โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาดรียาน เบราเวอร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาดรียาน เบราเวอร์

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ vs. อาดรียาน เบราเวอร์

ตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ (Dutch Golden Age painting) คือช่วงระยะหนึ่งของประวัติศาสตร์จิตรกรรมของเนเธอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ราว ค.ศ. 1584 มาจนถึง ค.ศ. 1702 เมื่อการค้าขาย, วิทยาศาสตร์ และศิลปะของเนเธอร์แลนด์เป็นทีเจริญถึงจุดสูงสุดและเลื่องลือไปทั่วโลก จิตรกรของสมัยนี้สร้างแบบฉบับการเขียนงานจิตรกรรม และ ทิ้งอิทธิพลงานที่เป็นอนุสรณ์ต่อนักเขียนภาพรุ่นต่อมาเป็นอันมาก. อาดรียาน เบราเวอร์ (Adriaen Brouwer; ค.ศ. 1605 - มกราคม ค.ศ. 1638) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 เบราเวอร์ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวันทำงานส่วนใหญ่ในฟลานเดอส์และสาธารณรัฐดัต.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาดรียาน เบราเวอร์

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาดรียาน เบราเวอร์ มี 13 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟรันส์ ฮัลส์ภาพชีวิตประจำวันภาพเหมือนสมาคมช่างนักบุญลูกาสาธารณรัฐดัตช์อัมสเตอร์ดัมอันโตน ฟัน ไดก์อาดรียาน ฟัน โอสตาเดอจิตรกรรมบาโรกจิตรกรรมภูมิทัศน์จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์จิตรกรรมประวัติศาสตร์แอนต์เวิร์ป

ฟรันส์ ฮัลส์

ฟรันส์ ฮัลส์ (Frans Hals; ราว ค.ศ. 1580 - 26 สิงหาคม ค.ศ. 1666) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ฮัลส์มีชื่อเสียงในการเขียนภาพเหมือนและการใช้ฝีแปรงที่อิสระและเป็นผู้นำวิธีการเขียนที่มีชีวิตชีวามาสู่ศิลปะดัตช์ และเป็นผู้มีบทบาทในการวิวัฒนาการการเขียนภาพเหมือนของกลุ่มคนในคริสต์ศตวรรษที่ 17.

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และฟรันส์ ฮัลส์ · ฟรันส์ ฮัลส์และอาดรียาน เบราเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพชีวิตประจำวัน

“ชาวบ้านเต้นรำ” โดย ปิเอเตอร์ บรูเกล (ผู้พ่อ)ราว ค.ศ. 1568 ภาพชีวิตประจำวัน (ภาษาอังกฤษ: Genre works หรือ Genre scenes หรือ Genre views) เป็นภาพที่ใช้สื่อหลายอย่างเช่นจิตรกรรมหรือการถ่ายภาพในการแสดงฉากจากชีวิตประจำวันเช่น ฉากตลาด, ฉากภายในบ้าน, ฉากงานเลี้ยง หรือฉากถนนหนทาง การแสดงฉากก็อาจจะเหมือนจริง, เป็นการจินตนาการ หรือเป็นภาพแบบอุดมคติ สื่อที่เขียนก็เรียกว่า “จิตรกรรมชีวิตประจำวัน”, “ภาพพิมพ์ชีวิตประจำวัน” หรือ “ภาพถ่ายชีวิตประจำวัน” ซึ่งก็แล้วแต่สื่อ.

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และภาพชีวิตประจำวัน · ภาพชีวิตประจำวันและอาดรียาน เบราเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือน

หมือนเด็กชายชาวโรมัน-อียิปต์เป็นภาพเหมือนที่ใช้ปิดหน้าศพของผู้ตาย “ภาพเหมือนตนเอง” โดย ฟินเซนต์ ฟัน โคค ภาพถ่ายภาพเหมือนของทอมัส ดิลวาร์ด โดยแม็ทธิว เบรดี ภาพเหมือน (ภาษาอังกฤษ: portrait) เป็นจิตรกรรม, ภาพถ่าย, ประติมากรรม หรือสื่ออื่นๆ ที่เป็นรูปของผู้เป็นแบบ ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดจะเป็นหน้าและการแสดงออกทางความรู้สึกของผู้เป็นแบบ จุดประสงค์ในการสร้างภาพเหมือนก็เพื่อแสดงความละม้าย, บุคลิก, หรือแม้แต่อารมณ์ของผู้เป็นแบบ ฉะนั้นภาพถ่ายที่เป็นภาพเหมือนจึงมิใช่ภาพถ่ายแบบชั่ววินาที แต่เป็นภาพถ่ายที่ช่างถ่ายจะพยายามจัดท่าหรือองค์ประกอบของภาพที่ให้ผู้เป็นแบบนั่งนิ่ง ภาพเหมือนมักจะแสดงผู้เป็นแบบมองตรงมายังจิตรกรหรือช่างภาพ เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีความสัมพันธ์โดยตรงกับผู้ที่ดูรูปในภายหลัง.

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และภาพเหมือน · ภาพเหมือนและอาดรียาน เบราเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมช่างนักบุญลูกา

ูองค์การคล้ายคลึงกันที่ สถาบันเซนต์ลูค ภาพนักบุญลูควาดภาพพระแม่มารี โดย นิเคลาส์ มานูเอล (Niklaus Manuel) สมาคมช่างนักบุญลูกา (Guild of Saint Luke) เป็นชื่อที่ใช้กันโดยทั่วไปสำหรับสมาคมช่างจิตรกรและศิลปินอื่น ๆ ทางตอนเหนือของยุโรปโดยเฉพาะในบริเวณกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ เป็นชื่อที่ตั้งเป็นเกียรติแก่นักบุญลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร ที่ตำนานกล่าวกันว่าเป็นผู้วาดภาพเหมือนของพระแม่มารีย์ ฉะนั้นนักบุญลูกาจึงกลายมาเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์จิตรกรและศิลปินโดยทั่วไป สมาคมช่างนักบุญลูกาที่มีชื่อเสียงที่สุดก่อตั้งขึ้นที่อันทเวิร.

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และสมาคมช่างนักบุญลูกา · สมาคมช่างนักบุญลูกาและอาดรียาน เบราเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐดัตช์

รณรัฐดัตช์ (อังกฤษ: ชื่อเต็ม Republiek der Zeven Verenigde Nederlanden หรือ De Nederlandse Republiek และ De Verenigde Provincien) เป็นการรวมหนึ่งในส่วนรัฐทั้ง 7 ของเนเธอร์แลนด์ของสเปน โดยเป็นกบฏโปรแตสแตนท์ในกลุ่มขุนนาง ผู้ปกครองคนแรกคือ วิลเลียมที่ 1 แห่งออเรนจ์ และทำให้เกิดสงคราม 80 ปีจนสงบศึกในปี ค.ศ. 1648.

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และสาธารณรัฐดัตช์ · สาธารณรัฐดัตช์และอาดรียาน เบราเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัมสเตอร์ดัม

อัมสเตอร์ดัม (Amsterdam) เป็นเมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำอัมสเติล (Amstel) เริ่มก่อตั้งประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 12 ปัจจุบันเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเนเธอร์แลนด์ มีประชากรในเขตตัวเมืองประมาณ 742,000 คน แต่ถ้านับรวมประชากรในเขตเมืองโดยรอบทั้งหมด จะมีประมาณ 1.5 ล้านคน (ข้อมูลปี ค.ศ. 2005) อัมสเตอร์ดัมเป็นเมืองศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญแห่งหนึ่งของทวีปยุโรป โดยเฉพาะช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ซึ่งเป็นช่วงยุคทองของเนเธอร์แลนด์ ถึงแม้อัมสเตอร์ดัมจะเป็นเมืองหลวงของประเทศ แต่ศูนย์กลางของหน่วยงานรัฐบาลนั้นอยู่ที่เฮก.

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอัมสเตอร์ดัม · อัมสเตอร์ดัมและอาดรียาน เบราเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อันโตน ฟัน ไดก์

"ภาพเหมือนกับดอกทานตะวัน" แสดงให้เห็นเหรียญที่พระเจ้าชาลส์ที่ 1 พระราชทานเมื่อ ค.ศ. 1633 ดอกทานตะวันอาจจะเป็นสัญลักษณ์ของพระเจ้าแผ่นดิน หรือการอุปถัมภ์หลวงSo Ellis Waterhouse (as refs below). But Levey (refs below) suggests that either van Dyck is the sun to which the sun-flower (of popular acclaim?) turns its face, or that it is the face of the King, on the medal he holds, as presented by van Dyck to the world ภาพเหมือนของครอบครัวโลเมลลี (Lomelli family) ค.ศ. 1623 ภาพเหมือนของลอร์ดจอห์น สจวต และน้องชายลอร์ดเบอร์นาร์ด สจวต--ลักษณะที่ผู้เป็นแบบมีเป็นความกันเองมากขึ้นที่ฟัน ไดก์มาวิวัฒนาการในอังกฤษ, ประมาณ ค.ศ. 1638 พระเจ้าชาลส์ที่ 1 (ราว ค.ศ. 1635) อันโตน ฟัน ไดก์ (Antoon van Dyck, Antoon van Dijck) หรือ แอนโทนี แวน ไดก์ (Anthony van Dyck; 22 มีนาคม ค.ศ. 1599 – 9 ธันวาคม ค.ศ. 1641) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวเฟลมมิชซึ่งมาเป็นจิตรกรคนสำคัญประจำราชสำนักพระเจ้าชาลส์ที่ 1ที่อังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพสีน้ำมัน โดยเฉพาะภาพเหมือน ภาพเขียนที่มีชื่อเสียงของฟัน ไดก์เป็นภาพเหมือนของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 และครอบครัวซึ่งวางท่าลักษณะสบายแต่สง่าแบบที่กลายมาเป็นแบบที่ใช้ในการเขียนภาพเหมือนต่อมาในอังกฤษเป็นเวลาราว 150 ปี นอกจากภาพเหมือนแล้ว ฟัน ไดก์ยังเขียนภาพจากพระคัมภีร์และตำนานเทพ และเป็นจิตรกรคนสำคัญผู้ริเริ่มใช้สีน้ำและกลวิธีพิมพ์กัดกรด (etching).

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอันโตน ฟัน ไดก์ · อันโตน ฟัน ไดก์และอาดรียาน เบราเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาดรียาน ฟัน โอสตาเดอ

อาดรียาน ฟัน โอสตาเดอ (Adriaen van Ostade; 10 ธันวาคม ค.ศ. 1610 - 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1685) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 อาดรียาน ฟัน โอสตาเดอได้รับการฝึกโดยฟรันส์ ฮัลส์ ซึ่งขณะนั้นเป็นครูของอาดรียาน เบราเวอร์ และยัน มีนเซอ โมเลอนาร์ (Jan Miense Molenaer) ด้วย ฟัน โอสตาเดอมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวัน.

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาดรียาน ฟัน โอสตาเดอ · อาดรียาน ฟัน โอสตาเดอและอาดรียาน เบราเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมบาโรก

“ยาม” โดย แรมบรังด์ ราว ค.ศ. 1642 เป็นตัวอย่างที่ดีของจิตรกรรมแบบบาโรก จิตรกรรมบาโรก (Baroque painting) เป็นจิตรกรรมที่เกี่ยวข้องกับขบวนการศิลปะบาโรก ซึ่งเป็นขบวนการที่เกี่ยวข้องกับระบบสัมบูรณนิยมทางการเมือง (absolutism), การปฏิรูปศาสนาซ้อน (Counter Reformation) และการฟื้นฟูโรมันคาทอลิก, from Encyclopædia Britannica Online, latest edition, full-article.

จิตรกรรมบาโรกและจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ · จิตรกรรมบาโรกและอาดรียาน เบราเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมภูมิทัศน์

“เดินเล่นในฤดูใบไม้ผลิ” (Strolling About in Spring) ราว ค.ศ. 600 คนเกี่ยวข้าว” (The Harvesters) โดย ปิเอเตอร์ บรูเกล ค.ศ. 1565 “ร้อนผิดฤดูที่เวอร์มอนท์” (Indian Summer) โดยวิลลาร์ด ลีรอย เมทคาลฟ ซึ่งเป็นภาพเขียนนอกสถานที่ จิตรกรรมภูมิทัศน์ (ภาษาอังกฤษ: Landscape art) เป็นจิตรกรรม ที่แสดงทิวทัศน์เช่นภูเขา, หุบเขา, ต้นไม้, แม่น้ำ, และป่า และมักจะรวมท้องฟ้า นอกจากนั้นสภาวะอากาศก็อาจจะมีส่วนสำคัญในการวางองค์ประกอบของภาพด้วย ในคริสต์ศตวรรษที่ 1 ชาวโรมันตกแต่งห้องด้วยจิตรกรรมฝาผนังที่เป็นภาพภูมิทัศน์ซึ่งพบที่ปอมเปอีและเฮอร์คิวเลเนียม คำว่า “landscape” มาจากภาษาดัทช์ landscape “landschap” ซึ่งหมายถึงบริเวณที่เก็บเกี่ยวแล้ว และนำเข้ามาใช้ในภาษาอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เมื่อต้น คริสต์ศตวรรษที่ 15 การเขียนภาพภูมิทัศน์เป็นศิลปะการเขียนแบบหนึ่งในยุโรป ซึ่งใช้เป็นฉากหลังของกิจการต่างๆ ส่วนใหญ่จะเป็นศิลปะคริสต์ศาสนา เช่น ภาพในหัวเรื่อง “พระเยซูหนีไปอียิปต์”, หรือฉากการเดินทางของแมไจเพื่อนำของขวัญมาให้พระเยซู หรือ ภาพเขียนเกี่ยวกับนักบุญเจอโรมเมื่อไปจำศีลอยู่ในทะเลทราย การเขียนภาพภูมิทัศน์ของจีนจะเป็นภูมิทัศน์ล้วนๆ ถ้ามีคนอยู่ในรูปก็จะเป็นส่วนประกอบที่ไม่สำคัญหรือเพียงเป็นสิ่งเทียบถึงขนาดของธรรมชาติ และเป็นการเชิญชวนให้ผู้ชมภาพมีความรู้สึกว่ามีส่วนร่วมในภาพเขียน การเขียนภาพลักษณะนี้มีลักษณะสมบูรณ์แบบมาตั้งแต่การเขียนภาพด้วยหมึก ในยุโรปจอห์น รัสคิน และ เซอร์เค็นเน็ธ คลาคกล่าวว่าการเขียนภาพภูมิทัศน์เป็นศิลปะที่สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้คนเกิดความซาบซึ้งในความสวยงามของธรรมชาติ คลาคกล่าวว่าในการเขียนภาพภูมิทัศน์ตั้งอยู่บนพื้นฐานสี่อย่าง: การยอมรับในสัญลักษณ์ที่เห็น, ความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับธรรมชาติ, การสร้างจินตนิยมที่มึพี้นฐานมาจากความกลัวธรรมชาติ และ ความเชื่อที่ว่าทุกสิ่งทุกอย่างจะลงเอยด้วยดีที่เป็นสิ่งที่สามารถทำให้เกิดขึ้นได้ ในสหรัฐอเมริกาช่างเขียนภาพสกุลศิลปะลุ่มแม่น้ำฮัดสันที่รุ่งเรื่องราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีชื่อเสียงในการวิวัฒนาการเขียนภาพภูมิทัศน์ นักเขียนภาพกลุ่มนี้สร้างภาพเขียนขนาดยักษ์เพื่อจะสามารถพยายามแสดงความยิ่งใหญ่ของภูมิทัศน์ตามที่เห็น ปรัชญาของงานของทอมัส โคลซึ่งถือกันว่าเป็นผู้ก่อตั้งตระกูลการเขียนนี้ก็เช่นเดียวกับปรัชญาการเขียนภาพภูมิทัศน์ในยุโรป — เป็นความศรัทธาของมนุษย์ที่ทำให้มีความรู้สึกดีขึ้นจากการซาบซึ้งในคุณค่าของความสวยงามและความมหัศจรรย์ของธรรมชาติ งานของศิลปินตระกูลแม่น้ำฮัดสันรุ่นหลังเช่นงานของ แอลเบิร์ต เบียร์สตัดท์จะสร้างงานที่สร้างความน่ากลัวขึ้นโดยการเน้นอำนาจของธรรมชาติ นักสำรวจ, นักธรรมชาติวิทยา, ชาวทะเล, พ่อค้า, หรือผู้ตั้งถิ่นฐานที่มาถึงแผ่นดินแคนาดาเมื่อสมัยแรกๆ ในการสำรวจต้องเผชิญกับธรรมชาติที่ค่อนข้างจะอันตรายจากทะเล นักสำรวจเหล่านี้พยายามปรับปรุงสถานการณ์โดยการทำแผนที่, บันทึก, และตั้งหลักแหล่ง ความเข้าใจธรรมชาติจากการสังเกตของแต่ละคนก็ต่างกันไป บันทึกจากความรู้สึกเหล่านี้มีตั้งแต่ถูกต้องตามความเป็นจริงไปจนการจินตนาการที่เกินความจริงเอามากๆ และการสังเกตเหล่านี้ก็ถูกบันทึกในรูปของภาพภูมิทัศน์ ภาพเขียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีของการเขียนภาพภูมิทัศน์คานาดาคือภาพจากจิตรกรใน “กลุ่มเจ็ดคน” (Group of Seven) ที่มีชื่อเสียงในคริสต์ทศศตวรรษ.

จิตรกรรมภูมิทัศน์และจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ · จิตรกรรมภูมิทัศน์และอาดรียาน เบราเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์

ตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ (Dutch Golden Age painting) คือช่วงระยะหนึ่งของประวัติศาสตร์จิตรกรรมของเนเธอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ราว ค.ศ. 1584 มาจนถึง ค.ศ. 1702 เมื่อการค้าขาย, วิทยาศาสตร์ และศิลปะของเนเธอร์แลนด์เป็นทีเจริญถึงจุดสูงสุดและเลื่องลือไปทั่วโลก จิตรกรของสมัยนี้สร้างแบบฉบับการเขียนงานจิตรกรรม และ ทิ้งอิทธิพลงานที่เป็นอนุสรณ์ต่อนักเขียนภาพรุ่นต่อมาเป็นอันมาก.

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ · จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาดรียาน เบราเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมประวัติศาสตร์

“วันสุดท้ายของปอมเปอี” (ค.ศ. 1833) เป็นตัวอย่างที่ดีของภาพเขียนประวัติศาสตร์ จิตรกรรมประวัติศาสตร์ (History painting) เริ่มเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ ค.ศ. 1667 โดยอันเดร เฟลิเบียน (André Félibien) จิตกรประวัติศาสตร์, สถาปนิก, นักทฤษฎีคลาสสิกซิสม์ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นลักษณะที่ระบบ “การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะ” (Hierarchy of genres) ถือว่าเป็นประเภทการเขียนภาพที่มีคุณค่าสูงที่สุดในบรรดาการเขียนภาพประเภทต่าง.

จิตรกรรมประวัติศาสตร์และจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ · จิตรกรรมประวัติศาสตร์และอาดรียาน เบราเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนต์เวิร์ป

มืองแอนต์เวิร์ป แอนต์เวิร์ป (Antwerp), อันต์แวร์เปิน (Antwerpen) หรือ อ็องแวร์ส (Anvers) เป็นเมืองในประเทศเบลเยียมและเป็นเมืองหลวงของจังหวัดแอนต์เวิร์ปในฟลานเดอส์ หนึ่งในสามบริเวณของเบลเยียม แอนต์เวิร์ปมีประชากรทั้งสิ้น 472,071 (1 มกราคม 2008) Population of all municipalities in Belgium, as of 1 January 2008.

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และแอนต์เวิร์ป · อาดรียาน เบราเวอร์และแอนต์เวิร์ป · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาดรียาน เบราเวอร์

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ มี 92 ความสัมพันธ์ขณะที่ อาดรียาน เบราเวอร์ มี 23 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 13, ดัชนี Jaccard คือ 11.30% = 13 / (92 + 23)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์และอาดรียาน เบราเวอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »