โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์

ดัชนี จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์

ตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ (Dutch Golden Age painting) คือช่วงระยะหนึ่งของประวัติศาสตร์จิตรกรรมของเนเธอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ราว ค.ศ. 1584 มาจนถึง ค.ศ. 1702 เมื่อการค้าขาย, วิทยาศาสตร์ และศิลปะของเนเธอร์แลนด์เป็นทีเจริญถึงจุดสูงสุดและเลื่องลือไปทั่วโลก จิตรกรของสมัยนี้สร้างแบบฉบับการเขียนงานจิตรกรรม และ ทิ้งอิทธิพลงานที่เป็นอนุสรณ์ต่อนักเขียนภาพรุ่นต่อมาเป็นอันมาก.

92 ความสัมพันธ์: บัมบอชชันตีบทเรียนกายวิภาคของนายแพทย์ตึลป์ช่องคลอดฟรันส์ ฮัลส์ฟีลิปส์ เวาเวอร์มันพ.ศ. 2127พ.ศ. 2177พ.ศ. 2245พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทันพิพิธภัณฑ์แอร์มิทาชการาวัจโจการค้าประเวณีการเจรจา (เทอร์บอร์ค)ภาพชีวิตประจำวันภาพนิ่งภาพเหมือนยัน ฟัน โคเยินยัน ฟัน เดอร์ไฮเดินยัน ลีเฟินส์ยัน สเตนยัน เดอ ไบรยุคทองของเนเธอร์แลนด์ยุคเรืองปัญญายูเทรกต์ (เมือง)รอตเทอร์ดามลำดับคุณค่าของศิลปะลูตวรรณคดีวิลเลิม กลาสโซน เฮดาศิลปะดัตช์ศิลปะคริสเตียนศิลปะตามหลักวิชาสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาสมาคมช่างนักบุญลูกาสาวใส่ต่างหูมุกสาธารณรัฐดัตช์สงครามกลางเมืองอังกฤษหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์อัมสเตอร์ดัมอัลเบิร์ต เกยป์อันโตน ฟัน ไดก์อาบราฮัม บลุมาร์ตอาดรียาน ฟัน โอสตาเดออาดรียาน เบราเวอร์อาดัม เอลสไฮเมอร์อุปมานิทัศน์ฮีเยโรนีมึส โบสจริยธรรมจริตนิยม...จอห์น คอนสตาเบิลจิตรกรชั้นครูจิตรกรรมบาโรกจิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชจิตรกรรมภูมิทัศน์จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบดัตช์และเฟลมิชจิตรกรรมตะวันตกจิตรกรรมประวัติศาสตร์จิตรกรรมเฟลมิชจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกจูดิธ เลย์สเตอร์ทาเวิร์นของขวัญดัตช์ดีร์ก ฟัน บาบือเรินคัมภีร์ไบเบิลคาลวินค่าต่างแสงประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยาประวัติศาสตร์ของจิตรกรรมปรัมปราวิทยาปีเตอร์ ลัสต์มันปีเตอร์ เบรอเคิล (ผู้พ่อ)ปีเตอร์ เดอ โฮคแฟร์ดีนันด์ โบลแร็มบรันต์แอนต์เวิร์ปแฮ็นดริก อาเฟอร์กัมป์แฮ็นดริก ดังเกิตส์แฮ็นดริก เตอร์บรึคเคินแคร์ริต เดาโยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอโยฮันเนิส เฟอร์เมร์โรงเตี๊ยมโจชัว เรย์โนลส์ไลเดินเกเมลเดกาเลรีอัลเทอไมสเทอร์เอเซยัส ฟัน เดอแฟ็ลเดอเจ้าสาวชาวยิวเดลฟท์เคราร์ด ฟัน โฮนต์ฮอสต์เคราร์ด เตอร์บอร์ค ขยายดัชนี (42 มากกว่า) »

บัมบอชชันตี

"งานเลี้ยงสนุกในบรรยากาศแบบอิตาลี" โดย คาเรล ดูฌาร์แดงส์ บัมบอชชันตี (Bamboccianti) คือกลุ่มจิตรกรภาพชีวิตประจำวันผู้ทำงานในกรุงโรมราวตั้งแต..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และบัมบอชชันตี · ดูเพิ่มเติม »

บทเรียนกายวิภาคของนายแพทย์ตึลป์

ทเรียนกายวิภาคของนายแพทย์นีโกลาส ตึลป์ (De anatomische les van Dr.; The Anatomy Lesson of Dr.) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยแร็มบรันต์ จิตรกรชาวดัตช์ในยุคทองของเนเธอร์แลนด์ ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่เมาริตส์เฮยส์ (Mauritshuis) เดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ แร็มบรันต์เขียนภาพ "บทเรียนกายวิภาคของนายแพทย์ตึลป์" เสร็จในปี ค.ศ. 1632 นายแพทย์นีโกลาส ตึลป์ (Nicolaes Tulp) ในภาพกำลังอธิบายระบบกล้ามเนื้อของแขนแก่นักศึกษาแพทย์ ศพในภาพเป็นของอาชญากรอาริส กินต์ (Aris Kindt) ที่เสียชีวิตโดยการถูกลงโทษโดยการแขวนคอในเช้าวันเดียวกันด้วยข้อหาลักทรัพย์ ผู้สังเกตการณ์เป็นนายแพทย์ที่ต้องจ่ายเงินเพื่อจะปรากฏในภาพเขียน การชำแหละเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม ค.ศ. 1632 สมาคมศัลยแพทย์แห่งอัมสเตอร์ดัมที่นายแพทย์ตึลป์เป็นผู้เชี่ยวชาญกายวิภาคศาสตร์ประจำเมืองอนุญาตให้ทำการชำแหละ (dissection) ได้เพียงปีละครั้ง และร่างที่ใช้ในการชำแหละต้องมาจากอาชญากรผู้ถูกสังหารเท่านั้น บทเรียนกายวิภาคศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 จัดกันในห้องบรรยายที่เป็นโรงละครจริง ๆ โดยมีผู้เข้าร่วมที่เป็นนักศึกษา ผู้ร่วมวิชาชีพ และสาธารณชนที่ต้องจ่ายค่าเข้าชม ผู้ที่เข้ามาสังเกตการณ์จะแต่งตัวให้เหมาะสมอย่างการเข้าร่วมพิธีการของสังคม เชื่อกันว่านอกไปจากบุคคลที่อยู่ข้างหลังและบุคคลทางด้านซ้ายมาเพิ่มในภายหลัง บุคคลหนึ่งที่ขาดจากภาพนี้คือผู้เตรียมศพที่มีหน้าที่เตรียมร่างสำหรับการชำแหละ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 นักวิทยาศาสตร์ที่มีความสำคัญเช่นนายแพทย์ตึลป์จะไม่ทำหน้าที่ที่ถือว่าเป็นหน้าที่ย่อย ๆ เช่นการชำแหละ ซึ่งเป็นหน้าที่ของผู้อื่น ฉะนั้นเราจึงไม่เห็นภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการชำแหละในภาพนี้ แต่จะมีภาพของตำรากายวิภาคศาสตร์เปิดอยู่ตรงมุมล่างขวาของภาพ ที่อาจจะเป็นตำรา "โครงสร้างของร่างกายมนุษย์" (De humani corporis fabrica) ที่พิมพ์ในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และบทเรียนกายวิภาคของนายแพทย์ตึลป์ · ดูเพิ่มเติม »

ช่องคลอด

องคลอด (Vagina) รากศัพท์มาจากภาษาละติน หมายถึง สิ่งหุ้ม หรือ ฝัก โดยทั่วไปในภาษาปาก คำว่า "ช่องคลอด" มักใช้เรียกแทน "ช่องสังวาส" หรือ "อวัยวะเพศหญิง" หรือ "แคม" ในภาษาทางการ "ช่องคลอด" หมายถึง โครงสร้างภายใน ส่วน "ช่องสังวาส" และคำอื่น ๆ หมายถึง "อวัยวะเพศหญิงภายนอก" เท่านั้น ในภาษาสแลง มีคำหยาบและคำต้องห้ามหลายคำใช้เรียกแทน ช่องคลอด หรือ ช่องสังวาส ในภาษาไทย เช่น หี, หอย ฯลฯ หรือในภาษาอังกฤษ เช่น cunt, pussy ฯลฯ.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และช่องคลอด · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันส์ ฮัลส์

ฟรันส์ ฮัลส์ (Frans Hals; ราว ค.ศ. 1580 - 26 สิงหาคม ค.ศ. 1666) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ฮัลส์มีชื่อเสียงในการเขียนภาพเหมือนและการใช้ฝีแปรงที่อิสระและเป็นผู้นำวิธีการเขียนที่มีชีวิตชีวามาสู่ศิลปะดัตช์ และเป็นผู้มีบทบาทในการวิวัฒนาการการเขียนภาพเหมือนของกลุ่มคนในคริสต์ศตวรรษที่ 17.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และฟรันส์ ฮัลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลิปส์ เวาเวอร์มัน

ฟีลิปส์ เวาเวอร์มัน (Philips Wouwerman; 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1619 - 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1668) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 เวาเวอร์มันมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมทะเลทัศน์และฉากการต่อสู้ในสงคราม.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และฟีลิปส์ เวาเวอร์มัน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2127

ทธศักราช 2127 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และพ.ศ. 2127 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2177

ทธศักราช 2177 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และพ.ศ. 2177 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2245

ทธศักราช 2245 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และพ.ศ. 2245 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ (Charles II of England; 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 – 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685) พระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ และพระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ ในราชวงศ์สจวต ระหว่างปี ค.ศ. 1660 ถึงปี ค.ศ. 1685 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 พระราชสมภพเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 ที่พระราชวังเซนต์เจมส์ในกรุงลอนดอน เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางเฮนเรียตตา มาเรีย ได้อภิเษกสมรสกับพระนางแคเธอริน และครองสกอตแลนด์ระหว่างวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 ถึงวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 และ อังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 ถึงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ที่พระราชวังไวท์ฮอลในกรุงลอนดอน พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เป็นพระมหากษัตริย์ตามกฎหมายหลังจากพระราชบิดาพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ถูกประหารชีวิตที่พระราชวังไวต์ฮอลเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 แต่รัฐสภาอังกฤษมิได้ประกาศแต่งตั้งให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์และผ่านบัญญัติว่าเป็นการดำรงตำแหน่งของพระองค์เป็นการผิดกฎหมาย จึงเกิดช่วงว่างระหว่างรัชกาลในอังกฤษ แต่ทางรัฐสภาสกอตแลนด์ประกาศให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ของชาวสกอตเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1649 ที่เอดินบะระ และรับพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1651 หลังจากที่พ่ายแพ้ยุทธการวูสเตอร์เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ก็เสด็จหนีไปยุโรปภาคพื้นทวีปและไปประทับลี้ภัยเป็นเวลา 9 ปีในประเทศฝรั่งเศสและเนเธอร์แลนด์ของสเปน หลังจากที่รัฐบาลสาธารณรัฐภายใต้การนำของริชาร์ด ครอมเวลล์ล่มในปี ค.ศ. 1659 นายพลจอร์จ มองค์ก็อัญเชิญชาลส์ให้กลับมาเป็นสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษในสมัยที่เรียกกันว่า “การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ” พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เสด็จกลับถึงอังกฤษเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 และเสด็จเข้าลอนดอนในวันประสูติครบ 30 พรรษาเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 และทรงได้รับการราชาภิเศกเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษและ ไอร์แลนด์เมื่อวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 1660 รัฐสภาภายใต้การนำของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ออกพระราชบัญญัติต่อต้านพิวริตันที่รู้จักกันในชื่อ “ประมวลกฎหมายแคลเรนดัน” (Clarendon code) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อหนุนสถานะของคริสตจักรแห่งอังกฤษ แม้ว่าในทางส่วนพระองค์แล้วพระเจ้าชาลส์ที่ 2 จะทรงสนับสนุนนโยบายความมีเสรีภาพในการนับถือศาสนาก็ตาม ส่วนปัญหาใหญ่ในด้านการต่างประเทศในต้นรัชสมัยก็คือการสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1670 พระเจ้าชาลส์ทรงไปทำสัญญาลับกับพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสที่ระบุว่าฝรั่งเศสจะช่วยอังกฤษในสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สาม และจะถวายเงินบำนาญแก่พระองค์โดยมีข้อแม้ว่าสมเด็จพระเจ้าชาลส์ต้องสัญญาว่าจะเปลื่ยนจากการนับถือนิกายแองกลิคันไปเป็นการนับถือนิกายโรมันคาทอลิก แต่พระเจ้าชาลส์มิได้ทรงระบุเวลาที่แน่นอนในเรื่องการเปลี่ยนนิกาย แต่ในขณะเดียวกันก็ทรงพยายามเพิ่มสิทธิและเสรีภาพให้แก่ผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกและนิกายโปรเตสแตนต์ต่าง ๆ มากขึ้นโดยการออกพระราชปฏิญญาพระคุณการุญในปี ค.ศ. 1672 แต่รัฐสภาบังคับให้ทรงถอนในปี ค.ศ. 1679 ในปี ค.ศ. 1679 ไททัส โอตส์สร้างข่าวลือเรื่อง “การลอบวางแผนโพพิช” ที่เป็นผลให้เกิดวิกฤตกาลการกีดกัดต่อมา เมื่อเป็นที่ทราบกันว่าดยุกแห่งยอร์กพระอนุชาของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และรัชทายาทผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าเจมส์ที่ 2เปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ทำให้บ้านเมืองแบ่งเป็นสองฝักสองฝ่าย ฝ่ายวิกสนับสนุนการยกเว้นไม่ให้ดยุกแห่งยอร์กขึ้นครองราชย์และฝ่ายทอรีต่อต้านการยกเว้น พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงเข้าข้างฝ่ายหลัง หลังจากที่ผู้ก่อการโปรเตสแตนต์วางแผน “การลอบวางแผนไรย์เฮาส์” ที่จะปลงพระองค์เองและดยุกแห่งยอร์กในปี ค.ศ. 1683 ที่ทำให้ผู้นำพรรควิกหลายคนถูกประหารชีวิตหรือถูกเนรเทศ พระเจ้าชาลส์ที่ 2 จึงทรงยุบสภาในปี ค.ศ. 1679 และทรงราชย์โดยไม่มีรัฐสภาจนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ก่อนจะเสด็จสวรรคตพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ก็ทรงเปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิกบนพระแท่นที่ประชวร พระเจ้าชาลส์ไม่มีพระราชโอรสธิดากับพระนางแคเธอรินแห่งบราแกนซา เพราะพระนางทรงเป็นหมัน แต่ทรงยอมรับว่ามีพระราชโอรสธิดานอกสมรส 12 องค์กับพระสนมหลายคน พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงเป็นที่รู้จักกันในพระนาม “ราชาเจ้าสำราญ” (Merrie Monarch) ซึ่งหมายถึงการใช้ชีวิตในราชสำนักของพระองค์ที่เต็มไปด้วยความสนุกสำราญซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการที่ถูกเก็บกดมาเป็นเวลานานภายใต้การปกครองของโอลิเวอร์ ครอมเวลล์และกลุ่มพิวริตัน.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทัน

ัณฑ์ศิลปะเมโทรโปลิตัน (Metropolitan Museum of Art หรือ the Met) เป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะที่ตั้งอยู่ที่ทางตะวันออกของเซ็นทรัลพาร์คในนครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตันก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1870 พิพิธภัณฑ์เป็นเจ้าของงานศิลปะถาวรกว่าสองล้านชิ้นที่แบ่งเป็นสิบเก้าแผนก อาคารหลักมักจะเรียกสั้นๆ ว่า “the Met” เป็นหอศิลป์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกหอศิลป์หนึ่งแลมีสาขาที่สองที่เล็กกว่าที่“เดอะคล็อยสเตอร์ส” ในอัพเพอร์แมนแฮตตัน ซึ่งเป็นที่ตั้งแสดงศิลปะยุคกลาง ศิลปะถาวรที่เป็นเจ้าของเป็นงานศิลปะตั้งแต่ศิลปะยุคคลาสสิกและศิลปะอียิปต์โบราณ, จิตรกรรมและประติมากรรมของจิตรกรชั้นครูจากเกือบทุกประเทศในยุโรปตะวันตก และงานสะสมศิลปะอเมริกันและศิลปะสมัยใหม่ นอกจากนั้นพิพิธภัณฑ์ก็ยังเป็นเจ้าของงานศิลปะจากแอฟริกา, เอเชีย, ศิลปะจากหมู่เกาะปาซิฟิค, ศิลปะไบเซนไทน์ และศิลปะอิสลาม นอกไปจากศิลปะแล้วพิพิธภัณฑ์ก็ยังสะสมเครื่องดนตรี, เสื้อผ้าและเครื่องตกแต่ง, อาวุธโบราณ, เสื้อเกราะและอาวุธจากทั่วโลก ภายในพิพิธภัณฑ์มีสิ่งก่อสร้างที่แสดงการตกแต่งภายในเป็นการถาวรตั้งแต่จากคริสต์ศตวรรษที่ 1 ของสมัยโรมันไปจนถึงสมัยใหม่ของสหรัฐอเมริกา พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโปลิตันก่อตั้งในปี ค.ศ. 1870 โดยกลุ่มชาวอเมริกัน ผู้ก่อตั้งรวมทั้งนักธุรกิจและนักการเงินและผู้นำศิลปินและนักคิดในสมัยนั้นผู้ที่ประสงค์จะก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ที่นำศิลปะและการศึกษาศิลปะมาสู่ประชาชนอเมริกัน พิพิธภัณฑ์เปิดให้ประชาชนเข้าชมเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1872 ในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และพิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทัน · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์แอร์มิทาช

ัณฑ์แอร์มิทาช หรือ พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิเทจ (Hermitage Museum; Государственный Эрмитаж, Gosudarstvennyj Èrmitaž; musée de l’Ermitage) เป็นพิพิธภัณฑ์ที่ตั้งอยู่ที่เมืองเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กในประเทศรัสเซีย พิพิธภัณฑ์แอร์มิทาชเป็นพิพิธภัณฑ์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกแห่งหนึ่งที่มีงานศิลปะในความครอบครองเป็นจำนวนราวสามล้านชิ้นThe Guinness book of world records และพิพิธภัณฑ์ศิลปะที่เก่าที่สุดในโลก งานศิลปะจำนวนมหาศาลตั้งแสดงอยู่ในอาคารหกหลัง อาคารเอกคือพระราชวังฤดูหนาวที่เคยเป็นที่ประทับของซาร์ แอร์มิทาชมีสาขาที่อัมสเตอร์ดัม, ลอนดอน, ลาสเวกัส และแฟร์ราราในอิตาลี พิพิธภัณฑ์แอร์มิทาชได้รับการบันทึกในหนังสือบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ว่าเป็นหอศิลป์ที่มีงานสะสมมากชิ้นที่สุดในโลก.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และพิพิธภัณฑ์แอร์มิทาช · ดูเพิ่มเติม »

การาวัจโจ

ูรายชื่องานที่ รายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจ; มีเกลันเจโล เมรีซี ดา การาวัจโจ (Michelangelo Merisi da Caravaggio ค.ศ. 1571 - 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1610) เป็นจิตรกรสมัยบาโรกคนสำค้ญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีความสำคัญในการเขียนภาพสีน้ำมัน ผู้มีผลงานส่วนใหญ่ที่ โรม เนเปิลส์ ซิซิลี และประเทศมอลตา ระหว่างปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และการาวัจโจ · ดูเพิ่มเติม »

การค้าประเวณี

ผู้หญิงขายบริการ ในสถานบริการแห่งหนึ่งในเยอรมนี การค้าประเวณี (prostitution) คือธุรกิจหรือวิธีปฏิบัติโดยการทำกิจกรรมทางเพศเพื่อแลกกับค่าตอบแทน ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เงิน ของ บริการ หรือประโยชน์แบบอื่นตามแต่ตกลง หญิงค้าประเวณีนั้นเรียก นครโสเภณี (prostitute) แปลว่า "หญิงงามเมือง" (โสเภณี แปลว่า หญิงงาม) และมักตัดไปเรียกว่า "โสเภณี" เฉย ๆ ส่วนภาษาถิ่นอีสานเรียก "หญิงแม่จ้าง" และภาษาปากเรียก "กะหรี่", "หญิงหากิน" หรือ "อีตัว" เป็นต้น สำนักของเหล่านครโสเภณีเรียก โรงนครโสเภณี, โรงหญิงนครโสเภณี หรือ ซ่องโสเภณี (bawdy house, brothel, disorderly house, house of ill fame หรือ house of prostitution).

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และการค้าประเวณี · ดูเพิ่มเติม »

การเจรจา (เทอร์บอร์ค)

การเจรจา (The Gallant Conversation) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเจอราร์ด เทอร์บอร์คจิตรกรคนสำคัญชาวดัตช์ของสมัยยุคทองของเนเธอร์แลนด์ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติแห่งอัมสเตอร์ดัมในประเทศเนเธอร์แลนด์ เจอราร์ด เทอร์บอร์คเขียนภาพ “การเจรจา” ราว ค.ศ. 1654 ชื่อภาพตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในงานพิมพ์ในฝรั่งเศส เพราะเชื่อว่าเป็นภาพของพ่อที่กำลังดุลูกสาว แต่นักประวัติศาสตร์ศิลป์สมัยใหม่มีความเห็นว่าเป็นภาพการต่อรองระหว่างคู่รักสองคน ที่อาจจะเกี่ยวกับการหมั้นหมาย หรือ ที่น่าจะมีเหตุผลที่สุดคือเป็นภาพของลูกค้าต่อรองกับโสเภณีในสถานที่สำหรับทำการค้าประเวณี.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และการเจรจา (เทอร์บอร์ค) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพชีวิตประจำวัน

“ชาวบ้านเต้นรำ” โดย ปิเอเตอร์ บรูเกล (ผู้พ่อ)ราว ค.ศ. 1568 ภาพชีวิตประจำวัน (ภาษาอังกฤษ: Genre works หรือ Genre scenes หรือ Genre views) เป็นภาพที่ใช้สื่อหลายอย่างเช่นจิตรกรรมหรือการถ่ายภาพในการแสดงฉากจากชีวิตประจำวันเช่น ฉากตลาด, ฉากภายในบ้าน, ฉากงานเลี้ยง หรือฉากถนนหนทาง การแสดงฉากก็อาจจะเหมือนจริง, เป็นการจินตนาการ หรือเป็นภาพแบบอุดมคติ สื่อที่เขียนก็เรียกว่า “จิตรกรรมชีวิตประจำวัน”, “ภาพพิมพ์ชีวิตประจำวัน” หรือ “ภาพถ่ายชีวิตประจำวัน” ซึ่งก็แล้วแต่สื่อ.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และภาพชีวิตประจำวัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพนิ่ง

ใช้ปีคศ|width.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และภาพนิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือน

หมือนเด็กชายชาวโรมัน-อียิปต์เป็นภาพเหมือนที่ใช้ปิดหน้าศพของผู้ตาย “ภาพเหมือนตนเอง” โดย ฟินเซนต์ ฟัน โคค ภาพถ่ายภาพเหมือนของทอมัส ดิลวาร์ด โดยแม็ทธิว เบรดี ภาพเหมือน (ภาษาอังกฤษ: portrait) เป็นจิตรกรรม, ภาพถ่าย, ประติมากรรม หรือสื่ออื่นๆ ที่เป็นรูปของผู้เป็นแบบ ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดจะเป็นหน้าและการแสดงออกทางความรู้สึกของผู้เป็นแบบ จุดประสงค์ในการสร้างภาพเหมือนก็เพื่อแสดงความละม้าย, บุคลิก, หรือแม้แต่อารมณ์ของผู้เป็นแบบ ฉะนั้นภาพถ่ายที่เป็นภาพเหมือนจึงมิใช่ภาพถ่ายแบบชั่ววินาที แต่เป็นภาพถ่ายที่ช่างถ่ายจะพยายามจัดท่าหรือองค์ประกอบของภาพที่ให้ผู้เป็นแบบนั่งนิ่ง ภาพเหมือนมักจะแสดงผู้เป็นแบบมองตรงมายังจิตรกรหรือช่างภาพ เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีความสัมพันธ์โดยตรงกับผู้ที่ดูรูปในภายหลัง.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และภาพเหมือน · ดูเพิ่มเติม »

ยัน ฟัน โคเยิน

ัน โยเซฟส์โซน ฟัน โคเยิน (Jan Josephszoon van Goyen; 13 มกราคม ค.ศ. 1596 - 27 เมษายน ค.ศ. 1656) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ยัน ฟัน โคเยินมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์ โดยมีผลงานเป็นจำนวนมาก เท่าที่ทราบเป็นจำนวนถึงราวพันสองร้อ.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และยัน ฟัน โคเยิน · ดูเพิ่มเติม »

ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน

ัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน (Jan van der Heyden; 5 มีนาคม ค.ศ. 1637 - 12 กันยายน ค.ศ. 1712) เป็นจิตรกร ช่างดราฟต์ ช่างพิมพ์ และนักประดิษฐ์ชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดินมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดินเป็นผู้ปรับปรุงสายดับเพลิงในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน · ดูเพิ่มเติม »

ยัน ลีเฟินส์

ัน ลีเฟินส์ (Jan Lievens; 24 ตุลาคม ค.ศ. 1607 - 4 มิถุนายน ค.ศ. 1674) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในช่วงยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เขามักจะมีชื่อเกี่ยวพันกับแร็มบรันต์เพราะมีลักษณะการเขียนภาพที่คล้ายคลึงกัน ยัน ลีเฟินส์ฝึกงานเบื้องต้นกับปีเตอร์ ลัสต์มันอยู่สองปี ก่อนที่จะมาเป็นจิตรกรอิสระเมื่ออายุได้ 14 ปีที่เมืองไลเดิน ลีเฟินส์มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมประวัติศาสตร์และภาพเหมือน ลีเฟินส์เกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1607 ที่เมืองไลเดินในภูมิภาคฮอลแลนด์ของสาธารณรัฐดัตช์ และเสียชีวิตเมื่อราววันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ. 1674 ที่เมืองอัมสเตอร์ดัมในภูมิภาคฮอลแลนด์เช่นกัน.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และยัน ลีเฟินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ยัน สเตน

ัน ฮาฟิกส์โซน สเตน (Jan Havickszoon Steen; ราว ค.ศ. 1626 - 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1679) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวัน ที่เต็มไปด้วยชีวิตจิตใจและอารมณ์ขัน สเตนมีชื่อเรื่องการใช้สี.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และยัน สเตน · ดูเพิ่มเติม »

ยัน เดอ ไบร

ัน เดอ ไบร (Jan de Bray; ราว ค.ศ. 1627 - 1 เมษายน ค.ศ. 1697) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ยัน เดอ ไบรมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือนเชิงประวัติศาสตร.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และยัน เดอ ไบร · ดูเพิ่มเติม »

ยุคทองของเนเธอร์แลนด์

รือดัตช์เดินทางกลับจากบราซิล (ค.ศ. 1640) โดย Hendrik Corneliszoon Vroom ยุคทองของเนเธอร์แลนด์ (Gouden Eeuw, Dutch Golden Age) คือสมัยประวัติศาสตร์ของดัตช์ที่เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่เป็นสมัยที่ดัตช์มีความเจริญทางการค้าขาย ทางวิทยาศาสตร์ และทางศิลปะถึงจุดสูงสุด และมีชื่อเสียงที่สุดในโลกประเทศหนึ่ง.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และยุคทองของเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเรืองปัญญา

ฌ็อง-ฌัก รูโซ บุคคลสำคัญจากยุคเรืองปัญญา ยุคเรืองปัญญา (Age of Enlightenment; Siècle des Lumières) คือการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมของเหล่าปัญญาชนในยุโรปและอาณานิคมบนทวีปอเมริกาช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป้าหมายเพื่อปฏิรูปสังคมและส่งเสริมการใช้หลักเหตุผลมากกว่าการใช้หลักจารีต, ความเชื่อ และการเปิดเผยจากพระเจ้า รวมไปถึงส่งเสริมความรู้ทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูง การเคลื่อนไหวยังสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้หรือการใช้ปัญญา ต่อต้านความเชื่อทางไสยศาสตร์, โมหาคติ และการชักนำให้ผิดเพี้ยนจากคริสตจักรและรัฐบาล ยุคเรืองปัญญาเริ่มตั้นขึ้นในช่วงประมาณปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และยุคเรืองปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

ยูเทรกต์ (เมือง)

ูเทรกต์ (Utrecht) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดยูเทรกต์ที่ตั้งอยู่ในตอนกลางของประเทศเนเธอร์แลนด์ ยูเทรกต์เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสี่ของเนเธอร์แลนด์ที่มีประชากร 300,030 คนในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และยูเทรกต์ (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

รอตเทอร์ดาม

รอตเทอร์ดาม สถานีรถและอาคารรูปลูกบาศก์ในเมืองรอตเทอร์ดาม ศูนย์กลางธุรกิจของเมืองรอตเทอร์ดาม รอตเทอร์ดาม (อังกฤษ, ดัตช์: Rotterdam) เป็นเมืองท่าหลัก และเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศเนเธอร์แลนด์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำมาส (Maas River) รอตเทอร์ดามนับเป็นเมืองท่าใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก และเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยอีราสมุส (Erasmus University Rotterdam) ซึ่งมีชื่อเสียงทางด้านเศรษฐศาสตร์ และสถาบันสถาปัตยกรรมแห่งเนเธอร์แลนด์ (Netherland Architecture institute - NAi) รอตเทอร์ดามมีลักษณะต่างจากเมืองอื่น ๆ ในเนเธอร์แลนด์คือเป็นเมืองที่มีสถาปัตยกรรมยุคใหม่ ในปี ค.ศ. 2007 ได้รับการส่งเสริมการท่องเที่ยวเป็น "เมืองแห่งสถาปัตยกรรม".

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และรอตเทอร์ดาม · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับคุณค่าของศิลปะ

A จิตรกรรมประวัติศาสตร์. คริสเตียน อัลเบร็คท์ ฟอน เบนซอน (Christian Albrecht von Benzon), ''ความตายของคานูทผู้ศักดิ์สิทธิ์'', ค.ศ. 1843 ภาพชีวิตประจำวัน. อาเดรียน ฟาน โอสเตด, ''คนขายปลา'', ค.ศ. 1660-1670, สีน้ำมันบนไม้โอ้ค, 29 × 26.5 ซม., พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์แห่งบูดาเพสต์ ภาพเหมือน. คอนราด ครซิซาเนาสกี (Konrad Krzyżanowski), ''ภาพเหมือนของโยเซฟ พิลซูดสกี'', ค.ศ. 1920, พิพิธภัณฑ์กองทัพโปแลนด์, วอร์ซอว์ จิตรกรรมภูมิทัศน์. เทมิสโตเคิลส์ ฟอน เอ็คเค็นเบร็คเคอร์, ''ภูมิทัศน์ของ Laerdalsoren ที่ Sognefjord'', สีน้ำมันบนผ้าใบ, ค.ศ. 1901 ภาพนิ่ง. ไฮน์ริค อุห์ล (Heinrich Uhl), ''ภาพนิ่งกับกล่องอัญมณี, แว่นดูอุปรากร, ถุงมือ, และช่อดอกไม้'', สีน้ำมันบนผ้าใบ, 50 x 60 ซม. ลำดับคุณค่าของศิลปะ (hierarchy of genres) เป็นการจัดประเภทของงานศิลปะ (genre) ตามระดับความสำคัญทางคุณค่าที่วางไว้อย่างเป็นทางการ ในทางวรรณกรรม มหากาพย์ได้รับการยกย่องว่าเป็นงานที่มีระดับคุณค่าสูงที่สุดในบรรดานักวิพากษ์วรรณกรรม ตามเหตุผลของซามูเอล จอห์นสัน ที่บรรยายใน ชีวิตของจอห์น มิลตัน ว่า: "ตามความเห็นที่พ้องกันของนักวิพากษ์, งานที่สมควรแก่การสรรเสริญในคุณค่าคืองานของนักเขียนผู้เขียนมหากาพย์, เพราการเขียนมหากาพย์ผู้เขียนต้องรวบรวมพลานุภาพทุกด้านที่แต่ละด้านเพียงพอสำหรับสร้างงานเขียนแต่ละชนิด" การจัดลำดับที่ทราบกันดีที่สุดในงานจิตรกรรมคือมาตรฐานที่สร้างขึ้นโดยสถาบันในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงสมัยใหม่ ระดับต่างๆ ที่จัดขึ้นสำหรับประเภทของงานศิลปะต่างๆ ได้รับการสนับสนุนโดยราชสถาบันแห่งจิตรกรรมและประติมากรรมแห่งฝรั่งเศสซึ่งเป็นผู้นำในศิลปะสถาบัน การโต้เถียงที่เกี่ยวกับความงามของจิตรกรรมที่ยังคงเป็นที่นิยมกันมาตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยายังคงเน้นความสำคัญของอุปมานิทัศน์; การใช้องค์ประกอบในงานจิตรกรรมเช่นเส้น และ สีในการสื่อความหมายที่เป็นหัวใจของภาพ ฉะนั้นอุดมคตินิยมจึงเป็นสิ่งที่ใช้กันในงานศิลปะ โดยที่รูปทรงตามธรรมชาติเป็นสิ่งที่เห็นโดยทั่วไป ฉะนั้นจึงเป็นรองจากความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของงานศิลปะ ที่มีจุดประสงค์ในการแสวงหาสัจจะโดยการเลียนแบบ "ความงามของธรรมชาติ" แต่นักทฤษฎีที่มีความคิดเห็นแตกต่างออกไปมีความเชื่อมั่นว่าการเน้นการใช้อุปมานิทัศน์เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และอยู่บนพื้นฐานที่ไม่ถูกต้องของความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะ และกวีนิพนธ์ที่มาจากบทเขียนของโฮราซ (Horace) "ut pictura poesis" ("ในภาพเขียนคือกวีนิพนธ์") การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะเริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และลำดับคุณค่าของศิลปะ · ดูเพิ่มเติม »

ลูต

ลูต (lute) เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายที่ได้รับความนิยมมากในระหว่างศตวรรษที่ 16 และ 17 สายจะขึ้นไว้เป็นคู่ๆ ลูทมีรูปร่างคล้ายลูกแพร์ และมีส่วนคอเป็นแผ่นแบน มีขีดแบ่งเสียง 7 ขีดหรือมากกว่านั้น หมุดหมุนสายจะเอนไปด้านหลังเพื่อช่วยยึดสายต่างๆไว้และยังมีวิธีการที่ดีดคล้ายกับกีตาร์โปร่งอีกด้วย หมวดหมู่:เครื่องสาย เครื่องมือที่ใช้ในอียิปต์.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และลูต · ดูเพิ่มเติม »

วรรณคดี

วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรืองานเขียนที่ยกย่องกันว่าดี มีสาระ และมีคุณค่าทางวรรณศิลป์ การใช้คำว่าวรรณคดีเพื่อประเมินค่าของวรรณกรรมเกิดขึ้นในพระราชกฤษฎีกาตั้งวรรณคดีสโมสรในสมัยรัชกาลที่ 6 (พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว) วรรณคดีเป็นวรรณกรรมที่ถูกยกย่องว่าเขียนดี มีคุณค่า สามารถทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์สะเทือนใจ มีความคิดเป็นแบบแผน ใช้ภาษาที่ไพเราะ เหมาะแก่การให้ประชาชนได้รับรู้ เพราะสามารถยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น รู้ว่าอะไรควรหรือไม่ควร.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และวรรณคดี · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลิม กลาสโซน เฮดา

วิลเลิม กลาสโซน เฮดา (Willem Claeszoon Heda; 14 ธันวาคม ค.ศ. 1594 - ราว ค.ศ. 1680) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนแรก ๆ ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เฮดามีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพนิ่งโดยเฉพาะ วิลเลิม กลาสโซน เฮดาเป็นเพื่อนและจิตรกรร่วมรุ่นกับดีร์ก ฮัลส์ (Dirck Hals) ที่มีลักษณะการเขียนและการใช้เทคนิคที่คล้ายคลึงกัน แต่เฮดาเขียนงานอย่างบรรจงมากกว่าฮัลส์ ที่แสดงให้เห็นถึงความชำนาญและรสนิยมในการจัดและการใช้สีของวัตถุต่าง ๆ ที่ปรากฏในภาพ ลักษณะการเขียนเป็นที่ชวนเชิญผู้ชมภาพแม้ว่าจะเป็นอาหารธรรมดาก็ตาม.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และวิลเลิม กลาสโซน เฮดา · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะดัตช์

ลปะดัตช์ (Dutch art) เป็นการบรรยายประวัติศาสตร์ทัศนศิลป์ของเนเธอร์แลนด์หลังจากสหพันธ์จังหวัดแยกจากฟลานเดอส์มาเป็นสาธารณรัฐเนเธอร์แลนด์ที่รวมทั้งงานเขียนของสมัยเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก, ยุคทองของเนเธอร์แลนด์, จิตรกรรมยุคเนเธอร์แลนด์ตอนต้น และจิตรกรรมในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และศิลปะดัตช์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะคริสเตียน

"พระแม่มารีและพระบุตร" โดยทิเชียน (ราว ค.ศ. 1512) พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะ, เวียนนา, ประเทศออสเตรีย ศิลปะคริสเตียน (Christian art) เป็นคำที่หมายถึงจักษุศิลป์ที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อแสดงความหมาย, ขยายความ และแสดงเรื่องราวที่เกี่ยวกับหลักของศาสนาคริสต์ นิกายของศาสนาคริสต์เกือบทุกนิกายใช้ศิลปะคริสเตียนแต่จะมากบ้างน้อยบ้างก็แล้วแต่กฎบัตรของแต่ละนิกาย แต่โดยทั่วไปไม่ว่าจะเป็นสื่อชนิดใดหัวเรื่องการสร้างก็จะคล้ายคลึงกันคือจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับชีวประวัติของพระเยซูจากพันธสัญญาใหม่ หรือบางครั้งก็รวมเรื่องราวจากพันธสัญญาเดิม นอกนั้นการเขียนเรื่องนักบุญหรือผู้มีความสำคัญต่อศาสนาก็เป็นที่นิยมกันโดยเฉพาะในนิกายโรมันคาทอลิก, นิกายแองกลิคัน และนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และศิลปะคริสเตียน · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะตามหลักวิชา

“กำเนิดวีนัส” (Birth of Venus) โดย อเล็กซานเดอร์ คาร์บาเนล (Alexandre Cabanel) ค.ศ. 1863 ศิลปะสถาบัน (ภาษาอังกฤษ: Academic art) คือลักษณะของจิตรกรรม และ ประติมากรรมที่สร้างขึ้นภายใต้อิทธิพลของสถาบันหรือมหาวิทยาลัยศิลปะในยุโรป ศิลปะสถาบัน โดยเฉพาะจะเป็นศิลปินที่ได้รับอิทธิพลจากสถาบันวิจิตรศิลป์แห่งฝรั่งเศส (Académie des beaux-arts) ซึ่งใช้แนวศิลปะฟื้นฟูคลาสสิกและลัทธิโรแมนติคซิสม์ (Romanticism) เป็นหลัก โดยเป็นศิลปะที่สร้างจากคุณลักษณะที่ดึงมาจากทั้งสองทฤษฏี ซึ่งจะเห็นได้จากงานของ วิลเลียม อดอล์ฟ โบกูโร (William-Adolphe Bouguereau), ซูซอร์ โคท (Suzor-Coté), ทอมัส โคโทร์ (Thomas Couture) และ อันส์ มาร์คาร์ท (Hans Makart) ในกรณีนี้จึงเรียกศิลปะนี้ว่า “ศิลปะสถาบัน” หรือ “L'art pompier” และ “คตินิยมสรรผสาน” (eclecticism) ซึ่งบางครั้งก็จะพยายามดึงลักษณะเด่นๆ มาจากศิลปกรรมในประวัติศาสตร์มาวิวัฒนาการเข้าด้วย นอกจากนั้นศิลปะที่ได้รับอิทธิพลจากสถาบันหรือมหาวิทยาลัยศิลปะก็เรียกกันว่า “ศิลปะสถาบัน” เช่นกัน หรือ ศิลปะใหม่ๆ ที่สถาบันยอมรับก็อาจจะใช้คำว่า “ศิลปะสถาบัน” เป็นการเรียกก็ได้.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และศิลปะตามหลักวิชา · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

รูปสลักเดวิด เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี หนึ่งในประติมากรรมชิ้นเอกของยุคนี้ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance; Rinascimento; แปลว่า เกิดใหม่ หรือคืนชีพ) หรือ เรอแนซ็องส์ เป็นช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมยุคใหม่ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมที่กินเวลาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 17 ประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรม วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ศาสนาและการเมือง การฟื้นฟูการศึกษาโดยอาศัยผลงานคลาสสิก การพัฒนาจิตรกรรม และการปฏิรูปการศึกษาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้อาศัยพลังของนักมนุษยนิยมและปัจเจกชนนิยมเป็นเครื่องจูงใจ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเกิดขึ้นในฟลอเรนซ์ แคว้นทัสกานี ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมช่างนักบุญลูกา

ูองค์การคล้ายคลึงกันที่ สถาบันเซนต์ลูค ภาพนักบุญลูควาดภาพพระแม่มารี โดย นิเคลาส์ มานูเอล (Niklaus Manuel) สมาคมช่างนักบุญลูกา (Guild of Saint Luke) เป็นชื่อที่ใช้กันโดยทั่วไปสำหรับสมาคมช่างจิตรกรและศิลปินอื่น ๆ ทางตอนเหนือของยุโรปโดยเฉพาะในบริเวณกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ เป็นชื่อที่ตั้งเป็นเกียรติแก่นักบุญลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร ที่ตำนานกล่าวกันว่าเป็นผู้วาดภาพเหมือนของพระแม่มารีย์ ฉะนั้นนักบุญลูกาจึงกลายมาเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์จิตรกรและศิลปินโดยทั่วไป สมาคมช่างนักบุญลูกาที่มีชื่อเสียงที่สุดก่อตั้งขึ้นที่อันทเวิร.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และสมาคมช่างนักบุญลูกา · ดูเพิ่มเติม »

สาวใส่ต่างหูมุก

วใส่ต่างหูมุก (Het Meisje met de Parel; Girl with a Pearl Earring) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยโยฮันเนิส เฟอร์เมร์ จิตรกรชาวดัตช์ในสมัยบาโรก ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานศิลปะเมาริตส์เฮยส์ (Mauritshuis) ในเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ เฟอร์เมร์เขียนภาพ "สาวใส่ต่างหูมุก" เสร็จในปี ค.ศ. 1665 ที่บางครั้งเรียกว่า "โมนาลิซาแห่งทางเหนือ" หรือ "โมนาลิซาของชาวดัตช์".

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และสาวใส่ต่างหูมุก · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐดัตช์

รณรัฐดัตช์ (อังกฤษ: ชื่อเต็ม Republiek der Zeven Verenigde Nederlanden หรือ De Nederlandse Republiek และ De Verenigde Provincien) เป็นการรวมหนึ่งในส่วนรัฐทั้ง 7 ของเนเธอร์แลนด์ของสเปน โดยเป็นกบฏโปรแตสแตนท์ในกลุ่มขุนนาง ผู้ปกครองคนแรกคือ วิลเลียมที่ 1 แห่งออเรนจ์ และทำให้เกิดสงคราม 80 ปีจนสงบศึกในปี ค.ศ. 1648.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และสาธารณรัฐดัตช์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองอังกฤษ

“หนูเห็นพ่อครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่?” โดย วิลเลียม เฟรดเดอริค ยีมส์ (William Frederick Yeames) เป็นภาพรัฐสภาถามลูกชายของฝ่ายนิยมกษัตริย์ระหว่างสงครามกลางเมือง สงครามกลางเมืองอังกฤษ (English Civil War; ค.ศ. 1642 ถึงปี ค.ศ. 1651) เป็นสงครามกลางเมืองของอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ที่ต่อเนื่องกันหลายครั้งระหว่างฝ่ายรัฐสภา และฝ่ายกษัตริย์นิยม สงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1642 ถึงปี ค.ศ. 1646; ครั้งที่ 2 ระหว่างปี ค.ศ. 1648 ถึงปี ค.ศ. 1649 เป็นสงครามของความขัดแย้งระหว่างผู้สนับสนุนพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ฝ่ายหนึ่งและผู้สนับสนุนรัฐสภายาวอีกฝ่ายหนึ่ง ขณะที่ครั้งที่ 3 ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1649 ถึงปี ค.ศ. 1651 เป็นการต่อสู้ระหว่างผู้สนับสนุนพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และผู้สนับสนุนรัฐสภารัมพ์อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามกลางเมืองจบลงด้วยชัยชนะของฝ่ายรัฐสภาที่ยุทธการวูสเตอร์เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 ผลของสงครามกลางเมืองครั้งที่สองนำไปสู่การปลงพระชนม์ของพระเจ้าชาลส์ที่ 1, การลี้ภัยของพระราชโอรสพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และการเปลี่ยนระบบการปกครองของอังกฤษจากระบอบพระมหากษัตริย์ไปเป็นระบบเครือจักรภพแห่งอังกฤษ ระหว่างปี ค.ศ. 1649 ถึงปี ค.ศ. 1653 และต่อจากนั้นไปเป็นระบบรัฐผู้พิทักษ์ภายใต้การนำของโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ระหว่างปี ค.ศ. 1653 ถึงปี ค.ศ. 1659 เอกสิทธิ์ในการนับถือคริสต์ศาสนาของนิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์ในอังกฤษสิ้นสุดลงด้วยการรวม การปกครองโดยโปรเตสแตนต์ (Protestant Ascendancy) ในไอร์แลนด์ ในด้านรัฐธรรมนูญสงครามครั้งนี้เป็นการวางรากฐานว่าการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ไม่สามารถทำได้โดยมิได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา แต่อันที่จริงแล้วปรัชญานี้ก็มิได้ปฏิบัติกันอย่างจริงจังจนกระทั่งถึงสมัยการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ในปลายคริสต์ศตวรรษ.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และสงครามกลางเมืองอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์

หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ (Dutch East Indies หรือ Netherlands East Indies; Nederlands-Indië; Hindia-Belanda) คืออาณานิคมซึ่งอยู่ในการควบคุมของอดีตบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ ซึ่งต่อมาอยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลเนเธอร์แลนด์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 และกลายเป็นประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบัน.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

อัมสเตอร์ดัม

อัมสเตอร์ดัม (Amsterdam) เป็นเมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำอัมสเติล (Amstel) เริ่มก่อตั้งประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 12 ปัจจุบันเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเนเธอร์แลนด์ มีประชากรในเขตตัวเมืองประมาณ 742,000 คน แต่ถ้านับรวมประชากรในเขตเมืองโดยรอบทั้งหมด จะมีประมาณ 1.5 ล้านคน (ข้อมูลปี ค.ศ. 2005) อัมสเตอร์ดัมเป็นเมืองศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญแห่งหนึ่งของทวีปยุโรป โดยเฉพาะช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ซึ่งเป็นช่วงยุคทองของเนเธอร์แลนด์ ถึงแม้อัมสเตอร์ดัมจะเป็นเมืองหลวงของประเทศ แต่ศูนย์กลางของหน่วยงานรัฐบาลนั้นอยู่ที่เฮก.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอัมสเตอร์ดัม · ดูเพิ่มเติม »

อัลเบิร์ต เกยป์

อัลเบิร์ต ยาโกบส์โซน เกยป์ (Albert Jacobszoon Cuyp; 20 ตุลาคม ค.ศ. 1620 - 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1691) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เกยป์ฝึกงานกับบิดา ยาโกบ แคร์ริตส์ เกยป์ (Jacob Gerritsz Cuyp) เกยป์มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์ และมีชื่อเสียงจากภาพเขียนที่เป็นภาพภูมิทัศน์ของชนบทของเนเธอร์แลนด์ยามเช้าและตอน.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอัลเบิร์ต เกยป์ · ดูเพิ่มเติม »

อันโตน ฟัน ไดก์

"ภาพเหมือนกับดอกทานตะวัน" แสดงให้เห็นเหรียญที่พระเจ้าชาลส์ที่ 1 พระราชทานเมื่อ ค.ศ. 1633 ดอกทานตะวันอาจจะเป็นสัญลักษณ์ของพระเจ้าแผ่นดิน หรือการอุปถัมภ์หลวงSo Ellis Waterhouse (as refs below). But Levey (refs below) suggests that either van Dyck is the sun to which the sun-flower (of popular acclaim?) turns its face, or that it is the face of the King, on the medal he holds, as presented by van Dyck to the world ภาพเหมือนของครอบครัวโลเมลลี (Lomelli family) ค.ศ. 1623 ภาพเหมือนของลอร์ดจอห์น สจวต และน้องชายลอร์ดเบอร์นาร์ด สจวต--ลักษณะที่ผู้เป็นแบบมีเป็นความกันเองมากขึ้นที่ฟัน ไดก์มาวิวัฒนาการในอังกฤษ, ประมาณ ค.ศ. 1638 พระเจ้าชาลส์ที่ 1 (ราว ค.ศ. 1635) อันโตน ฟัน ไดก์ (Antoon van Dyck, Antoon van Dijck) หรือ แอนโทนี แวน ไดก์ (Anthony van Dyck; 22 มีนาคม ค.ศ. 1599 – 9 ธันวาคม ค.ศ. 1641) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวเฟลมมิชซึ่งมาเป็นจิตรกรคนสำคัญประจำราชสำนักพระเจ้าชาลส์ที่ 1ที่อังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพสีน้ำมัน โดยเฉพาะภาพเหมือน ภาพเขียนที่มีชื่อเสียงของฟัน ไดก์เป็นภาพเหมือนของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 และครอบครัวซึ่งวางท่าลักษณะสบายแต่สง่าแบบที่กลายมาเป็นแบบที่ใช้ในการเขียนภาพเหมือนต่อมาในอังกฤษเป็นเวลาราว 150 ปี นอกจากภาพเหมือนแล้ว ฟัน ไดก์ยังเขียนภาพจากพระคัมภีร์และตำนานเทพ และเป็นจิตรกรคนสำคัญผู้ริเริ่มใช้สีน้ำและกลวิธีพิมพ์กัดกรด (etching).

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอันโตน ฟัน ไดก์ · ดูเพิ่มเติม »

อาบราฮัม บลุมาร์ต

อาบราฮัม บลุมาร์ต (Abraham Bloemaert; ค.ศ. 1566 - 27 มกราคม ค.ศ. 1651) เป็นจิตรกรและช่างพิมพ์ชาวดัตช์คนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 อาบราฮัม บลุมาร์ตเป็นจิตรกรที่เขียนภาพในลักษณะ "จริตนิยมแบบเมืองฮาร์เลม" ตั้งแต..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาบราฮัม บลุมาร์ต · ดูเพิ่มเติม »

อาดรียาน ฟัน โอสตาเดอ

อาดรียาน ฟัน โอสตาเดอ (Adriaen van Ostade; 10 ธันวาคม ค.ศ. 1610 - 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1685) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 อาดรียาน ฟัน โอสตาเดอได้รับการฝึกโดยฟรันส์ ฮัลส์ ซึ่งขณะนั้นเป็นครูของอาดรียาน เบราเวอร์ และยัน มีนเซอ โมเลอนาร์ (Jan Miense Molenaer) ด้วย ฟัน โอสตาเดอมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวัน.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาดรียาน ฟัน โอสตาเดอ · ดูเพิ่มเติม »

อาดรียาน เบราเวอร์

อาดรียาน เบราเวอร์ (Adriaen Brouwer; ค.ศ. 1605 - มกราคม ค.ศ. 1638) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 เบราเวอร์ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวันทำงานส่วนใหญ่ในฟลานเดอส์และสาธารณรัฐดัต.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาดรียาน เบราเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาดัม เอลสไฮเมอร์

อาดัม เอลสไฮเมอร์ (Adam Elsheimer) (18 มีนาคม ค.ศ. 1578 - 11 ธันวาคม ค.ศ. 1610) เป็นจิตรกรชาวเยอรมันที่ทำงานในกรุงโรม เอลสไฮเมอร์เสียชีวิตเมื่ออายุได้เพียง 32 ปีแต่ก็เป็นจิตรกรผู้มีอิทธิพลในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพประวัติศาสตร์, จิตรกรรมภูมิทัศน์ และจิตรกรรมตู้ เอลสไฮเมอร์มีอิทธิพลต่อจิตรกรคนอื่นๆ เช่นปีเตอร์ พอล รูเบนส์, แรมบรังด์ และดาวิด เทนิเยร์ส (ผู้ลูก) เอลสไฮเมอร์เขียนภาพเพียงไม่กี่ภาพและมักจะเป็นภาพเล็กที่เขียนบนแผ่นทองแดง และเป็นผู้คิดค้นวิธีใช้แสงต่างๆ และการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาดัม เอลสไฮเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อุปมานิทัศน์

''อุปมานิทัศน์ของดนตรี'' โดยฟีลิปปีโน ลิปปี “อุปมานิทัศน์ของดนตรี” เป็นหัวเรื่องที่นิยมกันในจิตรกรรมในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เช่นการที่ลิบปีใช้ในภาพเขียนภาพนี้ซึ่งใช้ตำนานกรีกเป็นสัญลักษณ์ อุปมานิทัศน์ (Allegory) มาจากภาษากรีก “αλλος” หรือ “allos” ที่แปลว่า “อื่น” และคำว่า “αγορευειν” หรือ “agoreuein” ที่แปลว่า “การพูดในที่สาธารณะ” ซึ่งหมายถึงศิลปะที่ใช้สัญลักษณ์แทนความหมายโดยตรงในภาษาเขียน อุปมานิทัศน์มิได้ใช้แต่ในงานวรรณกรรม แต่อาจจะใช้ทางจักษุศิลป์ซึ่งมักจะพบในจิตรกรรมหรือประติมากรรม หรือ การแสดงสัญลักษณ์ทางศิลปะอื่นๆ ความหมายทางภาษาศาสตร์จะกว้างกว่าที่ใช้กันโดยทั่วไป ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” จะมีน้ำหนักกว่ามากกว่าการใช้ “อุปลักษณ์” (metaphor) และเมื่อใช้ก็จะทำให้ผู้รับเกิดแรงบันดาลใจทางจินตนาการมากกว่า ขณะที่ “แนวเทียบ” (analogy) จะคำนึงถึงเหตุผลและตรรกศาสตร์มากกว่า เช่น “นิทานคติสอนใจ” (parable) จะเป็น “แนวเทียบ” ที่มีคำสอนทางจริยธรรมเพียงหัวข้อเดียว ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” มักจะเป็นสัญลักษณ์แทนความหมายของหัวข้อที่กว้างกว่าการใช้ “แนวเทียบ” ฉะนั้นในงาน “อุปมานิทัศน์” ชิ้นหนึ่งก็อาจจะมี “แนวเทียบ” หลายประเด็น จึงทำให้ตีความหมายกันไปได้หลายอย่าง ซึ่งบางครั้งก็อาจจะบิดเบือนไปจากความหมายที่ศิลปินตั้งใจเอาไว้ เช่นบางคนให้ความเห็นว่า “อุปมานิทัศน์” ของ “เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์” คือสงครามโลกเป็นต้น แต่วรรณกรรมชิ้นนี้เขียนก่อนที่สงครามโลกครั้งที่สอง จะเกิดขึ้น และถึงแม้ว่า เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ผู้ประพันธ์จะกล่าวไว้ในคำนำในฉบับพิมพ์อเมริกันว่า “(หนังสือเล่มนี้) ไม่ใช่อุปมานิทัศน์หรือหัวข้อ....กระผมไม่ชอบอุปมานิทัศน์ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใหน...”.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอุปมานิทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮีเยโรนีมึส โบส

หมือนตนเอง โดย ฮีเยโรนีมึส โบส right ฮีเยโรนีมึส โบส (Hieronymus Bosch; ราว ค.ศ. 1450 - 9 สิงหาคม ค.ศ. 1516) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (เรอแนซ็องส์) คนสำคัญของประเทศเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและบานพับภาพ ภาพเขียนหลายภาพของโบสเป็นภาพความล้มเหลวทางจริยธรรมของมนุษย์ โบสใช้ภาพปีศาจ, มนุษย์ครึ่งสัตว์, และเครื่องกลไกในการสร้างความกลัว, ความสับสน และการแสดงความเลวของมนุษย์ งานจะซับซ้อนและมีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง เต็มไปด้วยจินตนาการและการใช้รูปสัญลักษณ์ บางสัญลักษณ์ก็เป็นสัญลักษณ์ที่ตีความหมายได้ยากแม้แต่ในสมัยของโบสเอง.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และฮีเยโรนีมึส โบส · ดูเพิ่มเติม »

จริยธรรม

ริยธรรม หรือ จริยศาสตร์ เป็นหนึ่งในวิชาหลักของวิชาปรัชญา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับความดีงามทางสังคมมนุษย์ จำแนกแยกแยะว่าสิ่งไหนถูกและสิ่งไหนผิด หากจะอธิบายอย่างง่ายๆ แล้ว จริยธรรม หมายถึง การแยกสิ่งถูกจากผิด ดีจากเลว มาจากคำ 2 คำคือ จริย กับธรรม ซึ่งแปลตามศัพท์ คือ จริยะ แปลว่า ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ คำว่า ธรรม แปลว่า คุณความดี คำสั่งสอนในศาสนา หลักปฏิบัติในทางศาสนา ความจริง ความยุติธรรม ความถูกต้อง กฎเกณฑ์ เมื่อเอาคำ จริยะ มาต่อกับคำว่า ธรรม เป็นจริยธรรม แปลเอาความหมายว่า กฎเกณฑ์แห่งความประพฤติ หรือหลักความจริงที่เป็นแนวทางแห่งความประพฤติปฏิบัติ ความหมายตามพจนานุกรมในภาษาไทย จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติ ศีลธรรมอันดี ตามธรรมเนียมยุโรป อาจเรียก จริยธรรมว่า Moral philosophy (หลักจริยธรรม) จริยธรรม น. ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และจริยธรรม · ดูเพิ่มเติม »

จริตนิยม

ในภาพเขียน “แม่พระพระศอยาว” (Madonna with the Long Neck)-(ค.ศ. 1534-1540) โดยปาร์มีจานีโน แมนเนอริสม์แสดงโดยการทำให้สัดส่วนยาวขึ้นซึ่งทำให้มีผลต่อการวางรูปและบิดเบือนทัศนมิติไม่กระจ่างแจ้ง จริตนิยม (Mannerism) คือยุคของศิลปะของจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และการตกแต่ง ที่เริ่มตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาสมัยทึ่รุ่งเรืองที่สุดราวปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และจริตนิยม · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น คอนสตาเบิล

อห์น คอนสตาเบิล (John Constable) (11 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 - 31 มีนาคม ค.ศ. 1837) เป็นจิตรกรชาวอังกฤษของยุคจินตนิยมของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีชื่อเสียงจากเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์ของบริเวณเดแดมเวลซึ่งเป็นบริเวณที่มีทิวทัศน์งดงามที่ตั้งอยู่ระหว่างเอสเซ็กซ์-ซัฟโฟล์ค ที่ปัจจุบันเรียกว่า “Constable Country” ด้วยทั้งใจรัก คอนสตาเบิลเขียนถึงจอห์น ฟิชเชอร์ผู้เป็นเพื่อนในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และจอห์น คอนสตาเบิล · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรชั้นครู

วีนัสหลับ” (ราว ค.ศ. 1510) โดย จอร์โจเนที่หอจิตรกรชั้นครูแห่งเดรสเดน จิตรกรรมที่เขียน ราว ค.ศ. 1440 ที่ไม่ทราบนามจิตรกรที่ได้รับการระบุว่าเป็นงาน “ไม่ทราบนามครูบา” จิตรกรชั้นครู (Old Master) เป็นคำที่ใช้เรียกภาพเขียนที่เป็นงานเขียนของจิตรกรที่ถือกันว่าเป็นจิตรกรชั้นครู ผู้มีงานเขียนก่อราวปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และจิตรกรชั้นครู · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมบาโรก

“ยาม” โดย แรมบรังด์ ราว ค.ศ. 1642 เป็นตัวอย่างที่ดีของจิตรกรรมแบบบาโรก จิตรกรรมบาโรก (Baroque painting) เป็นจิตรกรรมที่เกี่ยวข้องกับขบวนการศิลปะบาโรก ซึ่งเป็นขบวนการที่เกี่ยวข้องกับระบบสัมบูรณนิยมทางการเมือง (absolutism), การปฏิรูปศาสนาซ้อน (Counter Reformation) และการฟื้นฟูโรมันคาทอลิก, from Encyclopædia Britannica Online, latest edition, full-article.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และจิตรกรรมบาโรก · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช

"ยกร่างพระเยซู" โดยปีเตอร์ พอล รูเบนส์ ราว ค.ศ. 1610–1611 จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช (Flemish Baroque painting) เป็นศิลปะที่รุ่งเรืองในบริเวณเนเธอร์แลนด์ใต้ ระหว่างราว..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และจิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมภูมิทัศน์

“เดินเล่นในฤดูใบไม้ผลิ” (Strolling About in Spring) ราว ค.ศ. 600 คนเกี่ยวข้าว” (The Harvesters) โดย ปิเอเตอร์ บรูเกล ค.ศ. 1565 “ร้อนผิดฤดูที่เวอร์มอนท์” (Indian Summer) โดยวิลลาร์ด ลีรอย เมทคาลฟ ซึ่งเป็นภาพเขียนนอกสถานที่ จิตรกรรมภูมิทัศน์ (ภาษาอังกฤษ: Landscape art) เป็นจิตรกรรม ที่แสดงทิวทัศน์เช่นภูเขา, หุบเขา, ต้นไม้, แม่น้ำ, และป่า และมักจะรวมท้องฟ้า นอกจากนั้นสภาวะอากาศก็อาจจะมีส่วนสำคัญในการวางองค์ประกอบของภาพด้วย ในคริสต์ศตวรรษที่ 1 ชาวโรมันตกแต่งห้องด้วยจิตรกรรมฝาผนังที่เป็นภาพภูมิทัศน์ซึ่งพบที่ปอมเปอีและเฮอร์คิวเลเนียม คำว่า “landscape” มาจากภาษาดัทช์ landscape “landschap” ซึ่งหมายถึงบริเวณที่เก็บเกี่ยวแล้ว และนำเข้ามาใช้ในภาษาอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เมื่อต้น คริสต์ศตวรรษที่ 15 การเขียนภาพภูมิทัศน์เป็นศิลปะการเขียนแบบหนึ่งในยุโรป ซึ่งใช้เป็นฉากหลังของกิจการต่างๆ ส่วนใหญ่จะเป็นศิลปะคริสต์ศาสนา เช่น ภาพในหัวเรื่อง “พระเยซูหนีไปอียิปต์”, หรือฉากการเดินทางของแมไจเพื่อนำของขวัญมาให้พระเยซู หรือ ภาพเขียนเกี่ยวกับนักบุญเจอโรมเมื่อไปจำศีลอยู่ในทะเลทราย การเขียนภาพภูมิทัศน์ของจีนจะเป็นภูมิทัศน์ล้วนๆ ถ้ามีคนอยู่ในรูปก็จะเป็นส่วนประกอบที่ไม่สำคัญหรือเพียงเป็นสิ่งเทียบถึงขนาดของธรรมชาติ และเป็นการเชิญชวนให้ผู้ชมภาพมีความรู้สึกว่ามีส่วนร่วมในภาพเขียน การเขียนภาพลักษณะนี้มีลักษณะสมบูรณ์แบบมาตั้งแต่การเขียนภาพด้วยหมึก ในยุโรปจอห์น รัสคิน และ เซอร์เค็นเน็ธ คลาคกล่าวว่าการเขียนภาพภูมิทัศน์เป็นศิลปะที่สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้คนเกิดความซาบซึ้งในความสวยงามของธรรมชาติ คลาคกล่าวว่าในการเขียนภาพภูมิทัศน์ตั้งอยู่บนพื้นฐานสี่อย่าง: การยอมรับในสัญลักษณ์ที่เห็น, ความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับธรรมชาติ, การสร้างจินตนิยมที่มึพี้นฐานมาจากความกลัวธรรมชาติ และ ความเชื่อที่ว่าทุกสิ่งทุกอย่างจะลงเอยด้วยดีที่เป็นสิ่งที่สามารถทำให้เกิดขึ้นได้ ในสหรัฐอเมริกาช่างเขียนภาพสกุลศิลปะลุ่มแม่น้ำฮัดสันที่รุ่งเรื่องราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีชื่อเสียงในการวิวัฒนาการเขียนภาพภูมิทัศน์ นักเขียนภาพกลุ่มนี้สร้างภาพเขียนขนาดยักษ์เพื่อจะสามารถพยายามแสดงความยิ่งใหญ่ของภูมิทัศน์ตามที่เห็น ปรัชญาของงานของทอมัส โคลซึ่งถือกันว่าเป็นผู้ก่อตั้งตระกูลการเขียนนี้ก็เช่นเดียวกับปรัชญาการเขียนภาพภูมิทัศน์ในยุโรป — เป็นความศรัทธาของมนุษย์ที่ทำให้มีความรู้สึกดีขึ้นจากการซาบซึ้งในคุณค่าของความสวยงามและความมหัศจรรย์ของธรรมชาติ งานของศิลปินตระกูลแม่น้ำฮัดสันรุ่นหลังเช่นงานของ แอลเบิร์ต เบียร์สตัดท์จะสร้างงานที่สร้างความน่ากลัวขึ้นโดยการเน้นอำนาจของธรรมชาติ นักสำรวจ, นักธรรมชาติวิทยา, ชาวทะเล, พ่อค้า, หรือผู้ตั้งถิ่นฐานที่มาถึงแผ่นดินแคนาดาเมื่อสมัยแรกๆ ในการสำรวจต้องเผชิญกับธรรมชาติที่ค่อนข้างจะอันตรายจากทะเล นักสำรวจเหล่านี้พยายามปรับปรุงสถานการณ์โดยการทำแผนที่, บันทึก, และตั้งหลักแหล่ง ความเข้าใจธรรมชาติจากการสังเกตของแต่ละคนก็ต่างกันไป บันทึกจากความรู้สึกเหล่านี้มีตั้งแต่ถูกต้องตามความเป็นจริงไปจนการจินตนาการที่เกินความจริงเอามากๆ และการสังเกตเหล่านี้ก็ถูกบันทึกในรูปของภาพภูมิทัศน์ ภาพเขียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีของการเขียนภาพภูมิทัศน์คานาดาคือภาพจากจิตรกรใน “กลุ่มเจ็ดคน” (Group of Seven) ที่มีชื่อเสียงในคริสต์ทศศตวรรษ.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และจิตรกรรมภูมิทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์

ตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ (Dutch Golden Age painting) คือช่วงระยะหนึ่งของประวัติศาสตร์จิตรกรรมของเนเธอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ราว ค.ศ. 1584 มาจนถึง ค.ศ. 1702 เมื่อการค้าขาย, วิทยาศาสตร์ และศิลปะของเนเธอร์แลนด์เป็นทีเจริญถึงจุดสูงสุดและเลื่องลือไปทั่วโลก จิตรกรของสมัยนี้สร้างแบบฉบับการเขียนงานจิตรกรรม และ ทิ้งอิทธิพลงานที่เป็นอนุสรณ์ต่อนักเขียนภาพรุ่นต่อมาเป็นอันมาก.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบดัตช์และเฟลมิช

ตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบดัตช์และเฟลมิช (Dutch and Flemish Renaissance painting) เป็นจิตรกรรมของคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นศิลปะที่โต้ตอบศิลปะสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบอิตาลีของกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ ศิลปินกลุ่มนี้ที่เริ่มจากจิตรกรจริตนิยมแอนต์เวิร์ป และฮีเยโรนีมึส โบส เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษจนถึงปลายสมัยจิตรกรจริตนิยม เช่น ฟรันส์ โฟลริส (Frans Floris) และกาเริล ฟัน มันเดอร์ (Karel van Mander) ในตอนปลาย ซึ่งเป็นศิลปะที่วิวัฒนาการมาจากการเขียนแบบใหม่ในอิตาลีและงานเขียนแบบท้องถิ่นของจิตรกรสมัยเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก แอนต์เวิร์ปกลายเป็นเมืองศูนย์กลางของศิลปะในบริเวณนั้น จิตรกรหลายคนทำงานให้กับราชสำนักในยุโรปรวมทั้งฮีเยโรนีมึส โบส ผู้ที่มีลักษณะการเขียนที่เป็นที่เลื่องลือ, ยัน มาบูซ (Jan Mabuse), มาร์เติน ฟัน เฮมสแกร์ก (Maarten van Heemskerck), ฟรันส์ โฟลริส (Frans Floris) ต่างก็มีบทบาทในการนำแบบการวาดของอิตาลีเข้ามาผสมกับลักษณะการเขียนของตนเอง นอกจากนั้นจิตรกรดัตช์และเฟลมิชก็ยังมีบทบาทในการริเริ่มหัวข้อการวาดใหม่ เช่น จิตรกรรมภูมิทัศน์ จิตรกรรมชีวิตประจำวัน ตัวอย่างเช่นงานเขียนของโยอาคิม ปาตีนีร์ (Joachim Patinir) ที่มีบทบาทสำคัญในการวิวัฒนาการการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์ ขณะเดียวกับที่ปีเตอร์ เบรอเคิล (ผู้พ่อ) และปีเตอร์ อาร์ตเซิน (Pieter Aertsen) ช่วยทำให้จิตรกรรมชีวิตประจำวันเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หล.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบดัตช์และเฟลมิช · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมตะวันตก

“สาวใส่ต่างหูมุก” (ค.ศ. 1665 - 1667) โดย โยฮันส์ เวร์เมร์ หรือรู้จักกันในชื่อ “โมนาลิซาเหนือ” จิตรกรรมตะวันตก (Western painting) ประวัติของจิตรกรรมตะวันตกเป็นประวัติที่ต่อเนื่องกันมาจากการเขียนภาพตั้งแต่ก่อนยุคกลางหรือศิลปะของกรีกและโรมัน เริ่มแรกการเขียนภาพเป็นแบบศิลปะแสดงลักษณ์ (Representational art) และลวดลายแบบกรีกและโรมันมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 จึงวิวัฒนาการมาเป็นศิลปะนามธรรม (Abstract art) และศิลป์มโนทัศน์ (Conceptual art) การวิวัฒนาการของจิตรกรรมตะวันตกคล้ายคลึงกับการวิวัฒนาการของจิตรกรรมตะวันออกโดยทั่วไปในสองสามร้อยปีหลัง ศิลปะแอฟริกา, ศิลปะอิสลาม, ศิลปะอินเดีย, ศิลปะจีน, และศิลปะญี่ปุ่น แต่ละอย่างที่กล่าวมาต่างก็มีอิทธิพลสำคัญต่อศิลปก และในที่สุดศิลปะก็กลับไปมีอิทธิพลต่อศิลปะตะวันออก จิตรกรรมตะวันตกเริ่มด้วยการเขียนภาพสำหรับสถาบันศาสนา ต่อมาผู้อุปถัมภ์ก็ขยายออกมารวมถึงเจ้านายและชนชั้นกลาง ตั้งแต่ยุคกลาง มาจนถึง ยุคเรเนสซองส์ จิตรกรสร้างงานให้กับสถาบันศาสนาและลูกค้าผู้มั่งคั่ง พอมาถึงสมัยสมัยบาโรกจิตรกรก็รับงานจากผู้มีการศึกษาดีขึ้นและจากชนชั้นกลางผู้มีฐานะดี ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 จิตรกรก็เป็นอิสระจากความต้องการของผู้อุปถัมภ์หรือลูกค้าในการวาดแต่เพียงภาพที่เกี่ยวกับคริสต์ศาสนา ตำนานเทพ ภาพเหมือน หรือ ภาพเขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ปรัชญาที่ว่า “ศิลปะเพื่อศิลปะ” (art for art's sake) ก็เริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นโดยการแสดงออกทางผลงานเช่นงานเขียนของฟรานซิสโก โกยา, จอห์น คอนสเตเบิล (John Constable) และ เจย์ เอ็ม ดับเบิลยู เทอร์เนอร์ (J.M.W. Turner) สมัยที่รุ่งเรืองที่สุดของการเขียนภาพเกิดขึ้นในทวีปยุโรประหว่างยุคเรเนสซองส์ซึ่งเป็นสมัยที่มีการวิวัฒนาการต่างๆ รวมทั้งการวาดเส้น การเขียนแบบทัศนียภาพ การสร้างสถาปัตยกรรมใหญ่ๆ การทอพรมแขวนผนัง การสร้างหน้าต่างประดับกระจกสี การสร้างประติมากรรม และเป็นสมัยก่อนหน้าและหลังจากการประดิษฐ์แท่นพิมพ์ หลังจากการพัฒนาในด้านต่างๆ ในยุคเรเนสซองส์ จิตรกรรมตะวันตกตั้งแต่ยุคบาโรกมาจนถึงศิลปะร่วมสมัยก็ยังคงวิวัฒนาการต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 21.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และจิตรกรรมตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมประวัติศาสตร์

“วันสุดท้ายของปอมเปอี” (ค.ศ. 1833) เป็นตัวอย่างที่ดีของภาพเขียนประวัติศาสตร์ จิตรกรรมประวัติศาสตร์ (History painting) เริ่มเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ ค.ศ. 1667 โดยอันเดร เฟลิเบียน (André Félibien) จิตกรประวัติศาสตร์, สถาปนิก, นักทฤษฎีคลาสสิกซิสม์ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นลักษณะที่ระบบ “การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะ” (Hierarchy of genres) ถือว่าเป็นประเภทการเขียนภาพที่มีคุณค่าสูงที่สุดในบรรดาการเขียนภาพประเภทต่าง.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และจิตรกรรมประวัติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมเฟลมิช

ตรกรรมเฟลมิช (Flemish painting) รุ่งเรืองตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 บริเวณฟลานเดอส์เป็นบริเวณที่มีจิตรกรสำคัญ ๆ ทางตอนเหนือของยุโรปและเป็นที่ดึงดูดจิตรกรจากประเทศข้างเคียง จิตรกรเหล่านี้นอกจากจะมีผลงานในฟลานเดอส์แล้วยังได้รับการเชิญให้ไปเป็นช่างเขียนประจำราชสำนักและสำนักต่าง ๆ ในยุโรป.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และจิตรกรรมเฟลมิช · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก

ตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก (Early Netherlandish painting) เป็นงานจิตรกรรมของจิตรกรในบริเวณกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ของสมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยาตอนเหนือโดยเฉพาะในบริเวณเมืองบรูชและเกนต์ ที่เริ่มในช่วงเวลาเดียวกับที่ยัน ฟัน ไอก์ เริ่มอาชีพเป็นจิตรกร ฟัน ไอก์มีชื่อเสียงจนกระทั่งได้รับชื่อว่าเป็นจิตรกรอะเพลลีสคนใหม่ของยุโรปตอนเหนือ เรื่อยมาจนถึงภาพเขียนโดยกาเริล ฟัน มันเดอร์ (Karel van Mander) ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 และมาจบลงด้วยเคราร์ด ดาฟิด ราว ค.ศ. 1520 ยุคนี้เป็นช่วงเวลาไล่เลี่ยกับสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีตอนต้นและตอนสูง แต่เป็นขบวนการศิลปะที่มีคุณค่าทางวัฒนธรรมที่ต่างจากลัทธิมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ที่รุ่งเรืองในเวลาเดียวกันในตอนกลางของอิตาลีJanson, H.W. Janson's History of Art: Western Tradition.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก · ดูเพิ่มเติม »

จูดิธ เลย์สเตอร์

ูดิธ เลย์สเตอร์ (Judith Jans Leijster, Judith Jans Leyster) (28 กรกฎาคม ค.ศ. 1609 - 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1660) เป็นหนึ่งในสามจิตรกรสตรีคนสำคัญชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 (อีกสองคนคือราเชล รุยสช์ และ มาเรีย ฟาน อูสเตอร์วิค ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมภาพนิ่งของดอกไม้) เลย์สเตอร์ถนัดทางการเขียนภาพชีวิตประจำวันเป็นส่วนใหญ่ ภาพเขียนที่ระบุว่าเป็นงานของเลย์สเตอร์มีตั้งแต่ 20 จนถึง 35 ภาพ แต่จูดิธก็แทบจะเลิกเขียนภาพหลังจากการสมรสและมีบุตรธิดาห้าคน.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และจูดิธ เลย์สเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทาเวิร์น

ียนภายในทาเวิร์นโดยจิตรกรดัตช์เดิร์ค ฮาลส์ในปี ค.ศ. 1628 ที่เป็นภาพพจน์ของบรรยากาศภายในทาเวิร์นในยุโรป ทาเวิร์น (Tavern) ความหมายอย่างกว้างของทาเวิร์นคือสถานที่ประกอบธุรกิจที่บริการขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และอาหาร แต่ไม่มีบริการสำหรับเป็นที่พำนัก เช่นโรงเตี๊ยมที่ลูกค้าใช้เป็นที่พบปะสังสรรค์ คำว่า “tavern” มาจากภาษาละติน “taverna” และจากภาษากรีก “ταβέρνα” (taverna) ที่มึความหมายเดิมว่า “เพิง” (shed) “โรงทำงาน” (workshop) ความแตกต่างระหว่างทาเวิร์นกับโรงเตี๊ยม หรือ บาร์ หรือ ผับ (pub) ก็แล้วแต่ละท้องถิ่น บางท้องถิ่นก็อาจจะเป็นสถานที่เดียวกัน บางแห่งก็แยกจากกันตามใบอนุญาตที่ระบุข้อกำหนดของแต่ละสถานที่ประกอบธุรกิจทางกฎหมาย ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอังกฤษ ทาเวิร์นแยกจากโรงเอล (public ale house) ก็เพียงตรงที่ทาเวิร์นเป็นธุรกิจส่วนบุคคล และลูกค้าเป็น “แขก” แทนที่จะเป็นสาธารณชนทั่วไป ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วก็มิได้แตกต่างกันแต่อย่างใ.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และทาเวิร์น · ดูเพิ่มเติม »

ของขวัญดัตช์

“ภาพเหมือนของจาโคโป ซานนาซาโร” โดย ทิเชียน, ราว ค.ศ. 1514-ค.ศ. 1518 ของขวัญดัตช์ ของปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และของขวัญดัตช์ · ดูเพิ่มเติม »

ดีร์ก ฟัน บาบือเริน

ีร์ก ยัสเปิร์สโซน ฟัน บาบือเริน (Dirck Jasperszoon van Baburen) หรือ เตโอดูร์ ฟัน บาบือเริน (Teodoer van Baburen; ราว ค.ศ. 1595 - 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1624) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพประวัติศาสตร์, คริสต์ศาสนา และชีวิตประจำวัน.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และดีร์ก ฟัน บาบือเริน · ดูเพิ่มเติม »

คัมภีร์ไบเบิล

ัมภีร์ไบเบิลกูเทนแบร์ก คัมภีร์ไบเบิลฉบับพิมพ์ครั้งแรก คัมภีร์ไบเบิลราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 99 (Bible; ביבליה; ܟܬܒܐ ܩܕܝܫܐ; Αγία Γραφή) (มาจากภาษากรีกโบราณว่า Βίβλος บิบลิออน แปลว่า หนังสือ) ชาวโปรเตสแตนต์เรียกว่า พระคริสตธรรมคัมภีร์ (Holy Bible) เรียกโดยย่อว่า พระคัมภีร์ เป็นหนังสือที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับพระยาห์เวห์ มนุษย์ ความบาป และแผนการของพระเจ้าในการช่วยมนุษย์ให้รอดพ้นจากความพินาศอันเนื่องจากความบาปสู่ชีวิตนิรันดร์ เป็นหนังสือที่บันทึกหลักธรรมคำสอนของศาสนาคริสต์ ซึ่งในบางเล่มมีพื้นฐานมาจากหลักคำสอนของศาสนายูดาห์ของชาวยิว ชาวคริสต์เรียกคัมภีร์ไบเบิลในชื่ออื่น ๆ อีกหลายชื่อเช่น พระวจนะของพระเจ้า (Word of God) หนังสือดี (Good Book) และคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ (Holy Scripture) คริสตชนทุกคนเชื่อว่าพระคัมภีร์ทุกบททุกข้อนั้นมนุษย์เขียนขึ้นโดยการดลใจจากพระเจ้า ประกอบด้วยหนังสือจำนวน 66 หรือ 73 หรือ 78 เล่ม (แล้วแต่นิกาย) ประกอบด้วยภาคพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ พันธสัญญาเดิมถูกเขียนขึ้นก่อนที่พระเยซูคริสต์ประสูติ ทั้งหมดเขียนเป็นภาษาฮีบรู ยกเว้นส่วนที่เป็นคัมภีร์อธิกธรรม (ยอมรับเฉพาะชาวคาทอลิก) ถูกเขียนด้วยภาษากรีกและภาษาอียิปต์ ส่วนพันธสัญญาใหม่ถูกเขียนขึ้นหลังจากพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว โดยบันทึกถึงเรื่องราวของพระเยซูตลอดพระชนม์ชีพ รวมทั้งคำสอน และการประกาศข่าวดีแห่งความรอด การยอมรับการทรมาน และการไถ่บาปของมนุษย์โดยพระเยซู การกลับคืนชีพอย่างรุ่งโรจน์ การส่งพระวิญญาณบริสุทธิ์มายังอัครทูต ประวัติศาสตร์ของคริสตจักรในยุคแรกเริ่ม ภายหลังการกลับคืนพระชนม์ชีพของพระเยซูแล้ว การเบียดเบียนคริสตจักรในรูปแบบต่าง ๆ พระคัมภีร์เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนังสือที่ขายดีที่สุดของเวลาทั้งหมดที่มียอดขายต่อปีประมาณ 100 ล้านเล่มและได้รับอิทธิพลสำคัญในวรรณคดีและประวัติศาสตร.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และคัมภีร์ไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

คาลวิน

ลวิน หรือ แคลวิน (Calvin) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และคาลวิน · ดูเพิ่มเติม »

ค่าต่างแสง

ต่างแสง (Chiaroscuro, แปลว่า แสง-ความมืด) เป็นศัพท์ที่ใช้ในการบรรยายงานศิลปะที่ใช้ความตัดกันของความมืดกับความสว่าง ซึ่งเป็นคำที่มักจะใช้สำหรับภาพเขียนที่ใช้การตัดกันอย่างรุนแรงที่มีผลต่อองค์ประกอบของภาพทั้งภาพ ลักษณะของภาพก็คล้ายกับการใช้สป็อตไลท์บนเวที แต่ศิลปินและนักประวัติศาสตร์ศิลป์ก็ใช้คำนี้ในการกล่าวถึงเท็คนิคการใช้ค่าแตกต่างของแสงซึ่งไม่จำเป็นต้องรุนแรง เพื่อให้เกิดความรู้สึกว่าเป็นมวลในการเขียนสิ่งที่เป็นสามมิติ เช่นร่างกายของมนุษย์ ในปัจจุบันคำนี้ก็ใช้ในการบรรยายภาพถ่ายหรือภาพยนตร์ที่ปรากฏออกมาในลักษณะนี้.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และค่าต่างแสง · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยา

วีนัสเดอมิโลที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ ประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยา (Art history) ตามที่เข้าใจกันในประวัติศาสตร์หมายถึงสาขาวิชาทางด้านงานศิลปะที่เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาทางประวัติศาสตร์และบริบทของลักษณะ (stylistic contexts) เช่น ประเภทของศิลปะ (genre), ลักษณะการออกแบบ (design), รูปทรง (format) และ การออกมาเป็นรูปร่าง (look) ซึ่งรวมทั้งศิลปะสาขาหลักที่ได้แก่จิตรกรรม ประติมากรรม และ สถาปัตยกรรม และรวมทั้งสาขาย่อยเช่นเซรามิค เฟอร์นิเจอร์ และศิลปะการตกแต่งอื่นๆ หลักของสาขาวิชานี้มาจากงานชิ้นสำคัญๆ ที่สร้างโดยศิลปินตะวันตก และกฎว่าด้วยศิลปะตะวันตกก็ยังเป็นแกนสำคัญในการเลือกสรรงานที่ได้รับการบรรยายในตำราประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยามาจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อมีการพยายามที่จะวางความหมายของสาขาวิชานี้ใหม่ให้กว้างขึ้น เพื่อรวมศิลปะที่ไม่ใช่ศิลปะตะวันตก, ศิลปะที่สร้างโดยศิลปินสตรี และศิลปะพื้นบ้านเข้าด้วย คำว่า “ประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยา” (หรือบางครั้งก็เรียกว่า “ประวัติศาสตร์ศิลป์”) ครอบคลุมวิธีการศึกษาจักษุศิลป์หลายวิธี ที่โดยทั่วไปหมายถึงงานศิลปะ และ งานสถาปัตยกรรม สาขาของการศึกษาต่างๆ บางครั้งก็คาบกันเช่นที่นักประวัติศาสตร์ศิลป์เอิร์นสท กอมบริค ตั้งข้อสังเกตไว้ว่า “สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลป์ก็คล้ายกับบริเวณกอลของจูเลียส ซีซาร์ที่แบ่งออกเป็นสามส่วน อาศัยอยู่โดยชนสามเผ่าพันธุ์ที่ไม่จำเป็นต้องเป็นปฏิปักษ์ต่อกัน: (1) ผู้ที่เป็นคอศิลป์ (connoisseurs), (2) ผู้ที่เป็นนักวิพากษ์ศิลป์ และ (3) ผู้ที่เป็นนักวิชาการจากสถาบันผู้เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านประวัติศาสตร์ศิลป์” ในฐานะที่เป็นศาสตร์สาขาหนึ่งประวัติศาสตร์ศิลป์ต่างจากการวิพากษ์ศิลปะที่จะเน้นการสร้างพื้นฐานของคุณค่าของศิลปะโดยการเปรียบเทียบกับงานชิ้นอื่นที่เปรียบเทียบกันได้ทางด้านลักษณะ หรือการหันหลังให้แก่ลักษณะ หรือขบวนการศิลปะทั้งหมดที่พิจารณา และต่างจาก “ทฤษฎีศิลป์” (art theory) หรือ “ปรัชญาศิลป์” (philosophy of art) ที่คำนึงถึงธรรมชาติพื้นฐานของศิลปะ สาขาย่อยสาขาหนึ่งของการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลป์คือวิชาสุนทรียศาสตร์ (aesthetics) ซึ่งเป็นการศึกษาถึงสุนทรียปรัชญา (Sublime) และการระบุหัวใจของสิ่งที่ได้ชื่อว่าเป็นสิ่งที่มีความเป็นสุนทรีย์ แต่ตามทฤษฎีแล้วประวัติศาสตร์ศิลป์ไม่ใช่สิ่งที่กล่าวมาเพราะนักประวัติศาสตร์ศิลป์ใช้การวิจัยโดยวิธีประวัติศาสตร์ (historical method) ในการตอบคำถาม “ศิลปินสร้างงานขึ้นมาได้อย่างไร”, “ใครเป็นผู้อุปถัมภ์”, “ใครเป็นครู”, “ใครคือผู้ชมงาน”, “ใครเป็นผู้ได้รับอิทธิพลจากลักษณะงาน”, “ประวัติศาสตร์ตอนใดที่มีอิทธิพลต่องาน” และ “งานที่สร้างมีผลทางเหตุการณ์ทางศิลปะ การเมือง และ สังคมอย่างใด” แต่กระนั้นประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยาก็มิได้หมายความว่าเป็นการศึกษาที่เกี่ยวกับการติดตามประวัติของงานเท่านั้น อันที่จริงแล้วนักประวัติศาสตร์ศิลป์มักจะวางพื้นฐานมาตรการการศึกษาโดยการวิเคราะห์งานแต่ละชิ้น และพยายามตอบปัญหาต่างๆ เช่น “อะไรคือสิ่งสำคัญของลักษณะของสิ่งที่ศึกษา”, “ความหมายใดที่งานชิ้นนี้พยายามสื่อ”, “งานชิ้นนี้มีผลต่อการดูอย่างใด”, “ศิลปินบรรลุจุดประสงค์ที่ต้องการหรือไม่”, “งานที่ศึกษาประกอบด้วยสัญลักษณ์อะไรบ้าง” และ “งานที่ศึกษาเป็นงานที่ออกนอกประเด็นหรือไม่”.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ของจิตรกรรม

ียนก่อนประวัติศาสตร์บนผนังถ้ำเป็นรูปวัวที่ลาส์โกซ์ (Lascaux) ในประเทศฝรั่งเศส ประวัติศาสตร์ของจิตรกรรม (ภาษาอังกฤษ: History of painting) เริ่มสร้างกันมาตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์และเผยแพร่ไปในทุกวัฒนธรรมและทุกที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ในโลกจนกระทั่งปัจจุบันนี้ จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรที่ 20 จิตรกรรมจะเป็นการเขียนศิลปะแสดงลักษณ์ (Representational art), ศิลปะศาสนา หรือศิลปะคลาสสิก หลังจากนั้นจึงมีการเริ่มเขียนจิตรกรรมที่เป็นแต่เพียงศิลปะนามธรรม (Abstract art) และต่อมาศิลป์มโนทัศน์ (Conceptual art) การวิวัฒนาการของจิตรกรรมตะวันตกคล้ายคลึงกับการวิวัฒนาการของจิตรกรรมตะวันออกโดยทั่วไปในสองสามร้อยปีหลัง ศิลปะแอฟริกา, ศิลปะอิสลาม, ศิลปะอินเดีย, ศิลปะจีน, และศิลปะญี่ปุ่น แต่ละอย่างที่กล่าวมาต่างก็มีอิทธิพลสำคัญต่อศิลปะตะวันตก และในที่สุดศิลปะก็กลับไปมีอิทธิพลต่อศิลปะตะวันออก.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และประวัติศาสตร์ของจิตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ปรัมปราวิทยา

ประมวลเรื่องปรัมปราราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 4, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 68 (mythology) หมายถึง การรวบรวมเรื่องปรัมปรา (myth) เกี่ยวกับธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ และจารีตประเพณี ของกลุ่มชนหนึ่ง และเรียกวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องปรัมปราเหล่านี้ว่า ปรัมปราวิทยา หรือ ปุราณวิทยา (mythology).

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และปรัมปราวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ ลัสต์มัน

ปีเตอร์ ปีเตอส์โซน ลัสต์มัน (Pieter Pieterszoon Lastman; ค.ศ. 1583 - 4 เมษายน ค.ศ. 1633) เป็นจิตรกรคนสำคัญชาวดัตช์ ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ปีเตอร์ ลัสต์มันมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมประวัติศาสตร์ ความสำคัญของลัสต์มันไม่ใช่แต่เพียงภาพที่เขียน แต่ตรงที่เป็นครูของแร็มบรันต์และยัน ลีเฟินส์ ด้วย การเขียนของลัสต์มันเน้นรายละเอียดของใบหน้า มือ และเท้.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และปีเตอร์ ลัสต์มัน · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ เบรอเคิล (ผู้พ่อ)

ปีเตอร์ เบรอเคิล ชัยชนะของความตาย (The Triumph of Death) ประมาณ พ.ศ. 2105 (ค.ศ.1562) พิพิธภัณฑ์ปราโด มาดริด ปีเตอร์ เบรอเคิล ผู้พ่อ (Pieter Bruegel de Oude,; Pieter Bruegel the Elder; พ.ศ. 2068 - 9 กันยายน พ.ศ. 2112) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบดัตช์และเฟลมิช เบรอเคิลมีชื่อเสียงในด้านการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์และภาพชีวิตประจำวันโดยเฉพาะของเกษตรกร ที่ทำให้ได้รับสมญาว่า "Peasant Bruegel" เพื่อให้ต่างจากสมาชิกผู้อื่นในตระกูล "Brueghel" ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และปีเตอร์ เบรอเคิล (ผู้พ่อ) · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ เดอ โฮค

ปีเตอร์ เดอ โฮค (Pieter de Hooch, Hoogh หรือ Hooghe; 20 ธันวาคม ค.ศ. 1629 (รับศีลจุ่ม) - ค.ศ. 1684) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ปีเตอร์ เดอ โฮคมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวันและเป็นจิตรกรที่มีลักษณะการเขียนที่คล้ายคลึงกับโยฮันเนิส เฟอร์เมร.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และปีเตอร์ เดอ โฮค · ดูเพิ่มเติม »

แฟร์ดีนันด์ โบล

แฟร์ดีนันด์ โบล (Ferdinand Bol; 24 มิถุนายน ค.ศ. 1616 - 24 สิงหาคม ค.ศ. 1680) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 แม้ว่าจะมีงานของโบลเหลืออยู่เพียงไม่กี่ชิ้นแต่ก็ยังแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลที่ได้รับจากแร็มบรันต์ โบลมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมประวัติศาสตร์ ภาพเหมือน และภาพเหมือนตนเอง.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และแฟร์ดีนันด์ โบล · ดูเพิ่มเติม »

แร็มบรันต์

แร็มบรันต์ 100px แร็มบรันต์ ฮาร์เมินส์โซน ฟัน ไรน์ (Rembrandt Harmenszoon van Rijn; 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2149 - 4 ตุลาคม พ.ศ. 2212) เป็นจิตรกรและช่างพิมพ์ในประวัติศาสตร์ศิลปะยุโรปและเป็นจิตรกรที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดรายหนึ่งของโลก ผลงานของแร็มบรันต์ทำให้เนเธอร์แลนด์รุ่งเรืองสุดขีดหรือที่เรียกว่ายุคทองในช่วงศตวรรษที่ 17 และเป็นผู้มีอำนาจทั้งด้านอิทธิพลการเมือง วิทยาศาสตร์ พาณิชย์ และวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องจิตรกรรม เขาเป็นบุตรคนที่ 9 ของครอบครัวเจ้าของโรงงานและหุ้นส่วนโรงสีลมในเมืองไลเดิน เนเธอร์แลนด์ พี่น้องของแร็มบรันต์ถูกฝึกหัดเป็นเจ้าของโรงงาน คนทำขนมปัง หรือช่างทำรองเท้า แต่พ่อแม่ส่งลูกคนเล็กสุดของพวกเขาตอนอายุเจ็ดขวบไปที่โรงเรียนประถมมัธยมศึกษาโปรเตสแตนต์ที่ซึ่งเขาเรียนภาษาละติน เมื่อเขาอายุ 14 ปี แร็มบรันต์ลงทะเบียนที่มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงของไลเดิน แต่เขาแทบจะไม่เรียนมากเพราะว่าในขณะเดียวกันเขาขอให้พ่อแม่ของเขาฝึกหัดเขาให้เป็นจิตรกร ความหวังของเขาได้รับการเติมเต็ม และเขากลายเป็นลูกศิษย์ของศิลปินท้องถิ่น ยาโกบ ฟัน สวาเนินบืร์ค (Jacob van Swanenburgh) ซึ่งเพิ่งกลับมาหลังจากการอยู่อาศัยที่ยาวนานในอิตาลี ระหว่างช่วงนี้เขาได้วาดฉากมากมายของแม่มดและนรก เขาสอนแร็มบรันต์ว่าถ่ายความรู้สึกของมนุษย์ลงในภาพอย่างไร ใช้แสงและความมืดเพื่อแบ่งแยกองค์ประกอบสำคัญจากสิ่งเล็กน้อยอย่างไร หลังจากเสร็จการฝึกหัดของเขา แร็มบรันต์ในวัยเยาว์ไปอัมสเตอร์ดัมเป็นครั้งแรก รับการสอนจากปีเตอร์ ลัสต์มัน เป็นไปได้ว่าแร็มบรันต์ใช้เวลาไม่เกินหกเดือนกับลัสต์มันก่อนกลับไปบ้านเดิมของเขาที่ไลเดิน แร็มบรันต์ฝึกงานครั้งแรกของเขา เขาใช้จ่ายร้อยกิลเดอร์ต่อปี ไม่รวมอาหารและที่พัก ต่อมาเขาควบคุมสตูดิโอขนาดใหญ่กับผู้ช่วยและเด็กฝึกงานประมาณ 50 คน พ่อของแร็มบรันต์เสียชีวิตในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และแร็มบรันต์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนต์เวิร์ป

มืองแอนต์เวิร์ป แอนต์เวิร์ป (Antwerp), อันต์แวร์เปิน (Antwerpen) หรือ อ็องแวร์ส (Anvers) เป็นเมืองในประเทศเบลเยียมและเป็นเมืองหลวงของจังหวัดแอนต์เวิร์ปในฟลานเดอส์ หนึ่งในสามบริเวณของเบลเยียม แอนต์เวิร์ปมีประชากรทั้งสิ้น 472,071 (1 มกราคม 2008) Population of all municipalities in Belgium, as of 1 January 2008.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และแอนต์เวิร์ป · ดูเพิ่มเติม »

แฮ็นดริก อาเฟอร์กัมป์

แฮ็นดริก อาเฟอร์กัมป์ (Hendrick Avercamp; รับศีล 27 มกราคม ค.ศ. 1585 - 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1634) เป็นจิตรกรคนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ชาวดัตช์ อาเฟอร์กัมป์มีชื่อเสียงในการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์ อาเฟอร์กัมป์ได้รับการศึกษาเบื้องต้นกับปีเตอร์ อีซากส์ (ค.ศ. 1569-ค.ศ. 1625) ผู้เป็นจิตรกรภาพเหมือนที่เกิดในเดนมาร์ก และอาจจะกับดาฟิด ฟิงก์โบนส์ ในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และแฮ็นดริก อาเฟอร์กัมป์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮ็นดริก ดังเกิตส์

แฮ็นดริก ดังเกิตส์ (Hendrick Danckerts; ราว ค.ศ. 1625 - ค.ศ. 1680) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ดังเกิตส์ได้รับการศึกษาเบื้องต้นในเฮก และพักอยู่ที่นั่นจนปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และแฮ็นดริก ดังเกิตส์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮ็นดริก เตอร์บรึคเคิน

แฮ็นดริก ยันส์โซน เตอร์บรึคเคิน (Hendrick Janszoon Terbrugghen หรือ ter Brugghen; ค.ศ. 1588 - 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1629) เป็นจิตรกรคนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เตอร์บรึคเคินเป็นหนึ่งในผู้นำจิตรกรชาวดัตช์ที่ได้รับอิทธิพลจากงานเขียนของการาวัจโจที่เรียกว่า "กลุ่มการาวัจโจแห่งยูเทรกต์".

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และแฮ็นดริก เตอร์บรึคเคิน · ดูเพิ่มเติม »

แคร์ริต เดา

แคร์ริต เดา หรือ เคราร์ด เดา (Gerrit Dou, Gerard Dou; 7 เมษายน ค.ศ. 1613 - 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1675) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 แคร์ริตมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวันที่มีลักษณะที่เรียกว่า จิตรกรรมไลเดิน (Leidse Fijnschilders) และมีลักษณะการเขียนที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่เป็นศิลปะเชิง 3 มิติ และการใช้แสงเทียนจ้าจัดในลักษณะการเขียนที่ใช้ค่าต่างแสง (chiaroscuro) หรือแสงเงาที่ตัดกันอย่างรุนแรง.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และแคร์ริต เดา · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ

โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ (Johann Wolfgang von Goethe, 28 สิงหาคม พ.ศ. 2292 — 22 มีนาคม พ.ศ. 2375) เป็นผู้รู้รอบด้านชาวเยอรมัน เขาเป็นทั้งนักเขียนนิยาย นักเขียนบทละคร นักสิทธิมนุษยชน นักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา รวมถึงดำรงตำแหน่งสมาชิกคณะบริหารของไวมาร์ในประเทศเยอรมนีอยู่ 10 ปี เกอเทอเป็นเหมือนสัญลักษณ์ของวรรณคดีเยอรมัน คลาสสิกใหม่ของยุโรปและโรมัน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เกอเทอและงานของเขาได้ส่งผลไปทั่วยุโรปและได้สร้างแรงบันดาลใจกับงานต่อ ๆ มาทางด้าน ดนตรี การละคร และกวี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2292 หมวดหมู่:นักเขียนชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักวิทยาศาสตร์ หมวดหมู่:นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักปรัชญา หมวดหมู่:ชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักปรัชญาชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักสิทธิมนุษยชน หมวดหมู่:ผู้เขียนอัตชีวประวัติชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และโยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันเนิส เฟอร์เมร์

''สาวใส่ต่างหูมุก'' โยฮันเนิส ไรเนียส์โซน เฟอร์เมร์ (Johannes Reynierszoon Vermeer) หรือ โยฮัน เฟอร์เมร์ (Johan Vermeer; 31 ตุลาคม พ.ศ. 2175 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2218) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ มีผลงานในด้านศิลปะบาโรก มักวาดภาพที่แสดงถึงชีวิตประจำวันธรรมดาของคน เขาใช้ชีวิตอยู่ในเมืองเดลฟท์ และเป็นจิตรกรที่ประสบความสำเร็จพอสมควรในเมืองของเขา แต่ว่าไม่ได้ร่ำรวยเป็นพิเศษเพราะสร้างผลงานค่อนข้างน้อย ผลงานที่มีชื่อเสียงได้แก่ สาวใส่ต่างหูมุก ซึ่งเป็นภาพที่รู้จักกันในชื่อ "โมนาลีซาจากทางเหนือ" เฟอร์เมร์ถูกลืมไปกว่าสองร้อยปี และกลับมามีชื่อเสียงอีกครั้งเมื่อนักวิจารณ์ศิลปะชื่อ ตอเร-เบือร์เกอร์ (Thoré-Bürger) เขียนบทความระบุภาพ 66 ภาพว่าเป็นของเขา (แต่มีเพียง 35 ภาพที่เป็นที่ยอมรับอย่างแน่นอนว่าเป็นของเขาในปัจจุบัน) ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาชื่อเสียงของเฟอร์เมร์ก็เริ่มโด่งดังขึ้น ได้รับการยกย่องว่าเป็นจิตรกรที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งในสมัยยุคทองของเนเธอร์แลนด์ และเป็นที่ยอมรับในเรื่องเทคนิคการใช้แสงในผลงานของ.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และโยฮันเนิส เฟอร์เมร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเตี๊ยม

มืองโรงเตี๊ยมริมทางในอเมริกา ค.ศ. 1872 โรงเตี๊ยม (Inn) คือสถานที่ประกอบธุรกิจที่บริการที่พักสำหรับนักเดินทางที่มักจะมีบริการขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และอาหาร ที่มักจะตั้งในชนบทริมถนนที่ใช้ในการเดินทาง โรงเตี๊ยมในยุโรปอาจจะเริ่มสร้างขึ้นเมื่อมีการสร้างถนนโรมันเมื่อสองพันปีที่ผ่านมา โรงเตี๊ยมบางโรงในยุโรปมีอายุหลายร้อยปี นอกจากจะเป็นที่พักสำหรับนักเดินทางแล้ว โรงเตี๊ยมของยุโรปก็อาจจะเป็นสถานที่สำหรับการพบปะสังสรรค์ของผู้คนในท้องถิ่นด้ว.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และโรงเตี๊ยม · ดูเพิ่มเติม »

โจชัว เรย์โนลส์

ซอร์โจชัว เรย์โนลส์ (ภาษาอังกฤษ: Joshua Reynolds, RA FRS FRSA) (16 กรกฎาคม ค.ศ. 1723 - 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1792) เป็นจิตรกรชาวอังกฤษของสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเขียนสีน้ำมัน และภาพเหมือน โจชัว เรย์โนลส์เกิดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1723 ที่เมืองพลิมตันในเดวอนในอังกฤษ และเสียชีวิตเมื่อราววันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1792 ที่เมืองลอนดอนในอังกฤษ เรย์โนลด์เป็นผู้สนับสนุนการเขียนที่เรียกว่า “Grand Style” ที่เป็นการเขียนที่สร้างภาพอุดมคติจากสิ่งที่ไม่ถูกต้องสมบูรณ์แบบ เรย์โนลด์เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งและเป็นผู้อำนวยการของราชสถาบันศิลปะ เรย์โนลด์ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นเซอร์จากพระเจ้าจอร์จที่ 3.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และโจชัว เรย์โนลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไลเดิน

ลเดิน (Leiden) เป็นเมืองในจังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์ในประเทศเนเธอร์แลนด์ ไลเดินรวมเป็นเขตเมืองเขตเดียวกับ Oegstgeest, Leiderdorp, Voorschoten, Valkenburg, Rijnsburg และ Katwijk ที่ทำให้มีประชากรทั้งหมด 254,000 คน.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และไลเดิน · ดูเพิ่มเติม »

เกเมลเดกาเลรีอัลเทอไมสเทอร์

หอจิตรกรรมชั้นครูแห่งเดรสเดิน (Gemäldegalerie Alte Meister; Old Masters Picture Gallery) เป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะที่ตั้งอยู่ที่เดรสเดินในประเทศเยอรมนี “พิพิธภัณฑ์หอจิตรกรรมชั้นครูมีงานสะสมชิ้นสำคัญๆ ของศิลปินชั้นครูในประวัติศาสตร์ศิลปะเป็นจำนวนมาก หอจิตรกรรมชั้นครูเป็นส่วนหนึ่งของพิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งรัฐแห่งเดรสเดิน (Staatliche Kunstsammlungen Dresden).

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และเกเมลเดกาเลรีอัลเทอไมสเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเซยัส ฟัน เดอแฟ็ลเดอ

อเซยัส ฟัน เดอแฟ็ลเดอ (Esaias van de Velde; 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1587 - 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1630) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟัน เดอแฟ็ลเดอมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์และภาพชีวิตประจำวัน.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และเอเซยัส ฟัน เดอแฟ็ลเดอ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสาวชาวยิว

้าสาวชาวยิว (Het Joodse bruidje; The Jewish Bride) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยแร็มบรันต์ จิตรกรสมัยบาโรกชาวดัตช์ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อัมสเตอร์ดัม (Rijksmuseum) ในกรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ แร็มบรันต์เขียน "เจ้าสาวชาวยิว" เสร็จราวปี ค.ศ. 1667 ภาพเขียนได้ชื่อปัจจุบันเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อผู้สะสมศิลปะชาวอัมสเตอร์ดัมบ่งว่าชายที่อยู่ในภาพที่กำลังมอบสร้อยคอให้ลูกสาวในวันแต่งงานเป็นชาวยิว แต่การตีความหมายนี้ไม่เป็นที่ยอมรับกันในปัจจุบันและใครคือตัวแบบในภาพก็ยังไม่เป็นที่ทราบกันอย่างแน่นอน ความกำกวมยิ่งเพิ่มมากขึ้นเมื่อไม่มีรายละเอียดอื่น ๆ ในภาพที่สามารถให้คำอธิบายได้ เพียงแต่หัวข้อหลักของภาพเป็นการแสดงความรักระหว่างคนสองคน การสันนิษฐานว่าคนในรูปเป็นใครก็มีตั้งแต่ตีตึส (ลูกชายของแร็มบรันต์) และเจ้าสาว หรือกวีชาวอัมสเตอร์ดัม มิเกล เด บาร์ริโอส (Miguel de Barrios) และภรรยา ไปจนถึงคู่จากพันธสัญญาเดิม รวมทั้งอับราฮัมและซาราห์, หรือโบอาซและรูธ แต่ที่น่าจะเป็นไปได้ที่สุดคือไอแซ็คและรีเบคคาที่บรรยายในพระธรรมปฐมกาล 26:8 ซึ่งสนับสนุนโดยภาพร่างโดยศิลปินในหัวเรื่องเขียนเดียวกัน ขณะที่หลักฐานลักษณะการเขียนบ่งว่าแร็มบรันต์ตั้งใจจะเขียนภาพที่ใหญ่และหรูหรากว่า แต่ตำแหน่งลายเซ็นตรงมุมล่างซ้ายของภาพแสดงว่าขนาดภาพปัจจุบันมิได้แตกต่างไปจากขนาดที่เมื่อวาดเสร็จ องค์ประกอบของภาพคือ.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และเจ้าสาวชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

เดลฟท์

ลฟท์ (Delft) เป็นเมืองในจังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์ (Zuid-Holland) ในประเทศเนเธอร์แลนด์ ที่ตั้งอยู่ระหว่างร็อตเตอร์ดัม และ เฮก เดลฟท์มีชื่อเสียงเช่นเดียวกับเมืองดัตช์อื่นๆ ที่เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางเป็นคลอง และเป็นเมืองของโยฮันส์ เวร์เมร์, เครื่องกระเบื้องเดลฟท์ (Delftware), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งเดลฟท์ และความเกี่ยวดองกับราชวงศ์ออเรนจ์-นาซอ.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และเดลฟท์ · ดูเพิ่มเติม »

เคราร์ด ฟัน โฮนต์ฮอสต์

ราร์ด หรือ แคร์ริต แฮร์มันส์โซน ฟัน โฮนต์ฮอสต์ (Gerard, Gerrit Hermanszoon van Honthorst; 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1592 - 27 เมษายน ค.ศ. 1656) เป็นจิตรกรชาวดัตช์แห่งเมืองยูเทรกต์ในสมัยยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพเหมือน ฟัน โฮนต์ฮอสต์ได้ร่ำเรียนกับอาบราฮัม บลุมาร์ต (Abraham Bloemaert) จิตรกรและช่างพิมพ์ภาพที่เปลี่ยนจากการเขียนแบบตระกูลฟรังก์เกิน (Francken) ไปเป็นการเขียนแบบกึ่งอิตาลีเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เช่นเดียวกับจิตรกรเนเธอร์แลนด์ในขณะนั้นที่ตื่นเต้นกับการการวิวัฒนาการทางจิตรกรรมในแบบอิตาลี ฟัน โฮนต์ฮอสต์เดินทางไปอิตาลีในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และเคราร์ด ฟัน โฮนต์ฮอสต์ · ดูเพิ่มเติม »

เคราร์ด เตอร์บอร์ค

ราร์ด เตอร์บอร์ค (Gerard ter Borch) หรือ เคราร์ด เตอร์บืร์ค (Gerard Terburg; ธันวาคม ค.ศ. 1617 - 8 ธันวาคม ค.ศ. 1681) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 เตอร์บอร์คได้รับการฝึกหัดการเขียนเป็นอย่างดีจากบิดาและมีพรสวรรค์ในการเขียนภาพตั้งแต่ยังอายุไม่มาก เตอร์บอร์คมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวันและภาพเหมือน.

ใหม่!!: จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และเคราร์ด เตอร์บอร์ค · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Dutch Golden Age painting

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »