สองแห่งในโตเกียวคือท่าอากาศยานนานาชาตินะริตะกับท่าอากาศยานนานาชาติฮะเนะดะ และอีกสองแห่งในจังหวัดโอซะกะคือท่าอากาศยานนานาชาติคันไซและท่าอากาศยานนานาชาติอิตะมิ ปัจจุบันมีเส้นทางบินระหว่างประเทศ 33 จุดหมายในทวีปเอเชีย, อเมริกา, ยุโรป และโอเชียเนีย และมีเส้นทางบินในประเทศ 59 จุดหมาย สายการบินก่อตั้งในรูปแบบบริษัทเอกชนเมื่อ 1 สิงหาคม..
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและเจแปนแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและเจแปนแอร์ไลน์ ·
เตอร์กิชแอร์ไลน์
ำนักงานใหญ่ของเตอร์กิชแอร์ไลน์ เตอร์กิชแอร์ไลน์ (Türk Hava Yolları; Turkish Airlines) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศตุรกี ก่อตั้งในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1933 ให้บริการภายในประเทศ 50 เส้นทาง และในต่างประเทศ 242 เส้นทาง ทั้งในทวีปยุโรป เอเชีย แอฟริกา และอเมริกา ใน ค.ศ. 2017 มีผู้ใช้บริการกว่า ล้านคน สายการบินนี้ให้บริการทั้งชั้นธุรกิจและชั้นประหยัด ได้รับรางวัล "สายการบินที่ดีที่สุดในยุโรป" 6 ปีซ้อนจากสกายแทร็กซ์ และเป็นหนึ่งในสมาชิกของพันธมิตรในกลุ่มสตาร์ อัลไลแอนซ.
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและเตอร์กิชแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและเตอร์กิชแอร์ไลน์ ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี
การเปรียบเทียบระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน มี 80 ความสัมพันธ์ขณะที่ ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี มี 119 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 56, ดัชนี Jaccard คือ 28.14% = 56 / (80 + 119)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: