ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาบราฮัม บลุมาร์ต
จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาบราฮัม บลุมาร์ต มี 14 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาพชีวิตประจำวันภาพนิ่งภาพเหมือนยูเทรกต์ (เมือง)สมาคมช่างนักบุญลูกาอัมสเตอร์ดัมอุปมานิทัศน์จริตนิยมจิตรกรรมบาโรกจิตรกรรมภูมิทัศน์จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์จิตรกรรมประวัติศาสตร์แฟร์ดีนันด์ โบลเคราร์ด ฟัน โฮนต์ฮอสต์
ภาพชีวิตประจำวัน
“ชาวบ้านเต้นรำ” โดย ปิเอเตอร์ บรูเกล (ผู้พ่อ)ราว ค.ศ. 1568 ภาพชีวิตประจำวัน (ภาษาอังกฤษ: Genre works หรือ Genre scenes หรือ Genre views) เป็นภาพที่ใช้สื่อหลายอย่างเช่นจิตรกรรมหรือการถ่ายภาพในการแสดงฉากจากชีวิตประจำวันเช่น ฉากตลาด, ฉากภายในบ้าน, ฉากงานเลี้ยง หรือฉากถนนหนทาง การแสดงฉากก็อาจจะเหมือนจริง, เป็นการจินตนาการ หรือเป็นภาพแบบอุดมคติ สื่อที่เขียนก็เรียกว่า “จิตรกรรมชีวิตประจำวัน”, “ภาพพิมพ์ชีวิตประจำวัน” หรือ “ภาพถ่ายชีวิตประจำวัน” ซึ่งก็แล้วแต่สื่อ.
จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และภาพชีวิตประจำวัน · ภาพชีวิตประจำวันและอาบราฮัม บลุมาร์ต ·
ภาพนิ่ง
ใช้ปีคศ|width.
จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และภาพนิ่ง · ภาพนิ่งและอาบราฮัม บลุมาร์ต ·
ภาพเหมือน
หมือนเด็กชายชาวโรมัน-อียิปต์เป็นภาพเหมือนที่ใช้ปิดหน้าศพของผู้ตาย “ภาพเหมือนตนเอง” โดย ฟินเซนต์ ฟัน โคค ภาพถ่ายภาพเหมือนของทอมัส ดิลวาร์ด โดยแม็ทธิว เบรดี ภาพเหมือน (ภาษาอังกฤษ: portrait) เป็นจิตรกรรม, ภาพถ่าย, ประติมากรรม หรือสื่ออื่นๆ ที่เป็นรูปของผู้เป็นแบบ ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดจะเป็นหน้าและการแสดงออกทางความรู้สึกของผู้เป็นแบบ จุดประสงค์ในการสร้างภาพเหมือนก็เพื่อแสดงความละม้าย, บุคลิก, หรือแม้แต่อารมณ์ของผู้เป็นแบบ ฉะนั้นภาพถ่ายที่เป็นภาพเหมือนจึงมิใช่ภาพถ่ายแบบชั่ววินาที แต่เป็นภาพถ่ายที่ช่างถ่ายจะพยายามจัดท่าหรือองค์ประกอบของภาพที่ให้ผู้เป็นแบบนั่งนิ่ง ภาพเหมือนมักจะแสดงผู้เป็นแบบมองตรงมายังจิตรกรหรือช่างภาพ เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีความสัมพันธ์โดยตรงกับผู้ที่ดูรูปในภายหลัง.
จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และภาพเหมือน · ภาพเหมือนและอาบราฮัม บลุมาร์ต ·
ยูเทรกต์ (เมือง)
ูเทรกต์ (Utrecht) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดยูเทรกต์ที่ตั้งอยู่ในตอนกลางของประเทศเนเธอร์แลนด์ ยูเทรกต์เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสี่ของเนเธอร์แลนด์ที่มีประชากร 300,030 คนในปี..
จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และยูเทรกต์ (เมือง) · ยูเทรกต์ (เมือง)และอาบราฮัม บลุมาร์ต ·
สมาคมช่างนักบุญลูกา
ูองค์การคล้ายคลึงกันที่ สถาบันเซนต์ลูค ภาพนักบุญลูควาดภาพพระแม่มารี โดย นิเคลาส์ มานูเอล (Niklaus Manuel) สมาคมช่างนักบุญลูกา (Guild of Saint Luke) เป็นชื่อที่ใช้กันโดยทั่วไปสำหรับสมาคมช่างจิตรกรและศิลปินอื่น ๆ ทางตอนเหนือของยุโรปโดยเฉพาะในบริเวณกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ เป็นชื่อที่ตั้งเป็นเกียรติแก่นักบุญลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร ที่ตำนานกล่าวกันว่าเป็นผู้วาดภาพเหมือนของพระแม่มารีย์ ฉะนั้นนักบุญลูกาจึงกลายมาเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์จิตรกรและศิลปินโดยทั่วไป สมาคมช่างนักบุญลูกาที่มีชื่อเสียงที่สุดก่อตั้งขึ้นที่อันทเวิร.
จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และสมาคมช่างนักบุญลูกา · สมาคมช่างนักบุญลูกาและอาบราฮัม บลุมาร์ต ·
อัมสเตอร์ดัม
อัมสเตอร์ดัม (Amsterdam) เป็นเมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำอัมสเติล (Amstel) เริ่มก่อตั้งประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 12 ปัจจุบันเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเนเธอร์แลนด์ มีประชากรในเขตตัวเมืองประมาณ 742,000 คน แต่ถ้านับรวมประชากรในเขตเมืองโดยรอบทั้งหมด จะมีประมาณ 1.5 ล้านคน (ข้อมูลปี ค.ศ. 2005) อัมสเตอร์ดัมเป็นเมืองศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญแห่งหนึ่งของทวีปยุโรป โดยเฉพาะช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ซึ่งเป็นช่วงยุคทองของเนเธอร์แลนด์ ถึงแม้อัมสเตอร์ดัมจะเป็นเมืองหลวงของประเทศ แต่ศูนย์กลางของหน่วยงานรัฐบาลนั้นอยู่ที่เฮก.
จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอัมสเตอร์ดัม · อัมสเตอร์ดัมและอาบราฮัม บลุมาร์ต ·
อุปมานิทัศน์
''อุปมานิทัศน์ของดนตรี'' โดยฟีลิปปีโน ลิปปี “อุปมานิทัศน์ของดนตรี” เป็นหัวเรื่องที่นิยมกันในจิตรกรรมในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เช่นการที่ลิบปีใช้ในภาพเขียนภาพนี้ซึ่งใช้ตำนานกรีกเป็นสัญลักษณ์ อุปมานิทัศน์ (Allegory) มาจากภาษากรีก “αλλος” หรือ “allos” ที่แปลว่า “อื่น” และคำว่า “αγορευειν” หรือ “agoreuein” ที่แปลว่า “การพูดในที่สาธารณะ” ซึ่งหมายถึงศิลปะที่ใช้สัญลักษณ์แทนความหมายโดยตรงในภาษาเขียน อุปมานิทัศน์มิได้ใช้แต่ในงานวรรณกรรม แต่อาจจะใช้ทางจักษุศิลป์ซึ่งมักจะพบในจิตรกรรมหรือประติมากรรม หรือ การแสดงสัญลักษณ์ทางศิลปะอื่นๆ ความหมายทางภาษาศาสตร์จะกว้างกว่าที่ใช้กันโดยทั่วไป ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” จะมีน้ำหนักกว่ามากกว่าการใช้ “อุปลักษณ์” (metaphor) และเมื่อใช้ก็จะทำให้ผู้รับเกิดแรงบันดาลใจทางจินตนาการมากกว่า ขณะที่ “แนวเทียบ” (analogy) จะคำนึงถึงเหตุผลและตรรกศาสตร์มากกว่า เช่น “นิทานคติสอนใจ” (parable) จะเป็น “แนวเทียบ” ที่มีคำสอนทางจริยธรรมเพียงหัวข้อเดียว ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” มักจะเป็นสัญลักษณ์แทนความหมายของหัวข้อที่กว้างกว่าการใช้ “แนวเทียบ” ฉะนั้นในงาน “อุปมานิทัศน์” ชิ้นหนึ่งก็อาจจะมี “แนวเทียบ” หลายประเด็น จึงทำให้ตีความหมายกันไปได้หลายอย่าง ซึ่งบางครั้งก็อาจจะบิดเบือนไปจากความหมายที่ศิลปินตั้งใจเอาไว้ เช่นบางคนให้ความเห็นว่า “อุปมานิทัศน์” ของ “เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์” คือสงครามโลกเป็นต้น แต่วรรณกรรมชิ้นนี้เขียนก่อนที่สงครามโลกครั้งที่สอง จะเกิดขึ้น และถึงแม้ว่า เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ผู้ประพันธ์จะกล่าวไว้ในคำนำในฉบับพิมพ์อเมริกันว่า “(หนังสือเล่มนี้) ไม่ใช่อุปมานิทัศน์หรือหัวข้อ....กระผมไม่ชอบอุปมานิทัศน์ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใหน...”.
จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอุปมานิทัศน์ · อาบราฮัม บลุมาร์ตและอุปมานิทัศน์ ·
จริตนิยม
ในภาพเขียน “แม่พระพระศอยาว” (Madonna with the Long Neck)-(ค.ศ. 1534-1540) โดยปาร์มีจานีโน แมนเนอริสม์แสดงโดยการทำให้สัดส่วนยาวขึ้นซึ่งทำให้มีผลต่อการวางรูปและบิดเบือนทัศนมิติไม่กระจ่างแจ้ง จริตนิยม (Mannerism) คือยุคของศิลปะของจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และการตกแต่ง ที่เริ่มตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาสมัยทึ่รุ่งเรืองที่สุดราวปี..
จริตนิยมและจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ · จริตนิยมและอาบราฮัม บลุมาร์ต ·
จิตรกรรมบาโรก
“ยาม” โดย แรมบรังด์ ราว ค.ศ. 1642 เป็นตัวอย่างที่ดีของจิตรกรรมแบบบาโรก จิตรกรรมบาโรก (Baroque painting) เป็นจิตรกรรมที่เกี่ยวข้องกับขบวนการศิลปะบาโรก ซึ่งเป็นขบวนการที่เกี่ยวข้องกับระบบสัมบูรณนิยมทางการเมือง (absolutism), การปฏิรูปศาสนาซ้อน (Counter Reformation) และการฟื้นฟูโรมันคาทอลิก, from Encyclopædia Britannica Online, latest edition, full-article.
จิตรกรรมบาโรกและจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ · จิตรกรรมบาโรกและอาบราฮัม บลุมาร์ต ·
จิตรกรรมภูมิทัศน์
“เดินเล่นในฤดูใบไม้ผลิ” (Strolling About in Spring) ราว ค.ศ. 600 คนเกี่ยวข้าว” (The Harvesters) โดย ปิเอเตอร์ บรูเกล ค.ศ. 1565 “ร้อนผิดฤดูที่เวอร์มอนท์” (Indian Summer) โดยวิลลาร์ด ลีรอย เมทคาลฟ ซึ่งเป็นภาพเขียนนอกสถานที่ จิตรกรรมภูมิทัศน์ (ภาษาอังกฤษ: Landscape art) เป็นจิตรกรรม ที่แสดงทิวทัศน์เช่นภูเขา, หุบเขา, ต้นไม้, แม่น้ำ, และป่า และมักจะรวมท้องฟ้า นอกจากนั้นสภาวะอากาศก็อาจจะมีส่วนสำคัญในการวางองค์ประกอบของภาพด้วย ในคริสต์ศตวรรษที่ 1 ชาวโรมันตกแต่งห้องด้วยจิตรกรรมฝาผนังที่เป็นภาพภูมิทัศน์ซึ่งพบที่ปอมเปอีและเฮอร์คิวเลเนียม คำว่า “landscape” มาจากภาษาดัทช์ landscape “landschap” ซึ่งหมายถึงบริเวณที่เก็บเกี่ยวแล้ว และนำเข้ามาใช้ในภาษาอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เมื่อต้น คริสต์ศตวรรษที่ 15 การเขียนภาพภูมิทัศน์เป็นศิลปะการเขียนแบบหนึ่งในยุโรป ซึ่งใช้เป็นฉากหลังของกิจการต่างๆ ส่วนใหญ่จะเป็นศิลปะคริสต์ศาสนา เช่น ภาพในหัวเรื่อง “พระเยซูหนีไปอียิปต์”, หรือฉากการเดินทางของแมไจเพื่อนำของขวัญมาให้พระเยซู หรือ ภาพเขียนเกี่ยวกับนักบุญเจอโรมเมื่อไปจำศีลอยู่ในทะเลทราย การเขียนภาพภูมิทัศน์ของจีนจะเป็นภูมิทัศน์ล้วนๆ ถ้ามีคนอยู่ในรูปก็จะเป็นส่วนประกอบที่ไม่สำคัญหรือเพียงเป็นสิ่งเทียบถึงขนาดของธรรมชาติ และเป็นการเชิญชวนให้ผู้ชมภาพมีความรู้สึกว่ามีส่วนร่วมในภาพเขียน การเขียนภาพลักษณะนี้มีลักษณะสมบูรณ์แบบมาตั้งแต่การเขียนภาพด้วยหมึก ในยุโรปจอห์น รัสคิน และ เซอร์เค็นเน็ธ คลาคกล่าวว่าการเขียนภาพภูมิทัศน์เป็นศิลปะที่สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้คนเกิดความซาบซึ้งในความสวยงามของธรรมชาติ คลาคกล่าวว่าในการเขียนภาพภูมิทัศน์ตั้งอยู่บนพื้นฐานสี่อย่าง: การยอมรับในสัญลักษณ์ที่เห็น, ความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับธรรมชาติ, การสร้างจินตนิยมที่มึพี้นฐานมาจากความกลัวธรรมชาติ และ ความเชื่อที่ว่าทุกสิ่งทุกอย่างจะลงเอยด้วยดีที่เป็นสิ่งที่สามารถทำให้เกิดขึ้นได้ ในสหรัฐอเมริกาช่างเขียนภาพสกุลศิลปะลุ่มแม่น้ำฮัดสันที่รุ่งเรื่องราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีชื่อเสียงในการวิวัฒนาการเขียนภาพภูมิทัศน์ นักเขียนภาพกลุ่มนี้สร้างภาพเขียนขนาดยักษ์เพื่อจะสามารถพยายามแสดงความยิ่งใหญ่ของภูมิทัศน์ตามที่เห็น ปรัชญาของงานของทอมัส โคลซึ่งถือกันว่าเป็นผู้ก่อตั้งตระกูลการเขียนนี้ก็เช่นเดียวกับปรัชญาการเขียนภาพภูมิทัศน์ในยุโรป — เป็นความศรัทธาของมนุษย์ที่ทำให้มีความรู้สึกดีขึ้นจากการซาบซึ้งในคุณค่าของความสวยงามและความมหัศจรรย์ของธรรมชาติ งานของศิลปินตระกูลแม่น้ำฮัดสันรุ่นหลังเช่นงานของ แอลเบิร์ต เบียร์สตัดท์จะสร้างงานที่สร้างความน่ากลัวขึ้นโดยการเน้นอำนาจของธรรมชาติ นักสำรวจ, นักธรรมชาติวิทยา, ชาวทะเล, พ่อค้า, หรือผู้ตั้งถิ่นฐานที่มาถึงแผ่นดินแคนาดาเมื่อสมัยแรกๆ ในการสำรวจต้องเผชิญกับธรรมชาติที่ค่อนข้างจะอันตรายจากทะเล นักสำรวจเหล่านี้พยายามปรับปรุงสถานการณ์โดยการทำแผนที่, บันทึก, และตั้งหลักแหล่ง ความเข้าใจธรรมชาติจากการสังเกตของแต่ละคนก็ต่างกันไป บันทึกจากความรู้สึกเหล่านี้มีตั้งแต่ถูกต้องตามความเป็นจริงไปจนการจินตนาการที่เกินความจริงเอามากๆ และการสังเกตเหล่านี้ก็ถูกบันทึกในรูปของภาพภูมิทัศน์ ภาพเขียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีของการเขียนภาพภูมิทัศน์คานาดาคือภาพจากจิตรกรใน “กลุ่มเจ็ดคน” (Group of Seven) ที่มีชื่อเสียงในคริสต์ทศศตวรรษ.
จิตรกรรมภูมิทัศน์และจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ · จิตรกรรมภูมิทัศน์และอาบราฮัม บลุมาร์ต ·
จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์
ตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ (Dutch Golden Age painting) คือช่วงระยะหนึ่งของประวัติศาสตร์จิตรกรรมของเนเธอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ราว ค.ศ. 1584 มาจนถึง ค.ศ. 1702 เมื่อการค้าขาย, วิทยาศาสตร์ และศิลปะของเนเธอร์แลนด์เป็นทีเจริญถึงจุดสูงสุดและเลื่องลือไปทั่วโลก จิตรกรของสมัยนี้สร้างแบบฉบับการเขียนงานจิตรกรรม และ ทิ้งอิทธิพลงานที่เป็นอนุสรณ์ต่อนักเขียนภาพรุ่นต่อมาเป็นอันมาก.
จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ · จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาบราฮัม บลุมาร์ต ·
จิตรกรรมประวัติศาสตร์
“วันสุดท้ายของปอมเปอี” (ค.ศ. 1833) เป็นตัวอย่างที่ดีของภาพเขียนประวัติศาสตร์ จิตรกรรมประวัติศาสตร์ (History painting) เริ่มเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ ค.ศ. 1667 โดยอันเดร เฟลิเบียน (André Félibien) จิตกรประวัติศาสตร์, สถาปนิก, นักทฤษฎีคลาสสิกซิสม์ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นลักษณะที่ระบบ “การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะ” (Hierarchy of genres) ถือว่าเป็นประเภทการเขียนภาพที่มีคุณค่าสูงที่สุดในบรรดาการเขียนภาพประเภทต่าง.
จิตรกรรมประวัติศาสตร์และจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ · จิตรกรรมประวัติศาสตร์และอาบราฮัม บลุมาร์ต ·
แฟร์ดีนันด์ โบล
แฟร์ดีนันด์ โบล (Ferdinand Bol; 24 มิถุนายน ค.ศ. 1616 - 24 สิงหาคม ค.ศ. 1680) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 แม้ว่าจะมีงานของโบลเหลืออยู่เพียงไม่กี่ชิ้นแต่ก็ยังแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลที่ได้รับจากแร็มบรันต์ โบลมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมประวัติศาสตร์ ภาพเหมือน และภาพเหมือนตนเอง.
จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และแฟร์ดีนันด์ โบล · อาบราฮัม บลุมาร์ตและแฟร์ดีนันด์ โบล ·
เคราร์ด ฟัน โฮนต์ฮอสต์
ราร์ด หรือ แคร์ริต แฮร์มันส์โซน ฟัน โฮนต์ฮอสต์ (Gerard, Gerrit Hermanszoon van Honthorst; 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1592 - 27 เมษายน ค.ศ. 1656) เป็นจิตรกรชาวดัตช์แห่งเมืองยูเทรกต์ในสมัยยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพเหมือน ฟัน โฮนต์ฮอสต์ได้ร่ำเรียนกับอาบราฮัม บลุมาร์ต (Abraham Bloemaert) จิตรกรและช่างพิมพ์ภาพที่เปลี่ยนจากการเขียนแบบตระกูลฟรังก์เกิน (Francken) ไปเป็นการเขียนแบบกึ่งอิตาลีเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เช่นเดียวกับจิตรกรเนเธอร์แลนด์ในขณะนั้นที่ตื่นเต้นกับการการวิวัฒนาการทางจิตรกรรมในแบบอิตาลี ฟัน โฮนต์ฮอสต์เดินทางไปอิตาลีในปี..
จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และเคราร์ด ฟัน โฮนต์ฮอสต์ · อาบราฮัม บลุมาร์ตและเคราร์ด ฟัน โฮนต์ฮอสต์ ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาบราฮัม บลุมาร์ต มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาบราฮัม บลุมาร์ต
การเปรียบเทียบระหว่าง จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาบราฮัม บลุมาร์ต
จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ มี 92 ความสัมพันธ์ขณะที่ อาบราฮัม บลุมาร์ต มี 20 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 14, ดัชนี Jaccard คือ 12.50% = 14 / (92 + 20)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาบราฮัม บลุมาร์ต หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: