โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดศรีสะเกษและพระพุทธเจดีย์ไพรบึง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จังหวัดศรีสะเกษและพระพุทธเจดีย์ไพรบึง

จังหวัดศรีสะเกษ vs. พระพุทธเจดีย์ไพรบึง

รีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.47 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรถิ่นไทย ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมกรมศิลปากร. ระพุทธเจดีย์ไพรบึง หรือที่ชาวไพรบึงโดยทั่วไปเรียกว่า พระธาตุไพรบึง ประดิษฐานอยู่ภายในวัดไพรบึง(วัดจำปาสุรภีย์) อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลไพรบึงทางตอนเหนือ ใกล้กับสวนสาธารณะบึงนกเป็ดน้ำไพรบึง เป็นพระธาตุเจดีย์สำคัญของจังหวัดศรีสะเกษ มีขนาดสูงใหญ่ ความสูงจากฐานถึงยอดฉัตร ประมาณ 60 เมตร สร้างขึ้นตามรูปแบบศิลปะอินเดีย แบบเจดีย์พุทธคยา ส่วนยอดฉัตรด้านบนสุดของพระเจดีย์เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งอัญเชิญมาจากประเทศอินเดีย พระพุทธเจดีย์องค์นี้จึงถือเป็นมรดกทางพุทธศาสนา อันเป็นปูชนียสถานที่เคารพสักการะมากที่สุดแห่งหนึ่งของชาวจังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดใกล้เคียง อนึ่ง วัดไพรบึง เป็นวัดเก่าแก่ที่มีอายุตั้งแต่ พ.ศ.2100.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จังหวัดศรีสะเกษและพระพุทธเจดีย์ไพรบึง

จังหวัดศรีสะเกษและพระพุทธเจดีย์ไพรบึง มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระพุทธเจดีย์ไพรบึงอำเภอพยุห์อำเภอไพรบึงเทศบาลตำบลไพรบึง

พระพุทธเจดีย์ไพรบึง

ระพุทธเจดีย์ไพรบึง หรือที่ชาวไพรบึงโดยทั่วไปเรียกว่า พระธาตุไพรบึง ประดิษฐานอยู่ภายในวัดไพรบึง(วัดจำปาสุรภีย์) อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลไพรบึงทางตอนเหนือ ใกล้กับสวนสาธารณะบึงนกเป็ดน้ำไพรบึง เป็นพระธาตุเจดีย์สำคัญของจังหวัดศรีสะเกษ มีขนาดสูงใหญ่ ความสูงจากฐานถึงยอดฉัตร ประมาณ 60 เมตร สร้างขึ้นตามรูปแบบศิลปะอินเดีย แบบเจดีย์พุทธคยา ส่วนยอดฉัตรด้านบนสุดของพระเจดีย์เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งอัญเชิญมาจากประเทศอินเดีย พระพุทธเจดีย์องค์นี้จึงถือเป็นมรดกทางพุทธศาสนา อันเป็นปูชนียสถานที่เคารพสักการะมากที่สุดแห่งหนึ่งของชาวจังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดใกล้เคียง อนึ่ง วัดไพรบึง เป็นวัดเก่าแก่ที่มีอายุตั้งแต่ พ.ศ.2100.

จังหวัดศรีสะเกษและพระพุทธเจดีย์ไพรบึง · พระพุทธเจดีย์ไพรบึงและพระพุทธเจดีย์ไพรบึง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพยุห์

ห์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ จัดตั้งขึ้นเป็นกิ่งอำเภอเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2537 โดยแยกออกจากอำเภอเมืองศรีสะเกษ และต่อมาเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2540 จึงได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะเป็น อำเภอพยุห.

จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอพยุห์ · พระพุทธเจดีย์ไพรบึงและอำเภอพยุห์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอไพรบึง

รบึง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ ตั้งอยู่ทางตอนกลางของจังหวัด เดิมเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอขุขันธ์ ต่อมาได้แยกออกมาจัดตั้งเป็นกิ่งอำเภอ ในปี..

จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอไพรบึง · พระพุทธเจดีย์ไพรบึงและอำเภอไพรบึง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลไพรบึง

ทศบาลตำบลไพรบึง เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลตำบล อยู่ในเขตพื้นที่อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษโดยเป็น 1 ในบรรดาเทศบาลตำบลจำนวน 23 แห่งในปัจจุบันของจังหวัดศรีสะเกษ มีสำนักงานตั้งอยู่หมู่ที่ 20 ถนนเทศบาล 30 ตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ เขตเทศบาลตั้งอยู่ในบริเวณตอนกลางของจังหวัดศรีสะเกษ ห่างจากตัวเมืองจังหวัดศรีสะเกษมาทางทิศใต้ประมาณ 42 กิโลเมตร มีพื้นที่ครอบคลุมบางส่วนของตำบลไพรบึงและตำบลสำโรงพลัน ของอำเภอไพรบึง โดยเป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอและหน่วยงานส่วนราชการระดับภูมิภาคต่างๆ รวมทั้งศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ บริการและการคมนาคมของอำเภอ.

จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลตำบลไพรบึง · พระพุทธเจดีย์ไพรบึงและเทศบาลตำบลไพรบึง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จังหวัดศรีสะเกษและพระพุทธเจดีย์ไพรบึง

จังหวัดศรีสะเกษ มี 231 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระพุทธเจดีย์ไพรบึง มี 18 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 1.61% = 4 / (231 + 18)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จังหวัดศรีสะเกษและพระพุทธเจดีย์ไพรบึง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »