ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี มี 37 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2553การบินไทยยางมะตอยอินโดนีเซียแอร์เอเชียท่าอากาศยานภูเก็ตท่าอากาศยานสุวรรณภูมิท่าอากาศยานหาดใหญ่ท่าอากาศยานนานาชาติพนมเปญท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้งท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงท่าอากาศยานนานาชาติดานังท่าอากาศยานนานาชาติคันไซท่าอากาศยานนานาชาติคูเวตท่าอากาศยานนานาชาติงูระห์ไรท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตาท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตงท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลท่าอากาศยานนานาชาติปีนังท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่ายท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียนท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต...ท่าอากาศยานเชียงใหม่ประเทศมาเลเซียประเทศสิงคโปร์ประเทศอินโดนีเซียแอร์เอเชียโบอิง 747ไทยแอร์เอเชีย ขยายดัชนี (7 มากกว่า) »
พ.ศ. 2549
ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและพ.ศ. 2549 · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและพ.ศ. 2549 ·
พ.ศ. 2550
ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและพ.ศ. 2550 · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและพ.ศ. 2550 ·
พ.ศ. 2553
ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและพ.ศ. 2553 · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและพ.ศ. 2553 ·
การบินไทย
ริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (Thai Airways International Public Company Limited; ชื่อย่อ: ไทย, THAI) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ทำหน้าที่ดำเนินธุรกิจการบินพาณิชย์ ในฐานะสายการบินแห่งชาติของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503 จากเว็บไซต์การบินไทย โดยปฏิบัติการบินจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นหลัก ทั้งนี้ การบินไทยยังได้ร่วมก่อตั้งกลุ่มพันธมิตรการบิน สตาร์อัลไลแอนซ์ เคยเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในสายการบินนกแอร์ และเปิดตัวสายการบินลูก ไทยสมายล์ อีกด้วย ปัจจุบัน(มิถุนายน พ.ศ. 2561) การบินไทยบิน 64 สนามบินรวมต่างประเทศและในประเทศ แบ่งเป็นต่างประเทศ 60 สนามบิน ในประเทศไทย 4 สนามบินไม่รวมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทั้งหมด 3 ทวีป 32 ประเทศทั่วโลกไม่รวมประเทศไทย จากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ด้วยฝูงบินกว่า 84 ลำ การบินไทยเป็นสายการบินลำดับต้นในเอเชีย ที่ทำการบินในเส้นทางกรุงเทพ ลอนดอน (ท่าอากาศยานฮีทโธรว์) นอกจากนี้ การบินไทยได้รับรางวัลยอดเยี่ยมจากองค์การอนามัยโลกว่าด้วยสุขอนามัยบนเครื่องบินอีกด้ว.
การบินไทยและท่าอากาศยานดอนเมือง · การบินไทยและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ยางมะตอย
งมะตอย โรงงานยางมะตอยสำหรับการทำยางมะตอย ถนนลาดยาง มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ได้ทดลองระดับลดลงการแสดงให้เห็นความหนืดของยางมะตอย ยางมะตอยเป็นวัสดุที่สกัดจากน้ำมันดิบ มีสีดำ มีลักษณะเหนียวและความหนืดต่ำ ยางมะตอยนิยมมาใช้ในงานก่อสร้างถนน โดยใช้เป็นวัสดุผิวหน้า ซึ่งคุณสมบัติที่สำคัญของยางมะตอยทำหน้าที่ประสานระหว่างวัสดุเติมเช่นหินและทราย เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน โดยวัสดุที่นำมาใช้ในการเทผิวหน้าถนนจะเรียกชื่อเต็มว่า แอสฟอลต์คอนกรีต (asphalt concrete) และมักย่อว่า แอสฟอลต์ ภาษาอังกฤษเรียกยางมะตอยว่า แอสฟอลต์ (อเมริกัน) หรือ แอสแฟลต์ (บริเตน) (asphalt) ซึ่งมาจากภาษากรีกคำว่า άσφαλτος (asphaltos) ส่วนภูมิภาคอื่นอาจเรียกว่า ไบทูเมน, ไบทิวเมน, บิทูเมน, บิชูเมน (bitumen).
ท่าอากาศยานดอนเมืองและยางมะตอย · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและยางมะตอย ·
อินโดนีเซียแอร์เอเชีย
An Indonesia AirAsia Boeing 737-300 taxies at Ngurah Rai International Airport อินโดนีเซียแอร์เอเชีย (Indonesia AirAsia) เป็นสายการบินต้นทุนต่ำ ที่อยู่ในประเทศอินโดนีเซีย ให้บริการเที่ยวบินในประเทศอินโดนีเซีย และ ระหว่างประเทศ โดยมีฐานบินหลักอยู่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาติ ซูการ์โนฮัตตา จาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย ณ วันที่ 15 เมษายน 2552 เที่ยวบินภายในประเทศทั้งหมด ของอินโดนีเซียแอร์เอเชียจาก ท่าอากาศยานนานาชาติ ซูการ์โนฮัตตา จาการ์ตาได้เริ่มปฏิบัติการจาก อาคารเทอร์มินอล 3 แต่เที่ยวบินระหว่าประเทศยังคงปฏิบัติการจาก อาคารเทอร์มินอล 2D ก่อนที่จะย้ายไปอาคารเทอร์มินอล 3 ในเวลาต่อมา อินโดนีเซียแอร์เอเชียได้รับการจัดอันดับจากการบินพลเรือนของอินโดนีเซียให้อยู่ในอันดับที่ 1 ทางด้านความปลอดภัยของอากาศยานและสายการบิน และ ยังครองส่วนแบ่งการตลาดภายในประเทศ มากถึงร้อยละ 41.50.ด้ว.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและอินโดนีเซียแอร์เอเชีย · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและอินโดนีเซียแอร์เอเชีย ·
ท่าอากาศยานภูเก็ต
ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต หรือ สนามบินภูเก็ต เป็นสนามบินตั้งอยู่ที่ เหนือสุดของเกาะภูเก็ตเป็นท่าอากาศยานที่มีเที่ยวบินหนาแน่นเป็นอันดับที่สามของประเทศ รองจากท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง มีเที่ยวบินทั้งในและต่างประเทศ บินมาลงทุกวัน ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีมาตรฐานทั้งในด้านการท่องเที่ยว เศรษฐกิจ ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต ตั้งอยู่เลขที่ 222 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4026 ตำบลไม้ขาว อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ห่างจากตัวเมืองภูเก็ตประมาณ 32 กิโลเมตร เนื้อที่โดยประมาณ 94,800 ตารางเมตร แท๊กซี่เวย์ 8 จุด ทิศเหนือเป็นภูเขา ทิศใต้เป็นสวนยางพารา ทิศตะวันตกเป็นชายฝั่งทะเลอันดามัน สามารถรองรับผู้โดยสารได้ 6,500,000 คนต่อปี โดยในปี..
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานภูเก็ต · ท่าอากาศยานภูเก็ตและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก (132.2 เมตร) และอาคารผู้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก (563,000 ตารางเมตร) ปัจจุบันเป็น หนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลกและใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 109 สายการบิน ซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) Suvarnabhumi Airport.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ·
ท่าอากาศยานหาดใหญ่
ท่าอากาศยานนานาชาติหาดใหญ่ หรือ สนามบินหาดใหญ่ (IATA: HDY, ICAO: VTSS) ตั้งอยู่ที่ 99 หมู่ 3 ถนนสนามบินพาณิชย์ ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา 90110 บริหารงานโดยบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาขน) โดยมีผู้อำนวยการท่าอากาศยานหาดใหญ่ดูแล เป็นท่าอากาศยานที่สำคัญ เนื่องจากเป็นประตูสำหรับชาวมุสลิมที่ต้องการไปแสวงบุญที่นครมักกะฮ์ ประเทศซาอุดีอาระเบีย ท่าอากาศยานหาดใหญ่มีเที่ยวบินมากเป็นอันดับ 6 ของประเทศ รองจาก ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานเชียงใหม่ และ ท่าอากาศยานกระบี่ ตามลำดับ ปัจจุบันมีผู้โดยสารประมาณ 4,869,113 คน เที่ยวบิน 9,203 เที่ยวบินและสินค้าประมาณ 12,965 ตันใช้บริการท่าอากาศยานแห่งนี้ ทั้งนี้ท่าอากาศยานนานาชาติหาดใหญ่ มีความสามารถในการรองรับเที่ยวบินได้ 42 เที่ยวบิน/ชม.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานหาดใหญ่ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและท่าอากาศยานหาดใหญ่ ·
ท่าอากาศยานนานาชาติพนมเปญ
ท่าอากาศยานนานาชาติพนมเปญ (អាកាសយានដ្ឋានអន្តរជាតិភ្នំពេញ; อากาสยานฐานอนฺตรชาติภนุมฺเพญ, Phnom Penh International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของกัมพูชา ตั้งอยู่ห่างจากใจกลางกรุงพนมเปญไปทางตะวันตก 7 กิโลเมตร มีชื่อเดิมว่า "ท่าอากาศยานนานาชาติโปเชนตง" (អាកាសយានដ្ឋានអន្តរជាតិពោធិ៏ចិនតុង; อากาสยานฐานอนฺตรชาติโพธิ์จินตุง, Pochentong International Airport) เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม..
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติพนมเปญ · ท่าอากาศยานนานาชาติพนมเปญและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่
ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่ หรือ สนามบินกระบี่ (Krabi International Airport) ตั้งอยู่ริมถนนเพชรเกษม ตำบลเหนือคลอง อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ ตั้งอยู่ระหว่างอำเภอเมืองกระบี่กับอำเภอเหนือคลอง ไปทางจังหวัดตรัง เป็นท่าอากาศยานในสังกัดกรมท่าอากาศยาน กระทรวงคมนาคม.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่ · ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่และท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน (Guangzhou Baiyun International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของนครกว่างโจว เมืองเอกของมณฑลกวางตุ้งในประเทศจีน จากสถิติในปี 2014 สนามบินแห่งนี้มีปริมาณผู้โดยสารมากสุดเป็นอันดับสองของจีนรองจากท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง และเป็นอันดับ 16 ของโลก สนามบินแห่งนี้ตั้งอยู่ในอำเภอไป๋-ยฺหวินและอำเภอฮฺวาตูของนครกว่างโจว เปิดทำการเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2004 เพื่อทดแทนสนามบินแห่งเก่าที่มีอายุกว่า 72 ปี ซึ่งในปัจจุบันได้ปิดใช้งานแล้ว สนามบินแห่งใหม่นี้สร้างขึ้นด้วยงบประมาณกว่า 1.98 หมื่นล้านหยวน มีที่ตั้งห่างจากตัวเมืองกว่างโจวไปทางเหนือราว 27 กิโลเมตร และมีขนาดใหญ่กว่าสนามบินเดิมถึงเกือบห้าเท่า คำว่า "ไป๋-ยฺหวิน" (白云) นั้นเป็นชื่อของภูเขาที่อยู่ใกล้เคียงสนามบินแห่งเก่า (ไป๋-ยฺหวินชาน) มีความหมายว่า "เมฆขาว" นอกจากนี้ สนามบินแห่งใหม่ยังอยู่ใกล้ตัวเมืองมากกว่าสนามบินแห่งเก่า สนามบินแห่งนี้มีศักยภาพในการรองรับผู้โดยสารได้ 45 ล้านคนต่อปี แต่ในปัจจุบันจำนวนผู้โดยสารก็มากเกินศักยภาพ ขณะนี้มีโครงการขยายสนามบินซึ่งรวมถึงอาคารผู้โดยสารหลังใหม่ขนาด 531,000 ตารางเมตรที่มีขนาดเท่ากับอาคารผู้โดยสารในปัจจุบันกำลังดำเนินการอยู่ คาดว่าจะก่อสร้างเสร็จภายในปี 2018 ซึ่งจะทำให้สนามบินมีศักยภาพในการรองรับผู้โดยสารได้ 80 ล้านคน และปริมาณสินค้า 25 ล้านตันต่อปี.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน · ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์
ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ (Lapangan Terbang Antarabangsa Kuala Lumpur) ตั้งอยู่ที่เขตเซปัง รัฐเซอลาโงร์ ประเทศมาเลเซีย ห่างจากตัวเมืองกัวลาลัมเปอร์ประมาณ 50 กิโลเมตร เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2541 เพื่อใช้เป็นท่าอากาศยานหลัก แทน ท่าอากาศยานสุลต่านอับดุล อาซิส ซาห์ (ซูบัง) ซึ่งตั้งห่างอยู่ทางทิศเหนือ (ปัจจุบันเปิดทำการในสายภายในประเทศ และเครื่องบินขนาดเล็ก) และเป็นท่าอากาศยานหลักของมาเลเซียแอร์ไลน์, มาเลเซียแอร์ไลน์คาร์โก และแอร์เอเชีย ได้รับรางวัลท่าอากาศยานที่ดีที่สุด จาก (AETRA awards) ปี 2005 และ (ACI-ASQ awards) ปี 2006.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ · ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า
ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า (จีนตัวเต็ม: 澳門國際機場, โปรตุเกส: Aeroporto Internacional de Macau) เป็นท่าอากาศยานแห่งเดียวในเขตบริหารพิเศษมาเก๊า ประเทศจีน ตั้งอยู่ปลายสุดของเกาะไทปา เปิดใช้งานเมื่อปี..
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า · ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง
ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง (พม่า: ရန်ကုန်အပြည်ပြည်ဆိုင်ရာလေဆိပ်) เป็นท่าอากาศยานที่ตั้งอยู่ในตำบลมีนกะลาโดน ทางเหนือ 15 กิโลเมตรจากตัวเมืองย่างกุ้ง ดำเนินงานโดยรัฐบาล เป็นท่าอากาศยานนานาชาติแห่งหลักของพม่า และเป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์ และท่าอากาศยานนานาชาติเนปยีดอ อาคารผู้โดยสารหลังเก่าปัจจุบันถูกใช้งานสำหรับเที่ยวบินภายในประเทศ ในขณะที่อาคารผู้โดยสารหลังใหม่ที่เริ่มเปิดใช้งานเมื่อ พฤษภาคม..
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง · ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้งและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน
ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน (ฮังกึล: 인천국제공항, ฮันจา: 仁川國際空港) ตั้งอยู่ที่เกาะยางจอง เมืองอินช็อน ประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของโซล โดยรองรับการเป็นท่าอากาศยานหลักของเกาหลีใต้ และสายการบินแห่งชาติอย่างโคเรียนแอร์ รวมทั้งเอเชียน่าแอร์ไลน์ และคาร์โก360 แทนที่ท่าอากาศยานกิมโป (เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติกิโป) นับตั้งแต่ปี..
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน · ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง
ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง (จีน: 香港國際機場, จีนกลาง: Xiānggǎng Guójì Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: hoeng1 gong2 gwok3 zai3 gei1 coeng4) หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินเช็กล้าบก็อก (จีน: 赤鱲角機場, จีนกลาง: Chìlièjiǎo Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: cek3 laap6 gok3 gei1 coeng4) เป็นท่าอากาศยานหลักของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน เปิดใช้เมื่อปีพ.ศ. 2541 แทนที่ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงเดิม ท่าอากาศยานแห่งนี้เปิดใช้งานเพื่อการพาณิชย์เมื่อปี พ.ศ. 2541 และเป็นจุดเปลี่ยนถ่ายผู้โดยสารที่สำคัญของสาธารณรัฐประชาชนจีน เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้ว่าจะมีประวัติความเป็นมาไม่ยาวนานนัก แต่ท่าอากาศยานแห่งนี้ก็ได้รับรางวัลท่าอากาศยานยอดเยี่ยมระดับนานาชาติมาหลายครั้งในช่วงปี..
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง · ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติดานัง
ท่าอากาศยานนานาชาติดานัง (Cảng hàng không quốc tế Đà Nẵng) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติในเมืองดานัง ทางตอนกลางของประเทศเวียดนาม เป็นสนามบินนานาชาติแห่งที่ 3 ของประเทศ ถัดจากท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ตในโฮจิมินห์ซิตี และท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่ายในกรุงฮานอย นอกจากจะให้บริการในเชิงพาณิชย์แล้ว สนามบินนี้ยังมีการใช้งานร่วมกับกองทัพอากาศเวียดนามอีกด้ว.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติดานัง · ท่าอากาศยานนานาชาติดานังและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ
ทางอากาศ หอควบคุมการบิน ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ตั้งอยู่เกาะที่มนุษย์สร้างขึ้นในอ่าวโอซะกะ นอกชายฝั่งเมืองเซ็นนังและเมืองอิซุมิซะโนะ จังหวัดโอซะกะ ญี่ปุ่น ออกแบบโดยสถาปนิก Renzo Piano เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2537 โดย ในระหว่างปีงบประมาณ 2015 (พ.ศ. 2558) ท่าอากาศยานแห่งนี้มีเที่ยวบินเข้าและออก 163,506 เที่ยว ในจำนวนนี้มี 72,251 เที่ยวเป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ และอีก 40,328 เที่ยวเป็นเที่ยวบินภายในประเทศ มีผู้โดยสารมาใช้บริการทั้งหมด 23,214,756 คน โดยเป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศ 16,250,323 คน และผู้โดยสารภายในประเทศ 5,289,063 คน.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ · ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติคูเวต
ท่าอากาศยานนานาชาติคูเวต ตั้งอยู่ที่เมืองฟาร์วานิยา ประเทศคูเวต ห่างจากตัวเมืองไปทางใต้ของคูเวตซิตีประมาณ 16 กิโลเมตร (10 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินคูเวตแอร์เวย์ และเป็นที่ตั้งของกองบัญชาการสูงสุด ของกองทัพอากาศคูเวต รวมถึงพิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศคูเวต.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติคูเวต · ท่าอากาศยานนานาชาติคูเวตและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติงูระห์ไร
ท่าอากาศยานนานาชาติงูระห์ไร (Ngurah Rai International Airport) หรือที่รู้จักในอีกชื่อหนึ่งว่า ท่าอากาศยานนานาชาติเดนปาซาร์ (Denpasar International Airport) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเกาะบาหลี ห่างจากเดนปาซาร์ไปทางใต้ 13 กิโลเมตร ตั้งชื่อตาม I Gusti Ngurah Rai วีรบุรุษประจำชาติอินโดนีเซียที่เสียชีวิตใน Battle of Marga ระหว่างการปฏิวัติอินโดนีเซีย ท่าอากาศยานนานาชาติงูระห์ไรเป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่มีผู้โดยสารคับคั่งมากเป็นอันดับ 3 ของอินโดนีเซีย รองจากท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตาที่กรุงจาการ์ตา และท่าอากาศยานนานาชาติจวนดาที่สุราบายา ห่างออกไปทางเหนือ 2.5 กิโลเมตรคือเมืองกูตา ซึ่งเป็นสถานที่พักตากอากาศที่พัฒนาขึ้นเพื่อการท่องเที่ยว เมื่อ..
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติงูระห์ไร · ท่าอากาศยานนานาชาติงูระห์ไรและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตา
ท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตา (Soekarno–Hatta International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของกรุงจาการ์ตาและปริมณฑล ตั้งอยู่ในจังหวัดบันเตินบนเกาะชวา ในขณะที่สนามบินอีกแห่งหนึ่งของจาการ์ตาคือ ท่าอากาศยานฮาลิมเปอร์ดานะกุสุมา ท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งชื่อตาม ประธานาธิบดีคนแรก ซูการ์โน และรองประธานาธิบดีคนแรก โมฮัมหมัด ฮัตตา บางครั้งชาวอินโดนีเซียก็เรียกสนามบินแห่งนี้ว่า สนามบินเช็งกาเร็ง ตามชื่อแขวงที่ตั้งท่าอากาศยาน.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตา · ท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตาและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง
ท่าอากาศยานนานาชาติเซี่ยงไฮ้ผู่ตง (จีนตัวย่อ: 上海浦东国际机场, จีน: 上海浦東國際機場, พินอิน: Shànghǎi Pǔdōng Guójì Jīchǎng) ตั้งอยู่ทางตะวันออกของผู่ตง ในเขตเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นประตูหลักสู่ประเทศจีน รองรับผู้โดยสารระหว่างประเทศกว่า 17 ล้านคน ในปี..
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง · ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตงและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล
ท่าอากาศยานปารีส-ชาร์ล เดอ โกล (Paris-Charles de Gaulle Airport; Aéroport Paris-Charles-de-Gaulle) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า ท่าอากาศยานรัวซี (Roissy) ตั้งอยู่ที่รัวซี กรุงปารีส ฝรั่งเศส อยู่ห่างจากตัวเมืองปารีสไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 25 กิโลเมตร นับเป็นประตูสำคัญในการเดินทางเข้าออกประเทศฝรั่งเศส นอกจากนี้ยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ฟรานซ์ด้วย ท่าอากาศยานแห่งนี้ ตั้งชื่อตามชาร์ล เดอ โกล วีรบุรุษ และผู้นำขบวนการปลดปล่อยฝรั่ง.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล · ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติปีนัง
ท่าอากาศยานนานาชาติปีนัง (Lapangan Terbang Antarabangsa Pulau Pinang) เดิมคือ ท่าอากาศยานนานาชาติบายันเลอปัซ ตั้งอยู่ที่เมืองบายันเลอปัซ รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซีย อยู่ห่างจากตัวเมืองจอร์จทาวน์ (เมืองหลวงของรัฐ) ไปทางใต้ประมาณ 16 กิโลเมตร (10 ไมล์) รองรับการจราจรทางอากาศของปีนังเพื่อเชื่อมต่อกับเมืองสำคัญต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของไฟร์ฟลาย ซึ่งเป็นสายการบินลูกของ Malaysia Airlines ทางวิ่งของท่าอากาศยานนานาชาติปีนังอยู่ในทิศทาง 04/22 ผิวราดด้วยแอสฟัลต์ มีความยาว 3,352 เมตร กว้าง 45.5 เมตร ภายในอาคารมีช่องตรวจบัตรโดยสาร 64 ช่อง ประตูขึ้นเครื่อง 11 ประตู เป็นแบบประชิดอาคารมีสะพานเทียบ 8 ประตู มีสายพานรับกระเป๋า 3 สายพาน และลานจอดรองรับรถยนต์ได้ 808 คัน ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังเป็นท่าอากศยานขนาดกลาง บริหารงานโดย Malaysia Airports Holdings Berhad (MAHB) ซึ่งเป็นบริษัทของกระทรวงคมนาคม มีเที่ยวบินเชื่อมโยงไปยังสนามบินหลักๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เนื่องด้วยขนาดที่กระทัดรัดของสนามบิน ทำให้ผู้โดยสารได้รับการบริการที่รวดเร็ว และมีสิ่งอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานอย่างครบครัน โดยมีเวลาขั้นต่ำในการต่อเครื่องบิน (minimum connection times) จากในประเทศไปต่างประเทศ (และในทางกลับกัน) 40 นาที และจากในประเทศไปในประเทศ 30 นาที ในปี 2007 ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังมีผู้โดยสารมาใช้บริการทั้งสิ้นกว่า 3.1 ล้านคน จำนวนเครื่องบินขึ้นลงทั้งหมด 39,265 ลำ รองรับสินค้าทางอากาศทั้งสิ้น 208,582 ตัน.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติปีนัง · ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ
ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ เป็นสนามบินนานาชาติ ตั้งอยู่ที่เมืองนาริตะ จังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น ดำเนินการโดย บริษัทท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ ซึ่งแปรสภาพมาจาก องค์การบริหารงานท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียวแห่งใหม่ ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นสนามบินหลักที่ให้บริการผู้โดยสารระหว่างประเทศที่เดินทางเข้าและออกจากประเทศญี่ปุ่น และเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางระหว่างทวีปเอเชียและอเมริกา เป็นสนามบินที่รองรับเที่ยวบินสำหรับผู้โดยสารมากอันดับ 2 ของญี่ปุ่น (รองจากสนามบินฮะเนะดะ) เป็นสนามบินที่รองรับการขนส่งทางอากาศเป็นอันดับ 1 ของญี่ปุ่นและอันดับ 3 ของโลก ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเจแปนแอร์ไลน์ สายการบินออล นิปปอน แอร์เวย์ และสายการบินนอร์ธเวสต์แอร์ไลน์ และยังเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ อีกด้วย ท่าอากาศยานานาชาตินาริตะ เคยใช้ชื่อว่า New Tokyo International Airport (新東京国際空港 Shin-Tōkyō Kokusai Kūkō) จนกระทั่งปี..
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ · ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย
ท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย (Sân bay Quốc tế Nội Bài) เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนามตอนเหนือ ให้บริการสำหรับบริเวณเมืองหลวงฮานอย ตั้งอยู่ห่างจากใจกลางเมือง 45 กิโลเมตร การเดินทางจากเมืองโดยรถแท็กซี่ใช้เวลา 30-45 นาที.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย · ท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่ายและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน
ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน (จีนตัวเต็ม: 台灣桃園國際機場 หรือ 臺灣桃園國際機場, ไต้หวันพินอิน: Táiwan Táoyuán Gúojì Jicháng, พินอิน: Táiwān Táoyuán Gúojì Jīcháng) เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติเจียงไคเช็ก (จีนตัวเต็ม: 中正國際機場, ไต้หวันพินอิน: Jhongjhèng Gúojì Jicháng, พินอิน: Zhōngzhèng Gúojì Jīcháng) ตั้งอยู่ที่เมืองเถา-ยฺเหวียน ในเขตไต้หวัน ประเทศสาธารณรัฐจีน เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐจีน และเป็นท่าอากาศยานหลักของไชน่าแอร์ไลน์ และอีวีเอแอร์ โดยอาคาร 1 รองรับผู้โดยสารได้ 15ล้านคน อาคาร 2 รองรับผู้โดยสารได้ 17ล้านคน รวมกันได้ 32ล้านคนต่อปี.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน · ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียนและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐ
ท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐ-อังกอร์ (អាកាសយានដ្ឋានអន្តរជាតិសៀមរាបអង្គរ; อากาสยานฐานอนฺตรชาติเสียมราบองฺคร; Siem Reap International Airport, Aéroport International De Siem Reap) คือสนามบินที่ตั้งอยู่ในจังหวัดเสียมราฐ มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศกัมพู.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐ · ท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต
ท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต (Cảng hàng không quốc tế Tân Sơn Nhất) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนาม ตั้งอยู่ในโฮจิมินห์ซิตี.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต · ท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ตและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี ·
ท่าอากาศยานเชียงใหม่
มุมสูงของท่าอากาศยานเชียงใหม่ มองจากวัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร ภายในอาคารท่าอากาศยานเชียงใหม่ Boeing 737-800 ของสายการบินนกแอร์ ที่สนามบินเชียงใหม่ Airbus A319 ของสายการบินบางกอกแอร์เวย์ ที่สนามบินเชียงใหม่ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ หรือสนามบินเชียงใหม่ (Chiang Mai International Airport) ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ 4 กิโลเมตร ในตำบลสุเทพ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นท่าอากาศยานนานาชาติ 1 ในจำนวนทั้งหมด 6 แห่ง ที่ดำเนินงานโดยบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) เป็นศูนย์กลางทางการบินของภาคเหนือ โดยมีเที่ยวบินเข้าออกหนาแน่นเป็นลำดับสี่ รองจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง และท่าอากาศยานภูเก็ต.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานเชียงใหม่ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและท่าอากาศยานเชียงใหม่ ·
ประเทศมาเลเซีย
มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..
ท่าอากาศยานดอนเมืองและประเทศมาเลเซีย · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและประเทศมาเลเซีย ·
ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..
ท่าอากาศยานดอนเมืองและประเทศสิงคโปร์ · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและประเทศสิงคโปร์ ·
ประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).
ท่าอากาศยานดอนเมืองและประเทศอินโดนีเซีย · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและประเทศอินโดนีเซีย ·
แอร์เอเชีย
การบินแอร์เอเชีย เป็นสายการบินต้นทุนต่ำที่ก่อตั้งขึ้นในประเทศมาเลเซีย และเป็นสายการบินที่ให้บริการด้วยค่าโดยสารที่ถูกที่สุดในเอเชีย กลุ่มแอร์เอเชีย ดำเนินการให้บริการเที่ยวบินทั่งในประเทศ และ ระหว่างประเทศ โดยมีจุดหมายปลายทางมากกว่า 400 เมืองใน 25 ประเทศ และมีท่าอากาศยานหลักคือ ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ โดยให้บริการที่อาคารผู้โดยสาร อาคาร KLIA2 และยังมี สายการบินไทยแอร์เอเชีย, สายการบินอินโดนีเซียแอร์เอเชีย เข้ามาใช้บริการร่วมด้วย แอร์เอเชียมาเลเซีย มีสำนักงานจดทะเบียนตั้งอยู่ที่เปอตาลิงจายา, รัฐเซอลาโงร์ ประเทศมาเลเซีย และมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ แอร์เอเชียมีแผนจะเปิดสำนักงานใหญ่ประจำภูมิภาคอาเซียนในจาการ์ตา ในปี..
ท่าอากาศยานดอนเมืองและแอร์เอเชีย · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและแอร์เอเชีย ·
โบอิง 747
อิง 747 ลำแรก ''ซิตีออฟเอเวอร์เร็ตต์'' ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์การบิน ในเมืองเอเวอร์เร็ตต์, รัฐวอชิงตัน โบอิง 747-100 ของนอร์ทเวสต์ แอร์ไลน์ โบอิง 747-200 ของแอร์ฟรานซ์ โบอิง 747-300 ของสายการบินปากีสถานอินเตอร์เนชันเนลแอร์ไลน์ โบอิง 747-400 ของการบินไทย 747-8 ของลุฟต์ฮันซา โบอิง 747 (Boeing 747) เป็นอดีตเครื่องบินโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก ก่อนที่แอร์บัส เอ 380 จะแล้วเสร็จ โบอิง 747 ไม่มีเครื่องต้นแบบ บินเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนเมษายน ปี ค.ศ. 1966 สายการบินแพนแอมเป็นสายการบินแรกในเส้นทางนิวยอร์ก-ลอนดอน เมื่อวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 1970อภิวัตน์ โควินทรานนท์,อากาศยาน1979ฉบับเครื่องบิน,เอวิเอชั่น ออบเซิร์ฟเวอร์,กรุงเทพ,2522.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและโบอิง 747 · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและโบอิง 747 ·
ไทยแอร์เอเชีย
ทยแอร์เอเชีย (IATA: FD, ICAO: AIQ, Callsign: THAI ASIA) ด้วยสโลแกนหลัก ใคร ใคร...ก็บินได้ (Now Everyone Can Fly) เป็นแรงจูงใจและกระตุ้นให้ผู้โดยสารที่ไม่เคยเดินทางโดยเครื่องบิน ได้เดินทางด้วยราคาที่เหมาะสม ซึ่งรูปแบบการนำเสนอคือ การเดินทางแบบเรียบง่าย การเดินทางในระยะสั้นตั๋วค่าโดยสารไม่ถูกบวกเพิ่มด้วยอาหาร และเครื่องดื่ม สายการบินไทยแอร์เอเชีย มีความโดดเด่น เนื่องจากเป็นสายการบินที่มีราคาเหมาะสม จากต้นทุนได้ถูกควบคุมในทุกวิธีการ อีกทั้งวัฒนธรรมทางองค์กรที่มีการบริหารงานอย่างมืออาชีพ ทำให้สายการบินไทยแอร์เอเชีย เติบโตได้อย่างรวดเร็วมากภายในระยะเวลาไม่กี่ปี สายการบินไทยแอร์เอเชีย มีความแปลกใหม่ และเน้นการใช้เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างมาก โดยลดต้นทุนจากการใช้งานบุคลากรให้ใช้งานผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งมีความสะดวกรวดเร็วมากกว่า พร้อมทั้งจ่ายด้วยบัตรเครดิตได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย โดยการจองที่นั่งผ่านทางระบบออนไลน์ ไทยแอร์เอเชียยังเป็นสายการบินผู้ให้การสนับสนุนคณะกรรมการผู้ตัดสินฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก 2012 อย่างเป็นทางการ และ ทีมฟุตบอลต่างๆ ที่สังกัดสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยอีกด้ว.
ท่าอากาศยานดอนเมืองและไทยแอร์เอเชีย · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและไทยแอร์เอเชีย ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี
การเปรียบเทียบระหว่าง ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี
ท่าอากาศยานดอนเมือง มี 170 ความสัมพันธ์ขณะที่ ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี มี 119 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 37, ดัชนี Jaccard คือ 12.80% = 37 / (170 + 119)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: