โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธี

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน vs. ท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธี

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน (Guangzhou Baiyun International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของนครกว่างโจว เมืองเอกของมณฑลกวางตุ้งในประเทศจีน จากสถิติในปี 2014 สนามบินแห่งนี้มีปริมาณผู้โดยสารมากสุดเป็นอันดับสองของจีนรองจากท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง และเป็นอันดับ 16 ของโลก สนามบินแห่งนี้ตั้งอยู่ในอำเภอไป๋-ยฺหวินและอำเภอฮฺวาตูของนครกว่างโจว เปิดทำการเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2004 เพื่อทดแทนสนามบินแห่งเก่าที่มีอายุกว่า 72 ปี ซึ่งในปัจจุบันได้ปิดใช้งานแล้ว สนามบินแห่งใหม่นี้สร้างขึ้นด้วยงบประมาณกว่า 1.98 หมื่นล้านหยวน มีที่ตั้งห่างจากตัวเมืองกว่างโจวไปทางเหนือราว 27 กิโลเมตร และมีขนาดใหญ่กว่าสนามบินเดิมถึงเกือบห้าเท่า คำว่า "ไป๋-ยฺหวิน" (白云) นั้นเป็นชื่อของภูเขาที่อยู่ใกล้เคียงสนามบินแห่งเก่า (ไป๋-ยฺหวินชาน) มีความหมายว่า "เมฆขาว" นอกจากนี้ สนามบินแห่งใหม่ยังอยู่ใกล้ตัวเมืองมากกว่าสนามบินแห่งเก่า สนามบินแห่งนี้มีศักยภาพในการรองรับผู้โดยสารได้ 45 ล้านคนต่อปี แต่ในปัจจุบันจำนวนผู้โดยสารก็มากเกินศักยภาพ ขณะนี้มีโครงการขยายสนามบินซึ่งรวมถึงอาคารผู้โดยสารหลังใหม่ขนาด 531,000 ตารางเมตรที่มีขนาดเท่ากับอาคารผู้โดยสารในปัจจุบันกำลังดำเนินการอยู่ คาดว่าจะก่อสร้างเสร็จภายในปี 2018 ซึ่งจะทำให้สนามบินมีศักยภาพในการรองรับผู้โดยสารได้ 80 ล้านคน และปริมาณสินค้า 25 ล้านตันต่อปี. ท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธี เป็นสนามบินหลักของเขตเมืองหลวงของเดลี ประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ที่ปาลาม ห่างจากตัวเมืองนิวเดลีทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เป็นระยะทาง ตั้งชื่อตามนางอินทิรา คานธี อดีตนายกรัฐมนตรีของอินเดีย ในปัจจุบันเป็นสนามบินหลัก และมีผู้โดยสารมากที่สุดของอินเดีย หลังจากการเปิดใช้อาคารผู้โดยสารแห่งใหม่ หรือ อาคาร 3 ท่าอากาศยานแห่งนี้จึงได้กลายเป็นสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียใต้ และเป็นศูนย์กลางการบินที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาค พร้อมศักยภาพในการขนส่งผู้โดยสารกว่า 46 ล้านคนต่อปี และมีเป้าหมายที่ 100 ล้านคนต่อปีภายในปีค.ศ. 2030 โดยเมื่อรวมกับท่าอากาศยานนานาชาติฉัตรปติ ศิวาชีที่มุมไบ จะสามารถขนส่งผู้โดยสารมากกว่าครึ่งหนึ่งของภูมิภาคเอเชียใต้ โดยมีบริษัท เดลี อินเตอร์แนชันนัล แอร์พอร์ต ไพรเวท จำกัด (Delhi International Airport Private Limited (DIAL)) เป็นผู้ดำเนินการ ซึ่งมีเป้าหมายและความมุ่งมั่นที่จะทำให้ท่าอากาศยานแห่งนี้เป็นฐานการบินนานาชาติ ในปีค.ศ. 2011 - ค.ศ. 2012 ท่าอากาศยานอินทิรา คานธี ได้รองรับผู้โดยสารเป็นจำนวนรวมทั้งสิ้น 35.88 ล้านคน และโครงการต่อเติมในอนาคตจะเพิ่มขีดศักยภาพให้สามารถรับได้ถึง 100 ล้านคนต่อปีในปีค.ศ. 2030 โดยมีอาคารผู้โดยสาร 3 ที่สามารถรองรับผู้โดยสารเพิ่มมากขึ้นถึง 34 ล้านคนต่อปีตั้งแต่การเปิดกีฬาคอมมอนเวลท์ (Commonwealth Game) ในปีค.ศ. 2010 ซึ่งอาคารผู้โดยสาร 3 นี้เคยได้ถูกบันทึกเป็นอาคารผู้โดยสารที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ของโลก ในเดือนกันยายน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธี

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธี มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธี

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน มี 80 ความสัมพันธ์ขณะที่ ท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธี มี 14 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (80 + 14)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »