โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดศรีสะเกษ

ดัชนี จังหวัดศรีสะเกษ

รีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.47 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรถิ่นไทย ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมกรมศิลปากร.

231 ความสัมพันธ์: ชาวไทยเชื้อสายเขมรบุญชง วีสมหมายพ.ศ. 2232พ.ศ. 2302พ.ศ. 2319พ.ศ. 2321พ.ศ. 2325พ.ศ. 2354พ.ศ. 2386พ.ศ. 2388พ.ศ. 2418พ.ศ. 2424พ.ศ. 2434พ.ศ. 2435พ.ศ. 2436พ.ศ. 2445พ.ศ. 2447พ.ศ. 2455พ.ศ. 2459พ.ศ. 2481พ.ศ. 2536พยอม สีนะวัฒน์พรศักดิ์ เจริญประเสริฐพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพุทธเจดีย์ไพรบึงพระมงคลวุฒ (เครื่อง สุภทฺโท)พระธาตุเรืองรองพระครูประสาธน์ขันธคุณ (มุม อินทปญโญ)พระครูโกวิทพัฒโนดม (เกลี้ยง เตชธมฺโม)พระครูเทวราชกวีวรญาณพฤฒิชัย วิริยะโรจน์พุทธศักราชกบนากรมศิลปากรกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)กระเทียมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยกุเทพ ใสกระจ่างกีฬาโอลิมปิกภาษาลาวภาษาแสกภาษาเขมรภาษาเขมรถิ่นไทยภาคอีสาน (ประเทศไทย)...ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยปทุมธานีมหาวิทยาลัยเวสเทิร์นมหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนามันสำปะหลังมาลินี อินฉัตรมานะ มหาสุวีระชัยมิสเอเชียแปซิฟิกอินเตอร์เนชันแนลมนุษย์ยรรยง พวงราชยอดสนั่น 3เคแบตเตอรี่ยางพารายิ่งยง ยอดบัวงามยุคก่อนประวัติศาสตร์ยุคเหล็กรัตนโกสินทร์ (แก้ความกำกวม)ราชกิจจานุเบกษารายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดรายชื่อวัดในจังหวัดศรีสะเกษรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดศรีสะเกษร็อคกี้ ส.จิตรลดาลำดวนวัดมหาพุทธารามวันดี คำเอี่ยมวิชัย สุริยุทธวิชิต แสงทองวิจารย์ สิมาฉายาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือวิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจรักไทย ขุขันธ์ศรีสะเกษ (แก้ความกำกวม)ศรีสะเกษ ศ.รุ่งวิสัยศรีสุข รุ่งวิสัยศาสนาพุทธศิลปินแห่งชาติศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิกศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลศรีสะเกษสมศักดิ์ สุวรรณสุจริตสมณะโพธิรักษ์สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีสวัสดิ์ สืบสายพรหมสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย)สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)สุริยะใส กตะศิลาสุดา ศรีลำดวนสีส้มสถาบันการพลศึกษาสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตศรีสะเกษสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชนสงครามกลางเมืองลาวสโมสรฟุตบอลศรีสะเกษหมู่บ้านหอมแดงอยุธยาอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อาณาจักรล้านช้างอาณาจักรอยุธยาอาคม เติมพิทยาไพสิฐอาคารขุนอำไพพาณิชย์อำเภออำเภอบึงบูรพ์อำเภอพยุห์อำเภอกันทรลักษ์อำเภอกันทรารมย์อำเภอภูสิงห์อำเภอยางชุมน้อยอำเภอราษีไศลอำเภอวังหินอำเภอศรีรัตนะอำเภอศิลาลาดอำเภอห้วยทับทันอำเภออุทุมพรพิสัยอำเภอขุขันธ์อำเภอขุนหาญอำเภอปรางค์กู่อำเภอน้ำเกลี้ยงอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณอำเภอโนนคูณอำเภอไพรบึงอำเภอเบญจลักษ์อำเภอเมืองศรีสะเกษอำเภอเมืองจันทร์อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหารองศาเซลเซียสองค์การบริหารส่วนจังหวัดองค์การบริหารส่วนตำบลผามออีแดงจักรวรรดิขแมร์จังหวัดจังหวัดยโสธรจังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดสุรินทร์จังหวัดอำนาจเจริญจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดขุขันธ์จำนงค์ โพธิสาโรจิตติพจน์ วิริยะโรจน์จุดผ่านแดนถาวรช่องสะงำธนัญชัย บริบาลถั่วลิสงถนนพหลโยธินถนนมิตรภาพทวารวดีทิวเขาพนมดงรักทุ่งกุลาร้องไห้ทุเรียนขุขันธ์ข้าวหอมมะลิคณะรักษาความสงบแห่งชาติคณิต ศิลปศรตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกตระกูลภาษาไท-กะไดตราประจำจังหวัดของไทยตารางกิโลเมตรตำบลฉันทนา กิติยพันธ์ประทีป กีรติเรขาประเทศกัมพูชาประเทศลาวประเทศไทยปราสาทบ้านสมอปราสาทบ้านปราสาทปราสาทพระวิหารปราสาทสระกำแพงน้อยปราสาทสระกำแพงใหญ่ปราสาทตาเล็งปราสาทปรางค์กู่ปราสาทโดนตวลปรางค์กู่ปิยะณัฐ วัชราภรณ์นกน้อย อุไรพรนางสาวไทยแม่น้ำมูลแขวงจำปาศักดิ์โบราณสถานโบราณคดีโรงพยาบาลศรีสะเกษโรงเรียนกันทรลักษ์วิทยาโรงเรียนกันทรารมณ์โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัยโรงเรียนสตรีสิริเกศโรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์โรงเรียนขุขันธ์โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษไพโรจน์ เครือรัตน์เพชรรัตน์ สีแก้วเยอเสียงอิสานเสถียร ทำมือเจ้าพระยาจักรีเทพ โชตินุชิตเทศบาลตำบลเทศบาลตำบลบุสูงเทศบาลตำบลพยุห์เทศบาลตำบลกำแพงเทศบาลตำบลศรีรัตนะเทศบาลตำบลสิเทศบาลตำบลห้วยทับทันเทศบาลตำบลอุทุมพรพิสัยเทศบาลตำบลจานแสนไชยเทศบาลตำบลปรางค์กู่เทศบาลตำบลโนนสูงเทศบาลตำบลไพรบึงเทศบาลตำบลเมืองขุขันธ์เทศบาลตำบลเมืองคงเทศบาลเมืองเทศบาลเมืองกันทรลักษ์เทศบาลเมืองศรีสะเกษเขตการปกครองของประเทศไทยเงาะ11 พฤศจิกายน14 พฤศจิกายน ขยายดัชนี (181 มากกว่า) »

ชาวไทยเชื้อสายเขมร

วไทยเชื้อสายเขมร เป็นกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งในประเทศไทย ที่มีความสัมพันธ์กับชนชาติไทย และประเทศไทยมาช้านาน โดยแบ่งชาวไทยเชื้อสายเขมรออกเป็นสองกลุ่มใหญ่คือ ชาวเขมรบน หรือเขมรสูง ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง หรือที่เรียกว่า อีสานใต้ โดยเชื่อว่าอพยพเข้ามาในดินแดนไทยในช่วง พ.ศ. 2324-2325 และกลุ่มชาวไทยเชื้อสายเขมรอีกกลุ่มหนึ่งคือกลุ่มที่ถูกกวาดต้อนจากประเทศกัมพูชาในสมัยอดีตซึ่งปัจจุบันกลุ่มหลังนี้จะกลมกลืนไปกับชาวไทยในปัจจุบันไปเสียแล้ว นอกจากนี้ยังมีกลุ่มแรงงานชาวกัมพูชาอพยพ และชาวกัมพูชาอพยพซึ่งอพยพเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารของพระมหากษัตริย์ไทยในภาวะสงคราม โดยบางส่วนได้อพยพกลับภูมิลำเนาเดิม ขณะที่บางส่วนยังคงปักหลักอยู่ในดินแดนไทยต่อไป.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและชาวไทยเชื้อสายเขมร · ดูเพิ่มเติม »

บุญชง วีสมหมาย

นายบุญชง วีสมหมาย (13 มีนาคม พ.ศ. 2474 - 19 เมษายน พ.ศ. 2546) อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในสมัยของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและบุญชง วีสมหมาย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2232

ทธศักราช 2232 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2232 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2302

ทธศักราช 2302 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2302 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2319

ทธศักราช 2319 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2319 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2321

ทธศักราช 2321 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2321 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2325

ทธศักราช 2325 ตรงกับคริสต์ศักราช 1782 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2325 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2354

ทธศักราช 2354 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2354 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2386

ทธศักราช 2386 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2386 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2388

ทธศักราช 2388 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2388 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2418

ทธศักราช 2418 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1875.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2418 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2424

ทธศักราช 2424 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1881.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2424 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2434

ทธศักราช 2434 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1891 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2434 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2435

ทธศักราช 2435 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1892 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2435 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2436

ทธศักราช 2436 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1893 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2436 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2445

ทธศักราช 2445 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1902 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2445 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2447

ทธศักราช 2447 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1904 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2447 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2455

ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2455 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2459

ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2459 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พยอม สีนะวัฒน์

นางพยอม สีนะวัฒน์ (3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2452 - 25 ตุลาคม พ.ศ. 2551) ชาวจังหวัดศรีสะเกษ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ศิลปะงานผ้า) ปี..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพยอม สีนะวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

พรศักดิ์ เจริญประเสริฐ

นายพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 - สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพัน..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น. (สี่ทุ่มครึ่ง) ตรงกับวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 เสวยราชสมบัติเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอก ซึ่งตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 สิริดำรงราชสมบัติได้ 27 ปี ทรงมีเจ้าจอมมารดาและเจ้าจอม 56 ท่าน มีพระราชโอรสธิดาทั้งสิ้น 51 พระองค์ เสด็จสวรรคตเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 1 ค่ำ ปีกุน โทศก จุลศักราช 1212 เวลา 7 ทุ่ม 5 บาท ตรงกับวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 สิริพระชนมายุ 64 พรรษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธเจดีย์ไพรบึง

ระพุทธเจดีย์ไพรบึง หรือที่ชาวไพรบึงโดยทั่วไปเรียกว่า พระธาตุไพรบึง ประดิษฐานอยู่ภายในวัดไพรบึง(วัดจำปาสุรภีย์) อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลไพรบึงทางตอนเหนือ ใกล้กับสวนสาธารณะบึงนกเป็ดน้ำไพรบึง เป็นพระธาตุเจดีย์สำคัญของจังหวัดศรีสะเกษ มีขนาดสูงใหญ่ ความสูงจากฐานถึงยอดฉัตร ประมาณ 60 เมตร สร้างขึ้นตามรูปแบบศิลปะอินเดีย แบบเจดีย์พุทธคยา ส่วนยอดฉัตรด้านบนสุดของพระเจดีย์เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งอัญเชิญมาจากประเทศอินเดีย พระพุทธเจดีย์องค์นี้จึงถือเป็นมรดกทางพุทธศาสนา อันเป็นปูชนียสถานที่เคารพสักการะมากที่สุดแห่งหนึ่งของชาวจังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดใกล้เคียง อนึ่ง วัดไพรบึง เป็นวัดเก่าแก่ที่มีอายุตั้งแต่ พ.ศ.2100.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพระพุทธเจดีย์ไพรบึง · ดูเพิ่มเติม »

พระมงคลวุฒ (เครื่อง สุภทฺโท)

หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดศรีสะเกษ‎ ค หมวดหมู่:พระภิกษุในนิกายเถรวาท (ธรรมยุติกนิกาย).

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพระมงคลวุฒ (เครื่อง สุภทฺโท) · ดูเพิ่มเติม »

พระธาตุเรืองรอง

ระธาตุเรืองรอง พระธาตุเรืองรอง เป็นพระธาตุศิลปะแบบพื้นบ้าน ตั้งอยู่ที่วัดบ้านสร้างเรือง ตำบลหญ้าปล้อง อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ ห่างจากตัวเมืองศรีสะเกษประมาณ 8 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2373 (ศรีสะเกษ-ราษีไศล) วัดบ้านสร้างเรือง เริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2511 โดยหลวงปู่ธัมมา พิทักษา ซึ่งเป็นชาวบ้านสร้างเรืองโดยกำเนิด จนได้รับพระราชทานวิสุงคามวาสี เมื่อปี พ.ศ. 2520 ต่อมาหลวงปู่ธัมมา ได้เล็งเห็นว่าในภูมิภาคอีสานใต้ไม่มีพระธาตุให้ชาวบ้านสักการบูชา จึงได้ริเริ่มสร้างพระธาตุขึ้นในปี พ.ศ. 2525.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพระธาตุเรืองรอง · ดูเพิ่มเติม »

พระครูประสาธน์ขันธคุณ (มุม อินทปญโญ)

ระครูประสาธน์ขันธคุณ หรือที่พุทธศานิกชนชาวศรีสะเกษและชาวไทยรู้จักโดยทั่วไปในนาม หลวงปู่มุม หรือ หลวงพ่อมุม เป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดปราสาทเยอเหนือ อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ บรรพชาเป็นสามเณรตั้งแต่ยังเด็กและอุปสมบทเป็นพระภิกษุเมื่ออายุ 20 ปี แล้วดำรงอยู่ในสมณเพศตลอดชีวิตจนมรณภาพ เป็นพระภิกษุผู้ถือเคร่งทางธรรมปฏิบัติธรรมกัมมัฏฐาน ได้ฝึกเดินธุดงค์ไปตามป่าเขาในบริเวณเทือกเขา พนมดงเร็ก เขตจังหวัดทางภาคอีสานตอนล่าง ของประเทศไทย และเดินธุดงค์เข้าไปในประเทศกัมพูชาจำพรรษาอยู่ในประเทศกัมพูชาหลายปี หลังจากนั้นจึงได้กลับมาจำพรรษาอยู่ที่วัดปราสาทเยอเหนือ บ้านเกิด ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่มีกลุ่มชาติพันธุ์เยอ ตั้งถิ่นฐานอยู่ จากความสมถะ มักน้อย สันโดษและเคร่งครัดในวัตรปฏิบัติของสงฆ์ ทำให้เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของพุทธศานิกชนทั่วไป และที่โด่งดังเป็นที่รู้จักของประชาชนทั่วประเทศก็คือความศรัทธาในวัตถุมงคลกลุ่มที่ชื่อ พระหลวงพ่อมุม ซึ่งท่านได้เคยสร้างและทำพิธีปลุกเสกด้วยตัวเอง โดยพิธีพุทธาภิเษกแบบเขมรโบราณ ทั้งยังเป็นผู้มีส่วนร่วมบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ในบวรพระพุทธศาสนาและเพื่อสังคมไว้มหาศาล ถือป็น ปูชนียบุคคล ที่ควรกราบไหว้บูชาสักการะของปวงชนทั่วๆ ไป หลวงปู่มุม ยังเป็นหนึ่งในพระเถระผู้ร่วมประกอบพิธีพุทธาภิเษก พระกริ่งมหาราช ระหว่างวันที่ 3 ธันวาคม - 4 ธันวาคม พ.ศ. 2512 ซึ่งวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม หรือวัดโพธิ์ จัดสร้างขึ้นเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เนื่องในวโรกาสมหามงคลที่ทรงได้รับการเทิดทูนอย่างสูงสุดจากปวงชนชาวไทย โดยการถวายพระบรมราชสมัญญานาม มหาราช ต่อท้ายพระปรมาภิไธย อนึ่ง วัดปราสาทเยอเหนือ เป็นวัดโบราณมีอายุเก่าแก่ที่สุดวัดหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษหรือจังหวัดขุขันธ์ ในอดีต วัดแห่งนี้ได้รับการก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 1313 หรือราวต้นพุทธศตวรรษที่ 14 ตั้งแต่สมัยทวารวดีและสมัยขอม อันเป็นช่วงเวลาก่อนการตั้งเมืองศรีนครลำดวน (ต้นเค้าเมืองขุขันธ์ที่พัฒนามาเป็นจังหวัดขุขันธ์และจังหวัดศรีสะเกษ) ใน พ.ศ. 2302 กรมศิลปากร.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพระครูประสาธน์ขันธคุณ (มุม อินทปญโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูโกวิทพัฒโนดม (เกลี้ยง เตชธมฺโม)

ระครูโกวิทพัฒโนดม (เกลี้ยง เตชธฺมโม) พระเกจิอาจารย์ที่มีอายุเกินกว่า 100 ปี เป็นเจ้าอาวาสวัดศรีธาตุ (วัดโนนแกด) อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพระครูโกวิทพัฒโนดม (เกลี้ยง เตชธมฺโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูเทวราชกวีวรญาณ

ระครูเทวราชกวีวรญาณ(จูม ธฺมมทีโป) พระเกจิแห่งตำบลบัวหุ่ง ราษีไศล ศรีสะเกษ พระอุปัชฌาย์ของพระสงฆ์ชื่อดังแห่งจังหวัดศรีสะเกษหลายรูป อาทิ พระครูวิสุทธิโสภณ หลวงพ่อเกลี้ยง วัดวิสุทธิโสภณ บึงบูรพ์ พระครูโสภณสังวรคุณ (หลวงพ่อวัดบ้านผือ) อุทุมพรพิสัย พระมงคลวุฒ (เครื่อง สุภทฺโท) อดีตเจ้าอาวาสวัดสระกำแพงใหญ่ อุทุมพรพิสัย ผู้มีสมญานามว่า เทพเจ้าแห่งอีสานใต้ เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพระครูเทวราชกวีวรญาณ · ดูเพิ่มเติม »

พฤฒิชัย วิริยะโรจน์

ัย วิริยะโรจน์ ผู้แทนการค้าไทย ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบสัดส่วน สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพฤฒิชัย วิริยะโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

พุทธศักราช

ทธศักราช ย่อว.. เป็นศักราชที่เริ่มนับเมื่อพระโคตมพุทธเจ้าปรินิพพาน ในประเทศไทยเริ่มนับเมื่อปรินิพพานแล้ว 1 ปี แต่ในเช่น ในประเทศไทยเป็นปี..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและพุทธศักราช · ดูเพิ่มเติม »

กบนา

กบนา (Chinese edible frog, East Asian bullfrog, Taiwanese frog; 田雞, 虎皮蛙) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำชนิดหนึ่ง ในวงศ์กบนา (Ranidae) ลักษณะผิวด้านหลังมีสีน้ำตาลจุดดำ ผิวหนังขรุขระมีรอยย่น ที่ริมฝีปากมีแถบดำ ใต้คางมีจุดดำ หรือแถบลายดำ เมื่อโตเต็มที่มีน้ำหนัก 200–400 กรัม กบนาตัวเมีย มีขนาดโตกว่าตัวผู้ ตัวเมียพร้อมที่จะผสมพันธุ์ท้องจะมีลักษณะอูมเคลื่อนไหวช้าและข้างลำตัวจะมีตุ่มเมื่อคลำดูมีลักษณะ สากมือ ตุ่มที่ด้านข้างลำตัวแสดงถึงความพร้อมของตัวเมีย กบนาตัวผู้ มีขนาดเล็กกว่าตัวเมีย มีน้ำหนักประมาณ 150– 50 กรัม เมื่อโตเต็มที่และพร้อมที่จะผสมพันธุ์จะมองเห็นถุงเสียง เป็นรอยย่นสีดำที่ใต้คาง ถุงเสียงเกิดจากการที่กบนาตัวผู้ส่งเสียงร้องเรียกตัวเมียในช่วงฤดูผสมพันธุ์ ตัวผู้พร้อมที่จะผสมพันธุ์ในช่วงนี้ลำตัวจะมีสีเหลือง นิ้วเท้าด้านหน้าจะมีตุ่มที่ขยายใหญ่ขึ้น มองเห็นได้ชัดเจน ตุ่มนี้มีประโยชน์ในการใช้เกาะตัวเมียและตุ่มนี้จะหายไปในช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ โดยมีช่วงฤดูผสมพันธุ์อยู่ที่ระหว่างเดือนมีนาคมไปจนถึงเดือนกันยายน เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่อมีอายุได้ 1 ปี วางไข่ครั้งละ 1,500–3,000 ฟอง ต่อครั้ง ระยะการฟักไข่กลายเป็นลูกอ๊อดใช้เวลา 24–36 ชั่วโมง ลูกอ๊อดพัฒนาไปเป็นลูกกบใช้เวลา 28–45 วัน โดยลูกอ๊อดมีลำตัวสีเขียว พบกระจายพันธุ์ในพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ เช่น นาข้าวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียอาคเนย์ สำหรับในประเทศไทยพบได้ทุกภาค โดยเป็นกบชนิดที่นิยมบริโภคกันเป็นอาหารมาอย่างช้านาน มีการเพาะขยายพันธุ์เป็นสัตว์เศรษฐกิจ ในตัวที่มีผิวสีเผือกขาวหรือสีทองอาจเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงได้.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและกบนา · ดูเพิ่มเติม »

กรมศิลปากร

กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและกรมศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)

กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Public Health) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพอนามัย การป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคภัย การฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชน และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขปัจจุบันตั้งอยู่ที่ ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและกระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระเทียม

กระเทียม เป็นพืชสมุนไพรไทยและเป็นเครื่องเทศชนิดหนึ่ง โดยมักใส่ในอาหารหลายชนิด ทั้งอาหารไทย อาหารอินเดีย กระเทียมมีชื่อสามัญอื่นอีกคือ กระเทียมขาว (อุดรธานี) กระเทียมจีน (กทม.,กลาง) ปะเซ้วา (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) หอมขาว (อุดรธานี) หอมเทียม (เหนือ) หัวเทียม (ใต้).

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและกระเทียม · ดูเพิ่มเติม »

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (Tourism Authority of Thailand, ชื่อย่อ: ททท., TAT) เป็นรัฐวิสาหกิจภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา มีภารกิจในการส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กุเทพ ใสกระจ่าง

ร้อยโท ดร.กุเทพ ใสกระจ่าง (15 สิงหาคม พ.ศ. 2495 - 18 กันยายน พ.ศ. 2555) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ศรีสะเกษ เขต 2 เป็นอดีตโฆษกพรรคพลังประชาชน และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและกุเทพ ใสกระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโอลิมปิก

กีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic Games, ฝรั่งเศส: les Jeux olympiques, JO) หรือโอลิมปิกส์ (อังกฤษ: Olympics) สมัยใหม่ เป็นการแข่งขันระหว่างประเทศที่สำคัญ ทั้งกีฬาฤดูร้อนและฤดูหนาว โดยมีนักกีฬาหลายพันคนเข้าร่วมการแข่งขันหลายชนิดกีฬา กีฬาโอลิมปิกถูกมองว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่สำคัญที่สุดของโลก โดยมีประเทศเข้าร่วมกว่า 200 ประเทศ ปัจจุบัน กีฬาโอลิมปิกจัดขึ้นทุกสองปี ผลัดกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อนกับโอลิมปิกฤดูหนาว หมายความว่า โอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาวจะจัดห่างกันสี่ปี การสร้างสรรค์กีฬาโอลิมปิกได้รับแรงบันดาลใจจากกีฬาโอลิมปิกโบราณ ซึ่งจัดขึ้นในโอลิมเปีย กรีซ จากศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 บารอน ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง ก่อตั้งคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ใน..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและกีฬาโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาว

ษาลาว (ลาว: ພາສາລາວ พาสาลาว) เป็นภาษาราชการของประเทศลาว เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไท และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาอีสานของประเทศไทย ระบบการเขียนในภาษาลาวจะใช้อักษรลาว ซึ่งเป็นระบบอักษรสระประกอบ (ระบบการเขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระที่จะอยู่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง ของพยัญชนะ) และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอักษรไท.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและภาษาลาว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแสก

ษาแสก เป็นภาษาตระกูลไท-กะไดที่ใช้พูดบริเวณสองฝั่งแม่น้ำโขงในประเทศลาวและจังหวัดนครพนม ประเทศไทย ผู้พูดภาษานี้เหลือน้อยเพราะคนรุ่นใหม่หันไปพูดภาษาลาวและภาษาไทยถิ่นอีสานมากขึ้น.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและภาษาแสก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเขมร

ษาเขมร (ភាសាខ្មែរ ภาสาแขฺมร เพียซา ขฺมะเอ) ซึ่งเป็นภาษาประจำชาติของราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก และได้รับอิทธิพลหลายๆ ประการมาจากภาษาสันสกฤต และภาษาบาลี พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้เข้ามาผ่านศาสนาพุทธ และศาสนาฮินดู ในขณะที่อิทธิพลจากภาษาอื่นๆ โดยมากเป็นคำยืม เช่น จากภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม เป็นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาษา และความใกล้ชิดกันในทางภูมิศาสตร์ และภาษาจีนจากการอพยพ ภาษาฝรั่งเศสจากการตกเป็นอาณานิคมช่วงเวลาหนึ่ง และภาษามลายูจากความสัมพันธ์ในอดีตและการที่เคยมีอาณาจักรจามปาในตอนกลางของประเทศเวียดนาม ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน (ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม) เนื่องจากไม่มีเสียงวรรณยุกต.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและภาษาเขมร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเขมรถิ่นไทย

ษาเขมรถิ่นไทย บ้างเรียก ภาษาเขมรเหนือ หรือ ภาษาเขมรสุรินทร์ เป็นภาษาย่อยของภาษาเขมร พูดโดยชาวไทยเชื้อสายเขมรในประเทศไทยที่อยู่ในจังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ นครราชสีมา ศรีสะเกษ อุบลราชธานี มหาสารคาม และร้อยเอ็ด รวมทั้งที่อพยพไปสู่ประเทศกัมพูชา โดยจังหวัดสุรินทร์มีผู้พูดภาษาเขมรถิ่นไทยมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ60ของประชากรทั้งหมดในจังหวัด หรือประมาณ8แสนคน ภาษาเขมรถิ่นไทยต่างจากภาษาเขมรสำเนียงพนมเปญซึ่งเป็นสำเนียงมาตรฐาน ในด้านจำนวนและความต่างของหน่วยเสียงสระ การใช้พยัญชนะ รากศัพท์ และไวยากรณ์ ทำให้แยกสำเนียงเขมรถิ่นไทยออกจากสำเนียงอื่น ๆ ได้ง่าย ผู้พูดภาษาเขมรถิ่นไทยจะเข้าใจภาษาเขมรทุกสำเนียง แต่ผู้พูดสำเนียงพนมเปญจะมีปัญหาในการทำความเข้าใจภาษาเขมรถิ่นไทย ทำให้นักภาษาศาสตร์บางคนแยกภาษาเขมรถิ่นไทยออกเป็นภาษาใหม่ต่างหากจากภาษาเขมร โดยถือเป็นภาษาใกล้เคียงกัน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและภาษาเขมรถิ่นไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาคอีสาน (ประเทศไทย)

อีสาน (มาจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต ऐशान aiśāna แปลว่า "ตะวันออกเฉียงเหนือ") หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภูมิภาคหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ำโขงกั้นประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชาและภาคตะวันออกของประเทศไทย และมีทิวเขาเพชรบูรณ์และทิวเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกจากภาคกลาง ภาคอีสานยังมีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูลมโล ภูหลวง และภูกระดึง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของชาวอีสานในหลายจังหวัดด้วยกัน เช่น แม่น้ำห้วยหลวง แม่น้ำชี ลำตะคอง แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน ซึ่งเป็นภาษาอีสานสำเนียงหนึ่งทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ส่วนภาษาไทยนิยมใช้กันทั่วไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และจังหวัดนครราชสีมาแต่ไม่ถือเป็นภาษาหลัก ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมรที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ มีภาษาถิ่นอื่น ๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทโคราช ภาษากวย (ส่วย) ภาษาแสก ภาษาข่า ภาษากะเลิง ภาษาโย้ย ภาษาย้อ เป็นต้น ภาคอีสานยังมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นที่สุดของประเทศ เช่น อาหาร ภาษา อักษร เช่น อักษรไทน้อย ดนตรีหมอลำ ดนตรีกันตรึม ดนตรีเจรียง และศิลปะการฟ้อนรำ การเซิ้ง ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและภาคอีสาน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ

นายแพทย์ ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ของประเทศไทย ที่จัดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่เริ่มประยุกต์หลักพระพุทธศาสนาให้เข้ากับสังคมสมัยใหม่ โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ หนึ่งในสองแห่งของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(มจร.) คือสถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนาชั้นสูงในรูปแบบมหาวิทยาลัย ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นเพื่อถวายแด่คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย โดยเริ่มจัดการเรียนการสอนด้านพุทธศาสตร์เป็นสาขาแรก แล้วต่อมาได้ขยายการเรียนการสอนไปยังสาขาวิชาอื่นๆ คล้ายกับรูปแบบการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ที่เริ่มต้นจากสาขาด้านศาสนาแล้วขยายไปยังสาขาอื่นอีกมายมาย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือกำเนิดจาก "มหาธาตุวิทยาลัย" ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นภายในวัดมหาธาตุฯ เมื่อปี พ.ศ. 2430 โดยเริ่มทำการสอนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดศรีสะเกษ โดยเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏในกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาในสาขาต่างๆ รวมทั้งดำเนินงานวิจัยและให้บริการทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ศิลปศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ เพื่อตอบสนองความต้องการของจังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดใกล้เคียง ตลอดจนประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นแผ่นดินใหญ่ โดยเฉพาะเขตอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและมหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยปทุมธานี

มหาวิทยาลัยปทุมธานี เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนเปิดการสอนตั้งแต่ระดับปริญญาตรี โท และเอก ตั้งอยู่ที่จังหวัดปทุมธานี มหาวิทยาลัยปทุมธานี เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งตามพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในนาม “วิทยาลัยปทุมธานี” เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2542 โดย ดร.ชนากานต์ ยืนยง เป็นผู้รับใบอนุญาตจัดตั้ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อขยายโอกาสให้แก่เยาวชนในจังหวัดปทุมธานี และพื้นที่ใกล้เคียง ให้มีโอกาสศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ต่อมาได้รับอนุญาตเปลี่ยนประเภทเป็น "มหาวิทยาลัยปทุมธานี" เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 มหาวิทยาลัยปทุมธานี ได้ดำเนินพันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ได้อย่างสมบูรณ์ครบถ้วน บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากจากสถาบันแห่งนี้ ได้ประกอบสัมมาวิชาชีพรับใช้สังคมและประเทศชาติอย่างมีคุณภาพ และกอปรด้วยคุณธรรม นำมาซึ่งความภาคภูมิใจของคณาจารย์และผู้บริหารสถาบันเป็นอย่างยิ่ง.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและมหาวิทยาลัยปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น

มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น (ชื่อเดิม มหาวิทยาลัยณิวัฒนา) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ที่อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2541 และได้เปลี่ยนชื่อเป็น "มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น" เมื่อปี พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา

มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา (Chalermkarnchana University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตั้งอยู่ที่จังหวัดศรีสะเกษ และถือเป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งแรกในจังหวัดศรีสะเกษ ได้รับอนุญาตให้เปิดทำการสอนระดับอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ. 2547 และได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนประเภทเป็นมหาวิทยาลัย ในชื่อว่า "มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา" เมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2557 ปัจจุบัน นอกจากการเรียนการสอนในจังหวัดศรีสะเกษ แล้ว ยังมีการจัดการเรียนการสอนในลักษณะเป็นวิทยาเขตหรือศูนย์ในจังหวัดตามภูมิภาคต่างๆ ด้วย ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดเพชรบูรณ์ มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา ได้มีการจัดพิธีพระราชทานปริญญาบัตรให้แก่ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเป็นประจำทุกปี ซึ่งทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เสด็จมาเป็นองค์ประธานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและมหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา · ดูเพิ่มเติม »

มันสำปะหลัง

''Manihot esculenta'' มันสำปะหลัง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Manihot esculenta (L.) Crantz) เป็นพืชหัวชนิดหนึ่ง เป็นพืชอาหารที่สำคัญอันดับ 5 รองจากข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าว และมันฝรั่ง ชื่อสามัญเรียกหลายชื่อเช่น Cassava, Yuca, Mandioa, Manioc, Tapioca ชาวไทยเดิมเรียกกันว่า มันสำโรง มันไม้ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกว่า มันต้นเตี้ย ภาคใต้เรียกมันเทศ (แต่เรียกมันเทศว่า "มันหลา") คำว่า "สำปะหลัง" ที่นิยมเรียกอาจมาจากคำว่า "ซำเปอ (Sampou)" ของชวาตะวันตก มันสำปะหลังมีแหล่งกำเนิดแถบที่ลุ่มเขตร้อน (Lowland tropics) มีหลักฐานแสดงว่าปลูกกันในโคลัมเบีย และเวเนซูเอลา มานานกว่า 3,000-7,000 ปีมาแล้ว นิยมใช้เป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ สามารถปลูกได้ง่ายในพื้นที่ร้อน และร้อนชื้น จึงได้มีการสนับสนุนแก่ประเทศที่กำลังพัฒนาที่มีสภาพภูมิอากาศดังกล่าวปลูกเป็นพืชเศรษฐก.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและมันสำปะหลัง · ดูเพิ่มเติม »

มาลินี อินฉัตร

นางสาวมาลินี อินฉัตร เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและมาลินี อินฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

มานะ มหาสุวีระชัย

มานะ มหาสุวีระชัย อดีตหัวหน้าพรรคแทนคุณแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2498 ที่ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ เป็นบุตรของนายประวิทย์ และนางสุชา มหาสุวีระชั.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและมานะ มหาสุวีระชัย · ดูเพิ่มเติม »

มิสเอเชียแปซิฟิกอินเตอร์เนชันแนล

"นางงามเอเชียแปซิฟิกนานาชาติ" (Miss Asia Pacific International) หรือ มิสเอเชียแปซิฟิกอินเตอร์เนชันนัล หรือเรียกโดยย่อว่า มิสเอเชียแปซิฟิก เป็นตำแหน่งสำหรับผู้ชนะเลิศในการประกวดความงามที่มีเป็นรายการของทวีปเอเชีย เริ่มครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2511 ใช้ชื่อว่า "นางงามเอเชีย" หรือ "มิสเอเชีย" โดยใช้ภาษาอังกฤษว่า Miss Asia Quest หรือการแข่งขันหรือการประกวดนางงามเอเซีย(Miss Asia Quest) ปัจจุบันมีผู้เข้าร่วมประกวดจากประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชียและโอเชียเนีย ใน พ.ศ. 2528 การประกวดเปลี่ยนชื่อเป็น "นางงามเอเชียแปซิฟิก" หรือ "มิสเอเชียแปซิฟิก" (Miss Asia Quest) เพื่อรับผู้เข้าร่วมจากภูมิภาคแปซิฟิก เช่น ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ ด้วย และเปลี่ยนชื่อเป็น "นางงามเอเชียแปซิฟิกนานาชาติ" ใน พ.ศ. 2548 เพื่อให้ครอบคลุมประเทศอื่น ๆ ยิ่งขึ้น.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและมิสเอเชียแปซิฟิกอินเตอร์เนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์

มนุษย์ (ภาษาละตินแปลว่า "คนฉลาด" หรือ "ผู้รู้") เป็นสปีชีส์เดียวที่ยังมีชีวิตอยู่ในสกุล Homo ในทางกายวิภาค มนุษย์สมัยใหม่ถือกำเนิดขึ้นในทวีปแอฟริการาว 200,000 ปีที่แล้ว และบรรลุความนำสมัยทางพฤติกรรม (behavioral modernity) อย่างสมบูรณ์เมื่อราว 50,000 ปีที่แล้ว เชื้อสายมนุษย์แยกออกจากบรรพบุรุษร่วมสุดท้ายกับชิมแพนซี สิ่งมีชีวิตที่ใกล้ชิดที่สุด เมื่อราว 5 ล้านปีที่แล้วในแอฟริกา ก่อนจะวิวัฒนาการไปเป็นออสตราโลพิเธซีน (Australopithecines) และสุดท้ายเป็นสกุล Homo สปีชีส์ โฮโม แรก ๆ ที่อพยพออกจากแอฟริกา คือ Homo erectus, Homo ergaster ร่วมกับ Homo heidelbergensis ซึ่งถูกมองว่าเป็นบรรพบุรุษสายตรงของมนุษย์สมัยใหม่ Homo sapiens ยังเดินหน้าตั้งถิ่นฐานในทวีปต่าง ๆ โดยมาถึงยูเรเซียระหว่าง 125,000-60,000 ปีที่แล้ว ทวีปออสเตรเลียราว 40,000 ปีที่แล้ว ทวีปอเมริการาว 15,000 ปีที่แล้ว และเกาะห่างไกล เช่น ฮาวาย เกาะอีสเตอร์ มาดากัสการ์และนิวซีแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

ยรรยง พวงราช

นายยรรยง พวงราช (14 เมษายนพ.ศ. 2495-) เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นอดีตปลัดกระทรวงพาณิชย์ อดีตอธิบดีกรมการค้าภายใน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและยรรยง พวงราช · ดูเพิ่มเติม »

ยอดสนั่น 3เคแบตเตอรี่

อดสนั่น 3เคแบตเตอรี่ มีชื่อจริงว่า ธีระ พงษ์วัน เกิดเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2517 ที่บ้านเลขที่ 7 หมู่ 10 ตำบลสำโรงพลัน อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ มีสถิติการชกมวยสากลอาชีพทั้งหมด 54 ครั้ง ชนะ 50 (น็อค 39) เสมอ 1 แพ้ 3.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและยอดสนั่น 3เคแบตเตอรี่ · ดูเพิ่มเติม »

ยางพารา

งพารา เป็นไม้ยืนต้น มีถิ่นกำเนิดบริเวณลุ่มน้ำแอมะซอน ประเทศบราซิลและประเทศเปรู ทวีปอเมริกาใต้ โดยชาวพื้นเมืองเรียกว่า "เกาชู" (cao tchu) แปลว่า ต้นไม้ร้องไห้ จนถึงปี..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและยางพารา · ดูเพิ่มเติม »

ยิ่งยง ยอดบัวงาม

งยง ยอดบัวงาม เป็นนักร้องลูกทุ่งชาย ที่มีผลงานเพลงออกมามากมายหลายชุด นอกจากนั้นเขาก็ยังได้ร่วมแสดงภาพยนตร์และละครอีกหลายเรื่อง ยิ่งยง โด่งดังอย่างมากจากเพลง " สมศรี 1992 " และเพลงนี้นี่เอง ที่ช่วยปลุกกระแสเพลงลูกทุ่งที่ซบเซาอย่างหนัก ให้กลับมาคึกคักอยู่ได้ จวบจนทุกวันนี้.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและยิ่งยง ยอดบัวงาม · ดูเพิ่มเติม »

ยุคก่อนประวัติศาสตร์

ก่อนประวัติศาสตร์ (อังกฤษ: Prehistory) โดยทั่วไปหมายถึงช่วงเวลาที่ไม่มีการบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ โดยมนุษย์ (ในบางครั้งหมายถึง ช่วงเวลาก่อนมีอารยธรรมมนุษย์).

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและยุคก่อนประวัติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเหล็ก

หล็ก เกิดหลังจากยุคสำริดสิ้นสุดลงในช่วง 1206-1150 ปีก่อนคริสตกาล เป็นยุคที่มนุษย์เริ่มใช้เหล็กในการทำเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ในการดำรงชีวิต ยุคต่อมาหลังยุคเหล็ก คือ สมัยโบราณ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและยุคเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

รัตนโกสินทร์ (แก้ความกำกวม)

รัตนโกสินทร์ อาจจะหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและรัตนโกสินทร์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ราชกิจจานุเบกษา

ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2401 นับเป็นเอกสารหลักในการแจ้งประกาศ กฎหมาย และคำสั่งทางราชการให้ประชาชนทราบอย่างเป็นทางการจวบจนปัจจุบันนี้ นับเป็นสิ่งพิมพ์ของไทยที่มีอายุยาวนานที่สุด โดยมีสำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นผู้รับผิดชอบจัดพิมพ์และเผยแพร.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและราชกิจจานุเบกษา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด

ันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด เป็นพันธุ์ไม้ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถได้พระราชทานให้กับผู้ว่าราชการจังหวัดของแต่ละจังหวัด เพื่อให้นำไปปลูกเป็นสิริมงคลแก่จังหวัดและเพื่อเป็นการรณรงค์ให้ประชาชนปลูกต้นไม้ในโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี (พระราชพิธีกาญจนาภิเษก) รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดของแต่ละจังหวัดแยกตามภาค (ตามเกณฑ์การแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน) มีรายละเอียดตามที่ปรากฏในตารางข้างล่าง ทั้งนี้ พันธุ์ไม้มงคลพระราชทานของบางจังหวัด (ได้แก่ นครปฐม บุรีรัมย์ ยโสธร ระนอง ระยอง สุโขทัย และสุรินทร์) จะเป็นพรรณไม้คนละชนิดกับต้นไม้ประจำจังหวัดนั้น ๆ ส่วนจังหวัดบึงกาฬไม่มีพันธุ์ไม้พระราชทานเนื่องจากขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดหนอง.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดศรีสะเกษ

รายชื่อวัดในจังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและรายชื่อวัดในจังหวัดศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดศรีสะเกษ

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

ร็อคกี้ ส.จิตรลดา

ร็อคกี้.จิตรลดา เกิดเมื่อ 10 ตุลาคม..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและร็อคกี้ ส.จิตรลดา · ดูเพิ่มเติม »

ลำดวน

ลำดวน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Melodorum fruticosum Lour.) มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า หอมนวล (ภาคเหนือ) ลำดวน (ภาคอีสาน) เป็นไม้ดอกชนิดหนึ่งมีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดศรีสะเกษ นอกจากนี้ ดอกหอมนวลยังเป็นดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและลำดวน · ดูเพิ่มเติม »

วัดมหาพุทธาราม

วัดมหาพุทธาราม บ้านเมืองเหนือ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ ตั้งอยู่กลางเมืองศรีสะเกษ มีวิหารซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองและเป็นที่เคารพสักการะของชาวศรีสะเกษคือ หลวงพ่อโต เป็นพระพุทธรูปองค์ใหญ่ปางมารวิชัย มีความสูงจากฐานถึงยอดเกศ 6.85 เมตร หน้าตักกว้าง 3.50 เมตร เดิมเป็นพระพุทธรูปศิลาจำหลัก สันนิษฐานว่าเป็นพระพุทธรูปสมัยขอมซึ่งมีอายุร่วมพันปีมาแล้วแต่มาสร้างเพิ่มเติมขึ้นเมื่อใดไม่ปรากฏแน่ชัด ภายในวัดมีวิหารซึ่งเป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อโต พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์เป็นที่เคารพสักการะของชาวศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและวัดมหาพุทธาราม · ดูเพิ่มเติม »

วันดี คำเอี่ยม

รือเอกหญิงวันดี คำเอี่ยม เป็นนักกีฬายกน้ำหนักหญิง ทีมชาติไทย สังกัดสมาคมยกน้ำหนักแห่งประเทศไทย เป็นชาวอำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ มีผลงานสร้างชื่อเสียงให้กับจังหวัดศรีสะเกษและประเทศไทย ด้วยรางวัลเหรียญทอง เหรียญเงิน และเหรียญทองแดง จากการเป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันกีฬายกน้ำหนักในระดับนานาชาติหลายรายการ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและวันดี คำเอี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

วิชัย สุริยุทธ

ร้อยตำรวจตรี วิชัย สุริยุทธ หรือที่รู้จักกันในนาม ดาบวิชัย เป็นที่รู้จักกันในสังคมไทย จากการที่เขาเป็นผู้ปลูกต้นไม้มากกว่าสองล้านต้นในอำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ จนสามารถทำให้อำเภอปรางค์กู่ อำเภอที่เคยจัดว่าแห้งแล้งที่สุดแห่งหนึ่ง ปัจจุบันเป็นพื้นที่ๆอุดมสมบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและวิชัย สุริยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

วิชิต แสงทอง

นายวิชิต แสงทอง เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ 2 สมั.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและวิชิต แสงทอง · ดูเพิ่มเติม »

วิจารย์ สิมาฉายา

ร.วิจารย์ สิมาฉายา (เกิด) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเป็นอดีตอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและวิจารย์ สิมาฉายา · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ (อังกฤษ : Sisaket College of Agriculture and Technology ) เป็นวิทยาลัยด้านการเกษตร สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ในจังหวัดศรีสะเกษ โดยเปิดสอน 3 หลักสูตร คือ ปว., ปว.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจรักไทย ขุขันธ์

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจรักไทย ขุขันธ์ (อังกฤษ: Rakthai Khukhan Bussiness Administration Technological College) เป็นวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและวิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจรักไทย ขุขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรีสะเกษ (แก้ความกำกวม)

รีสะเกษ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและศรีสะเกษ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ศรีสะเกษ ศ.รุ่งวิสัย

รีสะเกษ.รุ่งวิสัย หรือ ศรีสะเกษ นครหลวงโปรโมชั่น เป็นแชมป์โลกชาวไทยในรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท (115 ปอนด์) ของสภามวยโลก (WBC) 2 สมัย ในกลางปี..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและศรีสะเกษ ศ.รุ่งวิสัย · ดูเพิ่มเติม »

ศรีสุข รุ่งวิสัย

รีสุข รุ่งวิสัย อดีตสมาชิกวุฒิสภา แบบสรรหา จากฐานข้อมูลประวัติสมาชิกวุฒิสภา เข้าถึงออนไลน์ทางเว็บไซต์วุฒิสภา เป็นผู้มีบทบาทในฐานะผู้ดำเนินกิจการสาธารณกุศลเพื่อประชาชนผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้รับสมญานาม นักบุญแห่งแดนอีสานใต้.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและศรีสุข รุ่งวิสัย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปินแห่งชาติ

ลปินแห่งชาติ ของประเทศไทย หมายถึงศิลปินผู้มีความสามารถ มีผลงานสร้างสรรค์และพัฒนาเป็นที่ยอมรับของวงการ และมีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม นับตั้งแต่เริ่มโครงการศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ. 2528) ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและศิลปินแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก

มเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไท.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลศรีสะเกษ

ูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลศรีสะเกษ เป็นศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก สังกัดโรงพยาบาลศรีสะเกษ กระทรวงสาธารณสุข และเป็นสถาบันร่วมผลิตแพทย์กับวิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ สุวรรณสุจริต

นายสมศักดิ์ สุวรรณสุจริต (14 ตุลาคม 2498 -) ผู้ว่าราชการจังหวัดระยอง อดีตผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ และเป็นอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ดูแลพื้นที่ในช่วงเหตุการณ์ปะทะตามแนวชายแดนไทย-กัมพู..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสมศักดิ์ สุวรรณสุจริต · ดูเพิ่มเติม »

สมณะโพธิรักษ์

มณะโพธิรักษ์ (รัก รักพงษ์) เป็นนักบวชผู้ก่อตั้งสำนักสันติอโศก ปัจจุบันเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณของชาวสันติอโศก.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสมณะโพธิรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์

มเด็จพระบรมราชา (ที่ 3) หรือ สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ หรือ สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 33 และเป็นรัชกาลสุดท้ายแห่งอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ สืบสายพรหม

วัสดิ์ สืบสายพรหม (เกิด 8 มกราคม พ.ศ. 2490) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ 4 สมัย และอดีตนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลเมืองขุขัน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสวัสดิ์ สืบสายพรหม · ดูเพิ่มเติม »

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษ

วนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษ เป็นสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ตำบลหนองครก อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ ติดกับบริเวณวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ มีเนื้อที่ 237 ไร่ ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทร์บรมราชชนนี พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จเป็นประธานเปิดสวนแห่งนี้เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2524 หน่วยงานรับผิดชอบในการดูแลรักษา คือ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ ต้นไม้ประจำสวน คือ ลำดวน (Melodorum fruticosum Lour.).

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (National Office of Buddhism) เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี เป็นหน่วยงานที่ไม่สังกัดกระทรวง ทบวงใด จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 มีภารกิจเกี่ยวกับการดำเนินงานสนองงานคณะสงฆ์และรัฐโดยการทำนุบำรุง ส่งเสริมกิจการพระพุทธศาสนา ให้การอุปถัมภ์ คุ้มครองและส่งเสริมพัฒนางานพระพุทธศาสนา ดูแล รักษา จัดการศาสนาสมบัติ พัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งให้การสนับสนุนส่งเสริม พัฒนาบุคลากรทางศาสน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) (Office of the Non-Formal and Informal Education: NFE) เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่หน้าที่ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยในประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Office of the Basic Education Commission: OBEC) เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่รับผิดชอบการจัดการศึกษาในระดับพื้นฐานตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยแบ่งออกเป็น 3 ช่วงชั้น.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) หรือ "กรมอาชีวศึกษา" (เดิม) เป็นหนึ่งในห้าหน่วยงานหลักของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบกำกับดูแลงานการศึกษาในด้านการอาชีวศึกษา เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการการอาชีวศึกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา: สกอ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สุริยะใส กตะศิลา

ริยะใส กตะศิลา เป็นรองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต, และเป็นผู้อำนวยการสถาบันปฏิรูปประเทศไทย ในระหว่างปี พ.ศ. 2548-2552 สุริยะใสเป็นหนึ่งในแกนนำและเป็นผู้ประสานงานเครือข่ายพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) ต่อมาได้เข้าเป็นเลขาธิการพรรคการเมืองใหม่ก่อนจะลาออกจากพรรคเนื่องจากมีความขัดแย้งภายในพรรค ในช่วงวิกฤตการณ์การเมือง..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสุริยะใส กตะศิลา · ดูเพิ่มเติม »

สุดา ศรีลำดวน

รีลำดวน เป็นนักร้องลูกทุ่งหญิงเสียงดี ที่อยู่ในวงการมานานกว่า 10 ปีแล้ว และยังคงผลิตผลงานเพลงออกมาอย่างต่อเนื่อง สุดา ศรีลำดวน โด่งดังมาจากเพลง " น้าเขย " ก่อนที่จะมีเพลงฮิตติดตามมาอีกมากมายหลายเพลง.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสุดา ศรีลำดวน · ดูเพิ่มเติม »

สีส้ม

ีส้ม เป็นหนึ่งในกลุ่มสีโทนร้อน แสงสีส้มที่มองเห็นได้มีความยาวคลื่นราว 590 นาโนเมตร สีเพลิง เป็น รูปลักษณ์ของสีออกคล้ายสีแสด ซึ่งมีความเข้มกว่าสีส้ม.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันการพลศึกษา

ันการพลศึกษา เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สังกัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เดิมชื่อ วิทยาลัยพลศึกษา ทำหน้าที่ผลิตครู โดยเฉพาะครูสอนพลศึกษาและสุขศึกษา แต่ปัจจุบันได้เพิ่มบทบาทในการผลิตบุคลากรด้านวิชาชีพ ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา และสุขภาพเพิ่มขึ้น ตั้งอยู่เลขที่ 154 สนามกีฬาแห่งชาติ ถนนพระรามที่ 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสถาบันการพลศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตศรีสะเกษ

ันการพลศึกษา วิทยาเขตศรีสะเกษ (Institute of Physical Education Sisaket) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดศรีสะเกษ โดยเป็น 1 ใน 4 วิทยาเขต ของ สถาบันการพลศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปัจจุบันเปิดสอนในหลักสูตรปริญญาตรี หลายสาขา เพื่อการผลิตบัณฑิตและพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา การกีฬา วิทยาศาสตร์การกีฬา วิทยาศาสตร์สุขภาพ นันทนาการ และบุคลากรในด้านที่เกี่ยวข้อง นอกจากภารกิจด้านการศึกษาแล้ว ยังดำเนินงานวิจัยและให้บริการทางวิชาการสาขาการพลศึกษา วิทยาศาสตร์การกีฬา ตลอดจนสาขาที่เกี่ยวข้อง และการให้บริการด้านการกีฬาแก่ชุมชน การใช้และพัฒนาเทคโนโลยี เสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้แก่ท้องถิ่น ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาสำหรับบุคลากร ที่มีความสามารถพิเศษทางการกีฬา นันทนาการ และบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย รวมถึงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การละเล่นพื้นบ้าน การกีฬาไทย ทั้งนี้ เพื่อตอบสนองความต้องการทางการกีฬา วิทยาศาสตร์การกีฬา สุขภาพและนันทนาการในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ อุบลราชธานี อำนาจเจริญ และยโสธร.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน

ันการเรียนรู้เพื่อปวงชน (Learning Institute For Everyone - LIFE) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย มีสำนักงานสถาบันตั้งอยู่ที่ 13/2 หมู่ 1 ตำบลบางคนที อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เปิดสอนในระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท ปัจจุบันสถาบันได้เปิดศูนย์การเรียนรู้เพื่อปวงชนในทุกภาคกว่า 30 จังหวัด มีนักศึกษาประมาณ 6,000 คน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองลาว

งครามกลางเมืองลาว (พ.ศ. 2496-2518) เป็นการสู้รบระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ (ปะเทดลาว) ซึ่งส่วนใหญ่มีเชื้อสายมาจากชาวลาวในประเทศเวียดนามเหนือ กับรัฐบาลราชอาณาจักรลาว โดยทั้งฝ่ายขวาและฝ่ายซ้ายต่างก็ได้รับการสนับสนุนจากมหาอำนาจแห่งสงครามเย็น ในหมู่ทหารอเมริกันจากกองกิจการพิเศษ หน่วยสืบราชการลับกลางแห่งสหรัฐอเมริกา และทหารผ่านศึกชาวม้งเรียกสงครามนี้ว่า สงครามลับ (Secret War) ราชอาณาจักรลาวกลายเป็นสมรภูมิลับระหว่างฝ่ายต่างๆ ในสงครามเวียดนาม สนธิสัญญาไมตรีและสมาคมฝรั่งเศส-ลาวที่ลงนามในวันที่ 22 ตุลาคม..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสงครามกลางเมืองลาว · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลศรีสะเกษ

มสรฟุตบอลศรีสะเกษ เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย ซึ่งเป็นทีมเดิมจากจังหวัดศรีสะเกษแล้วเปลี่ยนชื่อพร้อมกับย้ายสนามเหย้าไปอยู่จังหวัดอุบลราชธานี และในปี 2556 ได้ย้ายกลับคืนสู่จังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและสโมสรฟุตบอลศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

หอมแดง

หอมแดง เป็นพืชในวงศ์ Alliaceae โดยยึดเอา French grey challot หรือ griselle เป็นหอมที่แท้จริง จัดอยู่ในสปีชีย์นี้ มีการเพาะปลูกในเอเชียกลางและเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ส่วนความหลากหลายอื่นที่มีคือ Allium cepa var.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและหอมแดง · ดูเพิ่มเติม »

อยุธยา

อยุธยา อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านช้าง

อาณาจักรล้านช้าง (ອານາຈັກລ້ານຊ້າງ) เป็นอาณาจักรของชนชาติลาวซึ่งตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำโขง มีอาณาเขตอยู่ในบริเวณประเทศลาวทั้งหมด ตลอดจนพื้นที่บางส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยมีความเจริญรุ่งเรืองทั้งการเมืองการปกครอง ด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนพระพุทธศาสนา ที่มีพัฒนาการเคียงคู่มาพร้อมกันอาณาจักรอื่น ๆ ใกล้เคียง ทั้งล้านนา สยาม พม่า และเขมร อาณาจักรแห่งนี้ได้สถาปนาขึ้นอย่างเป็นปึกแผ่นมั่งคงอย่างแท้จริงในปี พ.ศ. 1896 สมัยพระเจ้าฟ้างุ้ม มีความรุ่งเรืองสลับกับความร่วงโรยต่อมาหลายสมัย ซึ่งยุคที่นับได้ว่าเป็นยุคทองของอาณาจักรล้านช้างคือรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2091- พ.ศ. 2114 และรัชสมัยพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช (พ.ศ. 2181- พ.ศ. 2238) หลังจากนั้นอาณาจักรลาวก็เสื่อมอำนาจลงและแตกแยกเป็น 3 ราชอาณาจักร และในปี พ.ศ. 2321 ทั้ง 3 อาณาจักรก็ได้สูญเสียเอกราชแก่ราชอาณาจักรสยามในที.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอาณาจักรล้านช้าง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อาคม เติมพิทยาไพสิฐ

นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และอดีตเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นกรรมการในคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การบูรณาการการพัฒนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและอีกหลายคณะกรรมการในคณะรักษาความสงบแห่งชาติ รวมถึงเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติกรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกอดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหาร สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอาคม เติมพิทยาไพสิฐ · ดูเพิ่มเติม »

อาคารขุนอำไพพาณิชย์

อาคารขุนอำไพพาณิชย์ หรือที่ชาวเมืองศรีสะเกษเรียกกันทั่วไปว่า ตึกขุนอำไพ ตั้งอยู่ในย่านเมืองเก่าเทศบาลเมืองศรีสะเกษ บนถนนอุบล (ฝั่งขาออกไปยังจังหวัดอุบลราชธานี) ตำบลเมืองใต้ อำเภอเมืองศรีสะเกษ ห่างจากศาลากลางจังหวัดศรีสะเกษไปทางตะวันออกประมาณ 4 กิโลเมตร เป็นบ้านที่พักอาศัยเก่าของขุนอำไพพาณิชย์ (ทองอินทร์ นาคสีหราช) คหบดีชาวศรีสะเกษ ก่อสร้างขึ้นใน..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอาคารขุนอำไพพาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบึงบูรพ์

ึงบูรพ์ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดศรีสะเกษ มีที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดสุรินทร์ทางทิศเหนือและทิศตะวันตก จัดเป็นอำเภอที่มีขนาดเล็กและมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดในจังหวัดศรีสะเกษ โดยได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นอำเภอบึงบูรพ์เมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอบึงบูรพ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพยุห์

ห์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ จัดตั้งขึ้นเป็นกิ่งอำเภอเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2537 โดยแยกออกจากอำเภอเมืองศรีสะเกษ และต่อมาเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2540 จึงได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะเป็น อำเภอพยุห.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอพยุห์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกันทรลักษ์

กันทรลักษ์ อำเภอน่าอยู่อันดับที่ 9 ของประเทศไทย เป็นอำเภอขนาดใหญ่ มีพื้นที่มากที่สุดในจังหวัดศรีสะเกษและมีประชากรมากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ไม่รวมอำเภอเมือง) มีแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญอยู่มากมาย พร้อมทั้งมีดินที่มีความอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งเกษตรกรรมผลิตพืชผลออกจำหน่ายอยู่หลายประเภท เช่น เงาะ ทุเรียน ลำไย สะตอ ลิ้นจี่ ยางพารา และผักสวนครัว คำแปลของชื่ออำเภอ มาจากภาษาบาลี กนฺทร: ส่วนแห่งภูเขา อันน้ำเซาะ, ซอก, ซอกเขา, ถ้ำ, ลำธาร + ลกฺข: จำนวนแสน (สันสฤต ลกฺษ) มีที่มาจากชื่อเดิมบ้านห้วยลำแสนไพรอาบาล.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอกันทรลักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกันทรารมย์

กันทรารมย์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ เป็นเส้นทางเชื่อมระหว่างจังหวัดศรีสะเกษ กับจังหวัดอุบลราชธานี ทั้งการขนส่งทางบก และการขนส่งทางราง อนึ่ง ในอำเภอกันทรารมย์ไม่มีตำบลที่ชื่อ "กันทรารมย์" ส่วนตำบลกันทรารมย์นั้นตั้งอยู่ในเขตอำเภอขุขัน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอกันทรารมย์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอภูสิงห์

ูสิงห์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ มีพื้นที่ติดต่อกับประเทศกัมพูชา และมีจุดผ่านแดนถาวรช่องสะงำ ซึ่งเป็นเส้นทางที่เดินทางไปยังนครวัด-นครธม โดยใช้ถนนสาย 67 (ช่องสะงำ-อัลลองเวง-เสียมราฐ) ระยะทางเพียง 135 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอภูสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอยางชุมน้อย

งชุมน้อย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ เป็นแหล่งผลิตหอมแดงใหญ่ที่สุดของจังหวัดศรีสะเกษ มีเกษตรกรกว่า 3,000 ราย ปลูกหอมแดงเป็นเนื้อที่กว่า 9,300 ไร่ ผลผลิตหอมแดงประมาณ 26,000 ตันต่อปี สินค้าแปรรูปที่ขึ้นชื่อ1.กระเทียมโทนดองน้ำผึ้ง 2.หอมเจียวปลากรอบ 3.แยมหอมเจียว ทั้ง3ผลิตภัณฑ์สร้างรายได้ สร้างงานให้คนในชุมชน เพื่อพี่น้องชาวยางชุมให้มีอาชีพที่ยั้งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงหล่อเลี้ยงชุมชน และได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่สนับสนุน สถานที่ตั้งอยู่ตรงข้ามปั้มน้ำมันบางจากทางไปจังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอยางชุมน้อย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอราษีไศล

ราษีไศล เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอราษีไศล · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังหิน

วังหิน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของจังหวัด ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เป็นอำเภอที่มีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 220 ซึ่งเป็นถนนสายสำคัญของจังหวัดศรีสะเกษผ่าน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอวังหิน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอศรีรัตนะ

รีรัตนะ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอศรีรัตนะ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอศิลาลาด

ลาลาด เป็นอำเภอหนึ่งตั้งอยู่ทางตอนเหนือสุดของจังหวัดศรีสะเกษ ยกฐานะขึ้นเป็นอำเภอในปี พ.ศ. 2550 โดยแยกออกจากอำเภอราษีไศล นับเป็นอำเภอที่จัดตั้งขึ้นเป็นลำดับล่าสุดของจังหวัด พร้อมกับอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอศิลาลาด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอห้วยทับทัน

ห้วยทับทัน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของจังหวัด มีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดสุรินทร์ แยกออกมาจาก อำเภออุทุมพรพิสัยประกาศตั้งเป็นกิ่งอำเภอห้วยทับทัน เมื่อวันที่ 17 ม..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอห้วยทับทัน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภออุทุมพรพิสัย

อุทุมพรพิสัย (ในอดีตเขียน "อุทุมพรพิไสย") เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ เป็นอำเภอเก่าแก่ของจังหวัดศรีสะเกษ (แรกเริ่มการก่อตั้งจังหวัดศรีสะเกษมี 6 อำเภอ คือ อำเภอเมืองศรีสะเกษ อำเภอกันทรารมย์ อำเภอกันทรลักษ์ อำเภอขุขันธ์ อำเภอราษีไศล และอำเภออุทุมพรพิสัย) เป็นอำเภอที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเคยเสด็จพระราชดำเนินทางรถไฟเยี่ยมพสกนิกรเมื่อครั้งอดีต เป็นอำเภอที่มีความหนาแน่นของประชากรสูงที่สุดของจังหวัดศรีสะเกษ มีอำเภอที่แยกจากอำเภออุทุมพรพิสัยไปแล้ว 4 อำเภอ คือ อำเภอห้วยทับทัน อำเภอบึงบูรพ์ อำเภอเมืองจันทร์ และอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภออุทุมพรพิสัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอขุขันธ์

ันธ์ เป็นอำเภอหนึ่งที่ขึ้นกับจังหวัดศรีสะเกษ เป็นอำเภอเก่าแก่ที่มีประวัติความเป็นมาอันยาวนานและเป็นที่ตั้งดั้งเดิมของ “เมืองขุขันธ์” ในอดีตมีอาณาเขตกว้างขวางครอบคลุมพื้นที่ของจังหวัดศรีสะเกษในปัจจุบัน และเขตอำเภอเดชอุดม อำเภอบุณฑริก ซึ่งรวมพื้นที่ของอำเภอน้ำยืน อำเภอนาจะหลวย อำเภอทุ่งศรีอุดม อำเภอน้ำขุ่น และอำเภอนาเยีย  จังหวัดอุบลราชธานีในปัจจุบันนี้ด้วย และยังลงไปถึงดินแดนในประเทศกัมพูชาปัจจุบัน ซึ่งมีทั้งหมด 3 เมืองที่ขึ้นกับเมืองขุขันธ์ในอดีต ได้แก่ เมืองมโนไพร เมืองอุทุมพรพิไสย(บ้านกันตวด) และเมืองกันทรรักษ์(ตำบลห้วยลำแสนไพรอาบาล).

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอขุขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอขุนหาญ

นหาญ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 4 รองจากอำเภอกันทรลักษ์ อำเภอขุขันธ์ และอำเภอภูสิงห์ ตามลำดับ และเป็นหนึ่งในสามอำเภอของจังหวัดศรีสะเกษที่มีพื้นที่ติดต่อกับประเทศกัมพูชา และยังเป็นพื้นที่ที่มีการปลูกเงาะ ทุเรียนที่มีชื่อเสียงของจังหวัดศรีสะเกษอีกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอขุนหาญ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปรางค์กู่

ปรางค์กู่ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ ตั้งทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัด ในอดีตเป็นพื้นที่ที่มีความแห้งแล้งมากที่สุดในจังหวัดศรีสะเกษ และมีความแห้งแล้งในลำดับต้นๆ ของประเทศไทย ปัจจุบันมีความอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธ์ธัญญาหาร และเป็นแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอปรางค์กู่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอน้ำเกลี้ยง

น้ำเกลี้ยง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอน้ำเกลี้ยง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ

รีสุวรรณ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโนนคูณ

นนคูณ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ แยกออกจากอำเภอกันทรารมย์ เมื่อปี พ.ศ. 2520 และได้รับการยกฐานะเป็นอำเภอ ในปี พ.ศ. 2531.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอโนนคูณ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอไพรบึง

รบึง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ ตั้งอยู่ทางตอนกลางของจังหวัด เดิมเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอขุขันธ์ ต่อมาได้แยกออกมาจัดตั้งเป็นกิ่งอำเภอ ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอไพรบึง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเบญจลักษ์

ญจลักษ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ จัดตั้งขึ้นเป็นกิ่งอำเภอเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 โดยแยกออกจากอำเภอกันทรลักษ์ ต่อมาเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ได้มีประกาศพระราชกฤษฎีกายกฐานะเป็น อำเภอเบญจลักษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอเบญจลักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองศรีสะเกษ

มืองศรีสะเกษ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ เป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอเมืองศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองจันทร์

มืองจันทร์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ แยกออกจากอำเภออุทุมพรพิสัย เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2535 และต่อมาเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2540 จึงได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะเป็น อำเภอเมืองจันทร.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอำเภอเมืองจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร

หน้าผาในอุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร อยู่ในพื้นที่อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ และอำเภอน้ำขุ่น อำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี มีเนื้อที่ 85,388.97 ไร่ (136.62 ตารางกิโลเมตร) อาณาเขตด้านใต้ติดต่อกับประเทศกัมพูชา มีถนนและบันไดทางขึ้นสู่ปราสาทเขาพระวิหารบริเวณผามออีแดงในตำบลเสาธงชัย อำเภอกันทรลักษ์ เป็นอุทยานแห่งชาติตามพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 115 ตอนที่ 14 ก ลงวันที่ 20 มีนาคม 2541) นับเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 19 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 83 ของประเทศ พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาพระวิหาร ป่าฝั่งลำโดมใหญ่ ท้องที่อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ และอำเภอน้ำขุ่น อำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี เป็นพื้นที่ป่าไม้ชายแดนให้เป็นพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์ ห้ามเข้าไปและอาศัยอยู่โดยเด็ดขาด เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวยังคงความอุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้และเป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร มีสัตว์ป่านานาชนิดอาศัยอยู่มาก มีทัศนียภาพที่สวยงาม ตลอดจนโบราณสถานที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และกรมป่าไม้กำหนดและประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหารมีทัศนียภาพและทิวทัศน์ที่สวยงามอยู่หลายแห่ง เช่น จุดชมทิวทัศน์ผามออีแดง จุดชมทิวทัศน์หน้าผาช่องโพย บริเวณป่าและสวนหินรอบสระตราว ถ้ำฤๅษี แหล่งตัดหิน สถูปคู่ ภาพสลักนูนต่ำใต้ผามออีแดง น้ำตกผาช่องโพย จุดชมวิว ภูเซี่ยงหม้อ ปราสาทโดนตวล และที่สำคัญคือ ปราสาทเขาพระวิหาร อันเป็นโบราณสถานสำคัญเก่าแก่ ที่เคยเป็นกรณีพิพาทระหว่างไทยกับประเทศกัมพูชา เมื่อพ.ศ. 2505 และในที่สุดศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ได้ตัดสินให้ตัวปราสาทอยู่ในอธิปไตยของประเทศกัมพูชา แต่ถนนและบันไดทางขึ้นสู่ปราสาทเขาพระวิหารอยู่ทางฝั่งไทย และพื้นที่ทางขึ้นบริเวณผามออีแดงที่จังหวัดศรีสะเกษเป็นทางขึ้นที่สะดวกที.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและอุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

องศาเซลเซียส

องศาเซลเซียส (สัญลักษณ์ °C) หรือที่เคยเรียกว่า องศาเซนติเกรด (degree centigrade) เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิหน่วยหนึ่งในระบบเอสไอ กำหนดให้จุดเยือกแข็งของน้ำคือ 0 °C และจุดเดือดคือ 100 °C โดยตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่แอนเดอร์ เซลเซียส ผู้ซึ่งสร้างระบบใกล้เคียงกับปัจจุบัน ในปัจจุบันองศาเซลเซียสใช้กับแพร่หลายทั่วโลกในชีวิตประจำวัน จะยกเว้นก็มีสหรัฐอเมริกาและประเทศจาไมกาเท่านั้นที่นิยมใช้หน่วยองศาฟาเรนไฮต์ แต่ในประเทศดังกล่าว องศาเซลเซียสและเคลวินก็ใช้มากในด้านวิทยาศาสตร.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและองศาเซลเซียส · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) คือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทย มีจังหวัดละหนึ่งแห่ง ยกเว้นกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ องค์การบริหารส่วนจังหวัด มีเขตพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมทั้งจังหวัด จัดตั้งขึ้นเพื่อบริการสาธารณประโยชน์ในเขตจังหวัด ตลอดทั้งช่วยเหลือพัฒนางานของเทศบาลและ อบต. รวมทั้งการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อไม่ให้งานซ้ำซ้อน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและองค์การบริหารส่วนจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบล

องค์การบริหารส่วนตำบล มีชื่อย่อเป็นทางการว่า อบต. มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็น ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและองค์การบริหารส่วนตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ผามออีแดง

ผามออีแดง ตั้งอยู่ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร ตำบลเสาธงชัย อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ อยู่บริเวณใกล้เคียงกับทางเดินขึ้นปราสาทเขาพระวิหาร เป็นหน้าผาสูงชันกั้นเขตแดนประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา ตลอดแนวผามออีแดงมีระยะประมาณ 300 เมตร เป็นจุดชมวิวที่มองเห็นทัศนียภาพของแผ่นดินประเทศกัมพูชาที่อยู่ต่ำลงไปอย่างเป็นมุมกว้าง มีฝูงค้างคาวในยามพระอาทิตย์ตกดิน บริเวณใกล้เคียงมีเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ชมโบราณสถานสถูปคู่รูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ ส่วนบนกลมข้างในเป็นโพรง สำหรับบรรจุสิ่งของสร้างด้วยหินทรายแดง ขนาดกว้าง 1.93 เมตร ยาว 4.2 เมตร ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ ผามออีแดง.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและผามออีแดง · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิขแมร์

ักรวรรดิขแมร์ หรือ อาณาจักรเขมร หรือบางแหล่งเรียกว่า อาณาจักรขอม เป็นหนึ่งในอาณาจักรโบราณ เริ่มต้นขึ้น ราวพุทธศตวรรษที่ 6 โดยเริ่มจากอาณาจักรฟูนัน มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณประเทศกัมพูชา โดยมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของ ประเทศไทย ลาว และบางส่วนของเวียดนามในปัจจุบัน นับเป็นอาณาจักรที่มีแสนยานุภาพมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาได้อ่อนกำลังลงจนเสียดินแดนบางส่วนให้กับอาณาจักรสุโขทัย และแตกสลายในที่สุดเมื่อตกเป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรเขมรสืบทอดอำนาจจากอาณาจักรเจนฬา มีสงครามผลัดกันแพ้ผลัดกันชนะกับอาณาจักรข้างเคียง เช่น อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรอยุธยา และอาณาจักรจามปา มรดกที่สำคัญที่สุดของอาณาจักรเขมรคือ นครวัด และ นครธม ซึ่งเคยเป็นนครหลวงเมื่อครั้งอาณาจักรแห่งนี้มีความเจริญรุ่งเรืองที่สุด และยังมีลัทธิความเชื่อต่างๆ อย่างหลากหลาย ศาสนาหลักของอาณาจักรนี้ได้แก่ ศาสนาฮินดู พุทธศาสนามหายาน และพุทธศาสนาเถรวาทซึ่งได้รับจากศรีลังกา เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและจักรวรรดิขแมร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัด

ังหวัด หรือมณฑล (province) คือชื่อเรียกหน่วยการปกครองระดับหนึ่ง โดยปกติจะเป็นระดับใหญ่ที่สุดในประเทศ หรือรัฐ (ลำดับแรกในการแบ่งการปกครอง) คำว่าจังหวัดใช้เรียก province ในประเทศไทย ส่วนมณฑลใช้กับบางประเทศ เช่น มณฑลยูนนาน (Yunnan Province) ในประเทศจีน หรือ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดยโสธร

ร เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย เดิมชื่อ บ้านสิงห์ท่า, เมืองยศสุนทร เป็นเมืองเก่าแก่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำชีมีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 200 ปี มีประเพณีบุญบั้งไฟที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก ประเพณีหนึ่งเดียวในโลก จัดตั้งโดยคณะปฏิวัติของจอมพลถนอม กิตติขจร ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 70 ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2515 อันให้แยกอำเภอยโสธร อำเภอกุดชุม อำเภอเลิงนกทา อำเภอคำเขื่อนแก้ว อำเภอมหาชนะชัย และอำเภอป่าติ้ว ออกจากจังหวัดอุบลราชธานี แล้วรวมกันตั้งเป็นจังหวัดยโสธร และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2515 สืบไป โดยมีนายชัยทัต สุนทรพิพิธ รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธรคนแรก.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดยโสธร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดร้อยเอ็ด

ร้อยเอ็ด เดิมสะกดว่า ร้อยเอ็จ เป็นจังหวัดบริเวณลุ่มแม่น้ำชีในภาคอีสานตอนกลางหรือตอนบนของไท.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดร้อยเอ็ด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอำนาจเจริญ

อำนาจเจริญ เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนานจากการค้นพบแหล่งชุมชนโบราณ โบราณสถาน และโบราณวัตถุตามที่กรมศิลปากรค้นพบและสันนิษฐานไว้ตามหลักฐานทางโบราณคดี (ใบเสมาอายุราว 1,000 ปี) และได้ตั้งเป็นเมืองมานานหลายร้อยปี ได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นจังหวัดเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2536 พร้อมกับจังหวัดหนองบัวลำภูและจังหวัดสระแก้ว เดิมเป็นอำเภอในจังหวัดอุบลราชธานี ประกอบด้วยอำเภออำนาจเจริญ (ปัจจุบันคืออำเภอเมืองอำนาจเจริญ) อำเภอชานุมาน อำเภอปทุมราชวงศา อำเภอพนา อำเภอหัวตะพาน อำเภอเสนางคนิคม และกิ่งอำเภอลืออำนาจ (ปัจจุบันคืออำเภอลืออำนาจ) คำว่าอำนาจเจริญเป็นภาษาเขมร มีความหมายตามตัว คือ อำนาจเจริญ เมืองที่มีสมญานามว่า เมืองข้าวหอมโอชา ถิ่นเสมาพันปี.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดอำนาจเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุบลราชธานี

อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ. 2515 และจังหวัดอำนาจเจริญในปี พ.ศ. 2536 ซึ่งถ้ารวมพื้นที่อีกสองจังหวัดที่แยกออกไป จังหวัดอุบลราชธานีจะมีพื้นที่เป็นอันดับ 1 ของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดขุขันธ์

มืองขุขันธ์ ในอดีตมีอาณาเขตกว้างขวางครอบคลุมพื้นที่ที่เป็นอำเภอต่าง ๆ หลายอำเภอของจังหวัดศรีสะเกษในปัจจุบัน โดยก่อนปี.ศ 2481 ใช้นามว่า อำเภอห้วยเหนือ ขึ้นต่อการปกครองของเมืองขุขันธ์ จวนผู้ว่าราชการจังหวัดขุขันธ์ ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดขุขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

จำนงค์ โพธิสาโร

ำนงค์ โพธิสาโร เป็นอดีตนักการเมือง โดยเป็น..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและจำนงค์ โพธิสาโร · ดูเพิ่มเติม »

จิตติพจน์ วิริยะโรจน์

ตติพจน์ วิริยะโรจน์ สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดศรีสะเกษ และเป็นพี่ชายของนายพฤฒิชัย วิริยะโรจน์ ผู้แทนการค้าไทย ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและจิตติพจน์ วิริยะโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดผ่านแดนถาวรช่องสะงำ

ผังเมืองรวมของเมืองใหม่ช่องสะงำ จุดผ่านแดนถาวรช่องสะงำ เป็นจุดผ่านแดนถาวรของประเทศไทย ตั้งอยู่บริเวณช่องสะงำ ตำบลไพรพัฒนา อำเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ เชื่อมต่อกับช่องจวม อำเภออัลลองเวง จังหวัดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 เส้นทางช่องสะงำ เป็นเส้นทางที่สามารถเดินทางไปผ่านไปยังนครวัด-นครธม ด้วยระยะทางเพียง 135 กิโลเมตร นับเป็นเส้นทางที่สามารถเดินทางได้สะดวก และเดินทางไปกลับได้ในวันเดียว.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและจุดผ่านแดนถาวรช่องสะงำ · ดูเพิ่มเติม »

ธนัญชัย บริบาล

นัญชัย บริบาล (3 ตุลาคม 2515 -) นักฟุตบอลชาวไทยเล่นในตำแหน่งกองกลาง ให้กับสโมสรฟุตบอลการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ได้ร่วมเล่นในฟุตบอลทีมชาติไทยตั้งแต่ปี 2540 และเล่นในทีมชาติชุดใหญ่ ปัจจุบันเป็นผู้ช่วยผู้ฝึกสอนของสโมสรฟุตบอลลูกพ่อขุน ยูไนเต็.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและธนัญชัย บริบาล · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วลิสง

ั่วลิสง หรือ ถั่วดิน จัดเป็นพืชตระกูลถั่ว.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและถั่วลิสง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพหลโยธิน

นนพหลโยธิน (Thanon Phahon Yothin) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 สายกรุงเทพมหานคร−แม่สาย (เขตแดน) เป็นถนนสายหลักในกรุงเทพมหานคร และเป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย (ประกอบด้วยถนนพหลโยธิน ถนนมิตรภาพ ถนนสุขุมวิท และถนนเพชรเกษม) สายทางเริ่มต้นที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ผ่านภาคกลาง และมุ่งเข้าสู่ภาคเหนือของประเทศไทย สิ้นสุดที่ด่านพรมแดนแม่สาย อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย บริเวณชายแดนประเทศพม่า รวมระยะทางยาว 994.749 กิโลเมตร บางช่วงของถนนพหลโยธินอยู่ในโครงข่ายทางหลวงเอเชีย ได้แก่ ช่วงบ้านหินกองถึงอำเภอบางปะอินเป็นทางหลวงเอเชียสาย 1, ช่วงแยกหลวงพ่อโอ (เส้นแบ่งเขตจังหวัดชัยนาทกับจังหวัดนครสวรรค์) ถึงอำเภอเมืองตาก เป็นทั้งทางหลวงเอเชียสาย 1 และสาย 2 และช่วงอำเภอเมืองสระบุรีถึงบ้านหินกองเป็นทางหลวงเอเชียสาย 12 นอกจากนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ ถนนพหลโยธินช่วงตั้งแต่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เส้นทางของถนนจะเบี่ยงไปทิศตะวันออก ผ่านจังหวัดสระบุรีและจังหวัดลพบุรี แล้ววกกลับมายังจังหวัดชัยนาท เนื่องจากในสมัยก่อนต้องการให้ทางหลวงสายหลักผ่านที่ตั้งของกองทหารสำคัญของประเท.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและถนนพหลโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนมิตรภาพ

นนมิตรภาพ ซึ่งเป็นชื่อเรียกของ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 หรือ ทางหลวงสายสระบุรี–สะพานมิตรภาพที่หนองคาย (เขตแดนไทย/ลาว) เป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย โดยสายทางเริ่มต้นที่จังหวัดสระบุรี มุ่งเข้าสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และสิ้นสุดที่จังหวัดหนองคาย มีระยะทางทั้งสิ้น 509 กิโลเมตร และเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 12 ถนนมิตรภาพเป็นทางหลวงที่ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาในด้านงบประมาณการก่อสร้าง เทคนิควิชาการในการก่อสร้าง นับเป็นทางหลวงสายแรกที่ก่อสร้างถูกต้องตามแบบมาตรฐานการก่อสร้างทางหลวงทุกขั้นตอน และเป็นทางหลวงสายแรกของประเทศไทยที่มีผิวจราจรลาดยางแบบแอสฟอลต์คอนกรีต โดยเปิดให้บริการเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและถนนมิตรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ทวารวดี

ทวารวดี เป็นคำภาษาสันสกฤต เกิดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 1427 โดยนายแซมมวล บีล (Samuel Beel) ได้แปลงมาจากคำว่า โถโลโปตี้ (Tolopoti) ที่มีอ้างอยู่ในบันทึกของภิกษุจีนจิ้นฮง (Hiuantsang) ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 กล่าวว่า โถโลโปตี เป็นชื่อของอาณาจักรหนึ่งตั้งอยู่ระหว่างอาณาจักรศรีเกษตร และอาณาจักรอิศานปุระ และเขาได้สรุปด้วยว่าอาณาจักรนี้เดิมตั้งอยู่ในดินแดนประเทศไทย(สยาม)ปัจจุบัน และยังสันนิษฐานคำอื่นๆที่มีสำเนียงคล้ายกันเช่น จวนโลโปติ (Tchouanlopoti) หรือ เชอโฮโปติ (Chohopoti) ว่าคืออาณาจักรทวารวดีด้วย ต่อมาความคิดเห็นนี้ได้มีผู้รู้หลายท่านศึกษาต่อและให้การยอมรับเช่น นายเอดัวร์ ชาวาน (Edourd Chavannes) และ นายตากากุสุ (Takakusu) ผู้แปลจดหมายเหตุการเดินทางของภิกษุอี้จิงในปี พ.ศ. 2439 และ นายโปล เปลลิโอต์ (Paul Pelliot) ผู้ขยายความอาณาจักรทวารวดีเพิ่มอีกว่ามีประชาชนเป็นชาวมอญในปี พ.ศ. 2447 เป็นต้น ดังนั้นบรรดาเมืองโบราณรวมทั้งโบราณวัตถุสถานต่างๆที่พบมากมายโดยเฉพาะในบริเวณลุ่มน้ำแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งแต่เดิมไม่สามารถจัดกลุ่มได้ว่าเป็นของขอมหรือของไทย แต่มีลักษณะคล้ายกับศิลปะอินเดียสมัยราชวงศ์คุปตะ - หลังคุปตะ ราวพุทธศตวรรษที่ 9-13 ที่พันตรีลูเนต์ เดอ ลาจองกีเยร์ (Lunet de Lajonguiere) เรียกว่า กลุ่มอิทธิพลอินเดียแต่ไม่ใช่ขอม จึงถูกนำมาสัมพันธ์กลายเป็นเรื่องเดียวกัน โดยศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ (พ.ศ. 2468) และสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (พ.ศ. 2469) เป็นกลุ่มบุคคลแรกที่กำหนดเรียกชื่อดินแดนที่เมืองโบราณเหล่านี้ตั้งอยู่ รวมทั้งงานศิลปกรรมที่พบนั้นว่าคือดินแดนแห่งอาณาจักรทวารวดี และศิลปะแบบทวารวดี โดยใช้เหตุผลของตำแหน่งที่ตั้งอาณาจักรตามบันทึกจีนกับอายุของบันทึก และอายุของงานศิลปกรรมที่ตรงกัน อาณาจักรทวารวดีจึงกลายเป็นอาณาจักรแรกในดินแดนไทย กำหนดอายุตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 12 ลงมาถึงพุทธศตวรรษที่ 16 อาณาจักรทวารวดี เป็นที่น่าเชื่อถือขึ้นอีกเมื่อพบเหรียญเงิน 2 เหรียญ มีจารึกภาษาสันสกฤตอายุราวพุทธศตวรรษที่ 13 จากเมืองนครปฐมโบราณ มีข้อความว่า ศรีทวารวดีศวรปุณยะ ซึ่งแปลได้ว่า บุญกุศลของพระราชาแห่งศรีทวารวดี หรือ บุญของผู้เป็นเจ้าแห่งศรีทวารวดี หรือ พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ อาณาจักรทวารวดีจึงเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่ามีอยู่จริง และยังเชื่อกันอีกด้วยว่าเมืองนครปฐมโบราณน่าจะเป็นศูนย์กลางหรือเมืองหลวงของอาณาจักร (แต่ปัจจุบันพบเหรียญลักษณะคล้ายกันอีก 2 เหรียญ ที่อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และที่อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ความสำคัญของเมืองนครปฐมจึงเปลี่ยนไป) แต่ขณะเดียวกันนักวิชาการบางท่านก็เชื่อว่าอำเภออู่ทอง หรืออาจเป็นจังหวัดลพบุรี ที่น่าจะเป็นเมืองหลวงมากกว่ากัน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและทวารวดี · ดูเพิ่มเติม »

ทิวเขาพนมดงรัก

ทิวเขาพนมดงรัก (เขมร: ជួរភ្នំដងរែក, Chuor Phnom Dângrêk; ทิวเขาพนมดงรัก,, ลาว: Sayphou Damlek) มีความหมายว่า "ภูเขาไม้คาน" ในภาษาเขมร เป็นภูเขาที่ทอดตัวในแนวตะวันออก-ตะวันออก เป็นพรมแดนกั้นระหว่าง ประเทศไทย และประเทศกัมพู.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและทิวเขาพนมดงรัก · ดูเพิ่มเติม »

ทุ่งกุลาร้องไห้

ทุ่งกุลาร้องไห้ ทุ่งกุลาร้องไห้ เป็นที่ราบขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ประมาณ 2 ล้านไร่ ครอบคลุมพื้นที่ 13 อำเภอ 5 จังหวัด ได้แก่ อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม; อำเภอชุมพลบุรีและอำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์; อำเภอปทุมรัตต์ อำเภอเกษตรวิสัย อำเภอสุวรรณภูมิ อำเภอโพนทราย และอำเภอหนองฮี จังหวัดร้อยเอ็ด; อำเภอศิลาลาด อำเภอราษีไศล และอำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ; อำเภอค้อวังและอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร การที่ได้ชื่อว่าทุ่งกุลาร้องไห้ มีเรื่องเล่าสืบกันมาว่า ชนเผ่ากุลาซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยจากเมืองเมาะตะมะ ประเทศพม่า ได้เดินทางมาค้าขายผ่านทุ่งแห่งนี้ ปกติแล้วชนเผ่ากุลาเป็นชนเผ่าที่มีความอดทนสูงมาก สู้งาน สู้แดด ลม ฝน แต่เมื่อได้เดินทางผ่านทุ่งแห่งนี้ ที่มีพื้นที่กว้างขวางเหลือประมาณ ต้องใช้เวลาเดินทางหลายวัน ไม่พบหมู่บ้านใด ๆ เลย น้ำก็ไม่มีดื่ม ต้นไม้ก็ไม่มีที่จะให้ร่มเงา มีแต่ทุ่งหญ้าเต็มไปหมด พื้นดินก็เป็นทราย เดินทางยากลำบากเหมือนอยู่กลางทะเลทราย ทำให้คนพวกนี้ถึงกับร้องไห้ ดังนั้น จึงได้ชื่อว่า "ทุ่งกุลาร้องไห้" ในอดีต ทุ่งกุลาร้องไห้ในฤดูแล้ง พื้นที่ส่วนใหญ่จะแห้งแล้งมาก ส่วนในฤดูฝนน้ำจะท่วมทุกปี ใต้พื้นดินลงไปเป็นน้ำเค็ม ไม่สามารถทำการเกษตรได้ หลังจากที่ได้มีการพัฒนาที่ดินแล้ว ทุ่งกุลาร้องไห้ได้กลายเป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิที่สำคัญของประเทศ และกลายเป็นอู่ข้าวอู่น้ำที่มีชื่อเสียงของไท.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและทุ่งกุลาร้องไห้ · ดูเพิ่มเติม »

ทุเรียน

ทุเรียน เป็นไม้ผลในวงศ์ฝ้าย (Malvaceae) ในสกุลทุเรียน (Durio) (ถึงแม้ว่านักอนุกรมวิธานบางคนจัดให้อยู่ในวงศ์ทุเรียน (Bombacaceae) ก็ตาม) เป็นผลไม้ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นราชาของผลไม้วันดี กฤษณพันธ์, สมุนไพรน่ารู้, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 3..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและทุเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ขุขันธ์

อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและขุขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวหอมมะลิ

้าวสารข้าวหอมมะลิ ข้าวหอมมะลิ (Thai jasmine rice) เป็นสายพันธุ์ข้าวที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย มีลักษณะกลิ่นหอมคล้ายใบเตย เป็นพันธุ์ข้าวที่ทำให้ข้าวไทยเป็นสินค้าส่งออกที่รู้จักไปทั่วโลก.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและข้าวหอมมะลิ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

ณะรัฐประหารในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ. (National Council for Peace and Order (NCPO) เดิมใช้ชื่อ National Peace and Order Maintaining Council (NPOMC)) เป็นคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง โดยรัฐประหารยึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณิต ศิลปศร

ณิต ศิลปศร (ชื่อเล่น:โบ้) เกิดวันที่ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและคณิต ศิลปศร · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก

ตการแพร่กระจายของภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มออสโตร-เอเชียติก (Austro-Asiatic languages) เป็นภาษากลุ่มใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนในอินเดียและบังกลาเทศ ชื่อนี้มาจากคำในภาษาละตินที่แปลว่า “ใต้” และชื่อทวีปเอเชียในภาษากรีก ดังนั้นชื่อของภาษาตระกูลนี้จึงหมายถึงเอเชียใต้ ในบรรดาภาษากลุ่มนี้ทั้งหมด ภาษาเวียดนาม ภาษาเขมร และภาษามอญเป็นภาษาที่มีบันทึกทางประวัติศาสตร์ยาวนาน และเฉพาะภาษาเวียดนาม กับภาษาเขมรเท่านั้นที่เป็นภาษาทางการ ภาษาที่เหลือมักเป็นภาษาที่พูดโดยชนกลุ่มน้อย ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกมีการแพร่กระจายตั้งแต่อินเดีย บังกลาเทศ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แยกจากกันด้วยบริเวณที่มีผู้พูดภาษาตระกูลอื่นอยู่ จึงเชื่อกันว่าภาษาตระกูลนี้เป็นภาษาดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินเดียตะวันออก ส่วนภาษากลุ่มอื่นในบริเวณนี้ได้แก่ตระกูลอินโด-ยุโรเปียน ไท-กะได ดราวิเดียนและจีน-ทิเบตเป็นผลจากการอพยพเข้ามา มีตัวอย่างคำในภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าในเนปาลตะวันออก นักภาษาศาสตร์บางคนเชื่อว่า ภาษานี้เกี่ยวข้องกับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนและจัดเป็นตระกูลใหญ่ออสตริก.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาไท-กะได

ตระกูลภาษาไท-กะได (Tai–Kadai languages) หรือรู้จักกันในนาม กะได (Kadai), ขร้าไท (Kradai) หรือ ขร้า-ไท (Kra–Dai) เป็นตระกูลภาษาของภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และตอนใต้ของประเทศจีน ในช่วงแรก ตระกูลภาษาไท-กะไดเคยถูกกำหนดให้เป็นอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต แต่ปัจจุบันได้แยกมาเป็นอีกตระกูลภาษาหนึ่ง และยังมีผู้เห็นว่าตระกูลภาษาไท-กะไดนี้มีความสัมพันธ์กับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน โดยอยู่ในกลุ่มภาษาที่เรียกว่า "ออสโตร-ไท" หรือจัดเป็นตระกูลภาษาใหญ่ออสตริก รอเจอร์ เบลนช์ (Roger Blench) ได้กล่าวว่า ถ้าข้อจำกัดของความเชื่อมต่อของตระกูลภาษาออสโตร-ไทมีความสำคัญมาก แสดงว่าความสัมพันธ์ทั้งสองตระกูลอาจไม่ใช่ภาษาที่เป็นพี่น้องกัน กลุ่มภาษากะไดอาจเป็นสาขาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนที่อพยพจากฟิลิปปินส์ไปสู่เกาะไหหลำ แล้วแพร่สู่จีนแผ่นดินใหญ่ ในขณะที่สาขาไดของภาษากลุ่มกะไดมีการปรับโครงสร้างใหม่โดยได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาม้ง-เมี่ยนและภาษาจีน โลร็อง ซาการ์ (Laurent Sagart) ได้เสนอว่า ภาษาไท-กะไดดั้งเดิมได้เกิดขึ้นในยุคต้นของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนที่อาจจะอพยพกลับจากทางตะวันตกเฉียงเหนือของไต้หวันไปยังชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หรือจากจีนไปไต้หวันและเกิดการพัฒนาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนบนเกาะนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนและไท-กะไดอาจจะอธิบายได้จากคำศัพท์ที่ใกล้เคียงกัน คำยืมในยุคก่อนประวัติศาสตร์และอื่น ๆ ที่ยังไม่รู้ นอกจากนั้นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนอาจจะมีความสัมพันธ์กับตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ซึ่งมีจุดเริ่มต้นในบริเวณชายฝั่งของจีนภาคเหนือและภาคตะวันออก ความหลากหลายของตระกูลภาษาไท-กะไดในทางตอนใต้ของประเทศจีนบ่งบอกถึงมีความสัมพันธ์กับถิ่นกำเนิดของภาษา ผู้พูดภาษาสาขาไทอพยพจากตอนใต้ของจีนลงทางใต้เข้าสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แต่ครั้งโบราณ เข้าสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยและลาวบริเวณนี้เป็นบริเวณที่พบผู้พูดภาษาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ชื่อ "ไท-กะได" มาจากการจัดแบ่งตระกูลภาษาออกเป็นสองสาขาคือ "ไท" และ "กะได" ซึ่งเลิกใช้แล้ว เนื่องจากกะไดจะเป็นกลุ่มภาษาที่เป็นไปได้ก็ต่อเมื่อมีกลุ่มภาษาไทรวมอยู่ด้วย ในบางบริบทคำว่ากะไดจึงใช้เรียกตระกูลภาษาไท-กะไดทั้งตระกูล แต่บางบริบทก็จำกัดการใช้คำนี้ให้แคบลง โดยหมายถึงกลุ่มภาษาขร้าที่เป็นส่วนหนึ่งของตระกูลภาษานี้.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและตระกูลภาษาไท-กะได · ดูเพิ่มเติม »

ตราประจำจังหวัดของไทย

ตราประจำจังหวัดของไทย มีพัฒนาการมาจากตราประจำตำแหน่งของเจ้าเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และตราประจำธงประจำกองลูกเสือ 14 มณฑล ในสมัยรัชกาลที่ 6 - 7 ในสมัยที่จอมพลแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีนั้น รัฐบาลได้กำหนดให้แต่ละจังหวัดมีตราประจำจังหวัดของตนเองใช้เมื่อ พ.ศ. 2483 โดยกรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบตราตามแนวคิดที่แต่ละจังหวัดกำหนดไว้ ปัจจุบัน เมื่อมีการตั้งจังหวัดขึ้นใหม่ ก็จะมีการออกแบบตราประจำจังหวัดด้วยเสมอ แต่ตราของบางจังหวัดที่ใช้อยู่นั้นบางตราก็ไม่ใช่ตราที่กรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบ บางจังหวัดก็เปลี่ยนไปใช้ตราประจำจังหวัดเป็นแบบอื่นเสียก็มี บางที่ลักษณะของตราก็เพี้ยนไปจากลักษณะที่กรมศิลปากรออกแบบไว้ แต่ยังคงลักษณะหลัก ๆ ของตราเดิมไว้อยู่บ้างก็มี.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและตราประจำจังหวัดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตารางกิโลเมตร

ตารางกิโลเมตร คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและตารางกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ฉันทนา กิติยพันธ์

ฉันทนา กิติยพันธ์ (เดิมชื่อ สันทนา สุปัญโญ) เป็นนักร้อง นักแสดง และนักพากย์ชาวไทย เกิดที่จังหวัดศรีสะเกษ เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนสตรีสิริเกศ เป็นนักร้องในยุคเซเวนตีส์ มีรายการสดทางโทรทัศน์ของตัวเองที่ชื่อว่า ฉันทนาโชว์ ทางช่อง 5 หลังจากนั้นก็มีรายการ มิวสิคสแควร์ ทางช่อง 3 และจากการที่ต้องทำงานจึงพาลูกสาวที่ชื่อ เสาวลักษณ์ ลีละบุตร มาร้องเพลงออกทางรายการโทรทัศน์ด้วย ซึ่งต่อมาได้ก่อตั้งวง สาว สาว สาว ร่วมกับเด็กสาวอีก 2 คน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและฉันทนา กิติยพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประทีป กีรติเรขา

นายกองเอก ประทีป กีรติเรขา (เกิด 14 มกราคม พ.ศ. 2501) อธิบดีกรมที่ดิน, รองปลัดกระทรวงมหาดไทย, อดีตผู้ว่าราชการ จังหวัดอุบลราชธานี และอดีตผู้ว่าราชการ จังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและประทีป กีรติเรขา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบ้านสมอ

ปรางค์ประธานปราสาทบ้านสมอ จังหวัดศรีสะเกษ ทับหลังที่ยังสลักไม่เสร็จของปรางค์ประธานปราสาทบ้านสมอ จังหวัดศรีสะเกษ ปราสาทบ้านทะมอ หรือ ปราสาทบ้านทามจาน เป็นอโรคยศาล หรืออโรคยศาลา หรือโรงพยาบาล หนึ่งในจำนวน 102 แห่ง ที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งอาณาจักรขอมโบราณ โปรดให้สร้างขึ้น แต่สร้างในราวพุทธศตวรรษที่ 18 หลังสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรางค์ประธานก่อด้วยศิลาแลงเช่นเดียวกับอโรคยศาลแห่งอื่นๆ ปรากฏทับหลังที่ยังแกะสลัยลวดลายไม่เสร็จประดับอยู่ที่ซุ้มประตูด้านทิศใต้ ด้านหน้าทางทิศตะวันออกมีบายราย หรือสระน้ำโบราณขนาดใหญ่อยู่ ปราสาทพึ่งได้รับการขุดแต่งแล้ว แต่ยังไม่ได้รับประกอบส่วนประกอบอื่น เช่น กำแพง เรือนยอดปราสาท (ข้อมูล มิถุนายน 2553).

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและปราสาทบ้านสมอ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบ้านปราสาท

ปราสาทห้วยทับทัน ปราสาทห้วยทับทัน (ปราสาทบ้านปราสาท หรือ ปราสาทบ้านโนนธาตุ) ตั้งอยู่ที่วัดปราสาทพนาราม บ้านปราสาท หมู่ที่ 12 ตำบลปราสาท อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ อยู่ห่างจากตัวจังหวัดศรีสะเกษ ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 226 ประมาณ 39 กิโลเมตร ถึงตัวอำเภอห้วยทับทัน เลี้ยวขวาไปตามทางหลวงชนบทอีกประมาณ 8 กิโลเมตร ปราสาทบ้านโนนธาตุ สร้างขึ้นตามความเชื่อในศาสนาพราหมณ์ เป็นศิลปกรรมร่วมสมัยแบบปาปวน ปราสาทแห่งนี้ถูกสร้างบูรณะมาแล้ว 3 ยุค สังเกตได้จากอิฐที่เรียงก้อนกัน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและปราสาทบ้านปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทพระวิหาร

ปราสาทพระวิหาร (ប្រាសាទព្រះវិហារ บฺราสาทพฺระวิหาร; Temple of Preah Vihear) เป็นปราสาทหินตามแบบศาสนาฮินดูที่ตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก (ភ្នំដងរែក ภฺนํฎงแรก; "ภูเขาไม้คาน") สูงจากระดับทะเลปานกลาง 657 เมตร ที่ตั้งของศาสนสถานแห่งนี้รู้จักกันในนาม เขาพระวิหาร (ភ្នំព្រះវិហារ ภฺนํพฺระวิหาร) อยู่ใกล้อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งเคยเป็นทางขึ้นสู่ปราสาทที่สะดวกที่สุด ปราสาทพระวิหารมีสถาปัตยกรรมแบบเขมร สร้างตามแนวเหนือใต้ซึ่งผิดแปลกไปจากปราสาทขอมส่วนใหญ่ ไทยและกัมพูชามีประวัติพิพาทเหนือตัวปราสาทเป็นเวลานานแล้ว ใน..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและปราสาทพระวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทสระกำแพงน้อย

ปราสาทสระกำแพงน้อย ปราสาทหินสระกำแพงน้อย ตั้งอยู่ภายในวัดสระกำแพงน้อย ติดกับถนนสายอุทุมพรพิสัย-ศรีสะเกษ (หมายเลข 226) ในเขตตำบลขยุง อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ สร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 18.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและปราสาทสระกำแพงน้อย · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทสระกำแพงใหญ่

ปราสาทสระกำแพงใหญ่ ปราสาทสระกำแพงใหญ่ หรือ ปราสาทศรีพฤทเธศวร ตั้งอยู่ในบริเวณวัดสระกำแพงใหญ่ ถนนประดิษฐ์ประชาราษฎร์ หมู่ 1 ตำบลสระกำแพงใหญ่ อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ ใกล้กับสถานีรถไฟอุทุมพรพิสัย และห่างจากที่ว่าการอำเภออุทุมพรพิสัยไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 2 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและปราสาทสระกำแพงใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทตาเล็ง

thumb ปราสาทตาเล็ง ตั้งอยู่ที่ บ้านปราสาท ตำบลปราสาท อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของหมู่บ้าน ใกล้เคียงกับตระเปียงละเบิก (หนองละเบิก) สามารถเดินทางจากตัวจังหวัดศรีสะเกษโดยใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 220 และเส้นทางภายในอำเภออีกประมาณ 11 กิโลเมตร ปัจจุบัน ปราสาทตาเล็งอยู่ในพื้นที่ตำบลปราสาท ไม่ใช่ตำบลกันทรารม.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและปราสาทตาเล็ง · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทปรางค์กู่

thumb ปราสาทปรางค์กู่ ตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลกู่ อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ ห่างจากศาลากลางจังหวัดศรีสะเกษ ประมาณ 70 กิโลเมตร สร้างด้วยอิฐเรียงแผ่นใหญ่เหมือนปราสาทศรีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งเป็นศาสนสถานสมัยขอมที่เก่าแก่ มีอายุกว่าพันปี ด้านหน้าปรางค์กู่ มีสระน้ำขนาดใหญ่เป็นทำเลพักหากินของนกเป็ดน้ำ ซึ่งมีมากในช่วงฤดูแล้งตั้งแต่เดือนกุมภาพัน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและปราสาทปรางค์กู่ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทโดนตวล

ปราสาทโดนตวล ตั้งอยู่ที่บ้านภูมิซรอล ตำบลบึงมะลู อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ห่างจากหมู่บ้าน 8 กิโลเมตร ห่างจากตัวอำเภอกันทรลักษ์ 38 กิโลเมตร โดยใช้เส้นทางที่แยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2243 กม.98 ระยะทาง 4 กิโลเมตร เป็นปราสาทที่สำคัญอีกแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่บริเวณชายแดนของประเทศไทย ห่างจากผามออีแดงเพียง 300 เมตร.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและปราสาทโดนตวล · ดูเพิ่มเติม »

ปรางค์กู่

ปรางค์กู่ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและปรางค์กู่ · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะณัฐ วัชราภรณ์

ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ อดีตรัฐมนตรีหลายสมัย และอดีตรองหัวหน้าพรรคเอกภาพ เจ้าของวลีทางการเมือง "เก็บอุดมการณ์ใส่ลิ้นชัก" และเป็นนักการเมืองที่ได้รับการยอมรับในเรื่องการพูด จนได้รับฉายา "ดาวสภา" และเคยทำหน้าที่โฆษกพรรคกิจสังคม.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและปิยะณัฐ วัชราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

นกน้อย อุไรพร

นกน้อย อุไรพร นกน้อย อุไรพร และ โยโกะ ตลกเสียงอิสาน นกน้อย อุไรพร 2016 นกน้อย อุไรพร เป็นศิลปินนักร้องชาวไทยแนวลูกทุ่งหมอลำ และเป็นหัวหน้าคณะเสียงอิสาน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและนกน้อย อุไรพร · ดูเพิ่มเติม »

นางสาวไทย

นางสาวไทย เป็นการประกวดนางงามรายการที่ 2 ของประเทศไทย ต่อจากนางสาวสยาม โดยในยุคแรกจัดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมส่งเสริมงานฉลองรัฐธรรมนูญ ต่อมาจัดขึ้นเพื่อส่งผู้ชนะเลิศเป็นผู้แทนประเทศไทย ไปประกวดนางงามจักรวาล และในปัจจุบันจัดขึ้นเพื่อให้เป็นทูตวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและนางสาวไทย · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำมูล

แม่น้ำมูลในฤดูแล้งที่จังหวัดอุบลราชธานี แม่น้ำมูล เป็นแม่น้ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ความยาว 641 กิโลเมตร พื้นที่ลุ่มน้ำ 71,061 ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและแม่น้ำมูล · ดูเพิ่มเติม »

แขวงจำปาศักดิ์

ำปาศักดิ์ (ຈໍາປາສັກ) เป็นแขวงหนึ่งของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดของประเทศ ติดชายแดนประเทศไทยและกัมพูชา มีเมืองปากเซเป็นเมืองหลักของแขวง และเป็นเมืองใหญ่อันดับ 3 ของลาว (รองจากเวียงจันทน์และเมืองไกสอน พมวิหาน) ถือเป็นศูนย์กลางการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจ รวมไปถึงการท่องเที่ยวของลาวตอนใต้ เป็นบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากมีแม่น้ำโขงไหลผ่านกลางและเกิดเกาะแก่งเป็นจำนวนมากจนได้ชื่อว่า "ดินแดนสี่พันดอน" แขวงจำปาศักดิ์เป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณ เนื่องจากเป็นพื้นที่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรขอมโบราณ และเป็นที่ตั้งของอาณาจักรจำปาศักดิ์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านช้างในเวลาต่อมา แขวงจำปาศักดิ์จึงมีมรดกทางวัฒนธรรมหลงเหลืออยู่มากมาย ถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศลาว โดยเฉพาะมรดกโลกปราสาทหินวัดพู นอกจากนี้ แขวงจำปาศักดิ์ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก เช่น น้ำตกคอนพะเพ็ง น้ำตกหลี่ผี น้ำตกผาส้วม เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและแขวงจำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

โบราณสถาน

ีย์ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาตัวอย่างโบราณสถาน แหล่งโบราณคดี (archaeological site) เป็นสถานที่ที่ก่อสร้างโดยฝีมือมนุษย์หรือสถานที่ที่พบร่องรอยของกิจกรรมของมนุษย์ในอดีตที่มีคุณค่าในทางศิลปะ ประวัติศาสตร์ และโบราณคดี.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและโบราณสถาน · ดูเพิ่มเติม »

โบราณคดี

การขุดค้นซากโบราณ โบราณคดี (Archaeology) คือ วิชาที่ว่าด้วย การศึกษาเรื่องราวในอดีตของมนุษย์ โดยผ่านทางการศึกษาหลักฐานทางโบราณคดี ที่ได้มาจากการสำรวจ การขุดค้น (โบราณวัตถุ) การขุดแต่ง (โบราณสถาน) และการศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ (ศิลาจารึก จดหมายเหตุ พงศาวดาร) โดยทั่วไป จะต้องใช้ศาสตร์ด้านอื่นๆ ประกอบในการวิเคราะห์และตีความหลักฐานทางโบราณคดีที่ได้จากกระบวนการข้างต้น เพื่อให้เรื่องราวในอดีตของมนุษย์มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ศาสตร์เหล่านั้น เช่น ประวัติศาสตร์ศิลปะ ธรณีวิทยา สัตววิทยา พฤกษศาสตร์ เรณูวิทยา การกำหนดอายุทางวิทยาศาสตร์ เป็นต้น ที่ประเทศไทย มีการเปิดสอนคณะโบราณคดี ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ เป็นเพียงที่เดียวในประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและโบราณคดี · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลศรีสะเกษ

รงพยาบาลศรีสะเกษ เป็นโรงพยาบาลศูนย์ ระดับโรงพยาบาลขนาดใหญ่ อยู่ในจังหวัดศรีสะเกษ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2451 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยการริเริ่มของ ขุนเวชการบริรักษ์ ผู้ดำรงตำแหน่งสาธารณสุขจังหวัดขุขันธ์ ตั้งแต่เมื่อครั้งจังหวัดศรีสะเกษ ยังใช้ชื่อเดิมว่า "จังหวัดขุขันธ์" ก่อนที่จะเปลี่ยนชื่อมาเป็น "จังหวัดศรีสะเกษ" ใน พ.ศ. 2481 หลังจากนั้นโรงพยาบาลประจำจังหวัดศรีสะเกษจึงใช้ชื่อว่า "โรงพยาบาลศรีสะเกษ" ตามชื่อจังหวัดที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ ประภา ปัญญาเพียร.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและโรงพยาบาลศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกันทรลักษ์วิทยา

รงเรียนกันทรลักษ์วิทยา (อังกฤษ: Kanthalakwittaya School) เป็นโรงเรียนมัธยมสหศึกษา ขนาดใหญ่พิเศษ 1 ใน 362 โรงเรียนยอดนิยมของประเทศ ตั้งอยู่เลขที่ 443 ถนนดำรงสถิต ตำบลน้ำอ้อม อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ บนพื้นที่ประมาณ 30 ไร่ ก่อตั้งเมื่อ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2514 โดยมีนายวิรัตน์ ศิริบูรณ์ เป็นผู้บริหารคนแรก ในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ-ยโสธร เขต 28 กันทรลักษ์วิทยาถูกคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในโรงเรียน 14 แห่งที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนให้ไปพัฒนาให้มีมาตรฐานสากล และจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษที่มีมาตรฐานระดับนานาชาติ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาประเทศเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาคอาเซียน หรือ Education Hub บริหารจัดการหลักสูตรทั้งหมด 3 รูปแบบ คือ นานาชาติ พหุภาษา และหลักสูตรวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์สองภาษา ปัจจุบันกันทรลักษ์วิทยา เป็นแบบพหุภาษานำร่องเฉพาะ ม.ต้น ซึ่งมีอยู่สายชั้นละ 1 ห้อง มีเด็กห้องละประมาณ 30 คน เรียนเป็นภาษาอังกฤษหมด ยกเว้นวิชาประวัติศาสตร์ พระพุทธศาสนา และภาษาไทย เน้นภาษาอาเซียน มีครูจาก พม่า เวียดนาม เขมร และลาว เข้ามาสอน เพื่อให้เด็กสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจในการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศเพื่อนบ้านได้ดี อีกทั้งได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนมาตรฐาน World Class.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและโรงเรียนกันทรลักษ์วิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกันทรารมณ์

รงเรียนกันทรารมณ์ (ก.ร.) เป็นโรงเรียนมัธยาศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับการประกาศจัดตั้ง เป็นโรงเรียนจากกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและโรงเรียนกันทรารมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย

รงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 319 หมู่ที่ 5 ถนนวันลูกเสือ ตำบลหนองครก อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและโรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีสิริเกศ

รงเรียนสตรีสิริเกศ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 879 ถนนปลัดมณฑล ตำบลเมืองใต้ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและโรงเรียนสตรีสิริเกศ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์

รงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์ (อ.ดร.) เป็นโรงเรียนประถมศึกษา ขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ที่ ถนนดำรงสถิต หมู่ 5 ตำบลน้ำอ้อม อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ศรีสะเกษ เขต4 จัดการศึกษาตั้งแต่ชั้น อนุบาล ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปัจจุบันมีเนื้อที่ 63 ไร่ 1 งาน 75.3 ตรารางว.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและโรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนขุขันธ์

รงเรียนขุขันธ์ (อังกฤษ: Khukhan School) (บ้างเรียก ขุขันธ์ใหญ่, ย่อ: ข.ข., KKS) โรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอขุขันธ์ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทมัธยมสหศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 60 ถนนเจริญราษฎร์สมบัติ หมู่ 3 ตำบลห้วยเหนือ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ บนพื้นที่ 62 ไร่ 18 ตารางวา ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 กันยายน..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและโรงเรียนขุขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษ

รงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษ เป็นหนึ่งใน 12 โรงเรียนที่อยู่ในโครงการจัดตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษาเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ และน้อมเกล้าถวายเป็นราชสักการะแด่สมเด็จพระศรีนคริทราบรมราชชนนี เนื่องด้วยกระทรวงศึกษาธิการสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีที่ทรงมีต่อการศึกษาของชาติ ซึ่งจัดตั้งตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พุทธศักราช 2539 ในขณะที่นายสุขวิช รังสิตพลเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ชื่อว่า "โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี" ต่อมาได้รับพระมหากรุณาธิคุณอันสูงสุดจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์" และตามด้วยชื่อจังหวัดที่โรงเรียนตั้งอยู.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรจน์ เครือรัตน์

นายไพโรจน์ เครือรัตน์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของพลเอก สุจินดา คราประยูร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ 5 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและไพโรจน์ เครือรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

เพชรรัตน์ สีแก้ว

รรัตน์ สีแก้ว รองนางสาวไทย อันดับที่ 1 ปี พ.ศ. 2532 และรองอันดับที่ 4 มิสเอเชียแปซิฟิก ปี พ.ศ. 2532 หลังจากเสร็จสิ้นภารกิจการเป็นนางงามแล้ว ได้เข้าสู่วงการบันเทิงไทย โดยการเป็นนักแสดงและนางแบบ มีผลงานละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ เดินแบบ ถ่ายแบบโฆษณา และถ่ายแบบนิตยสาร ผลงานส่วนใหญ่อยู่ในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2533-พ.ศ. 2538 มีเพื่อนสนิทคือ เฮเลน ปทุมรัตน์ วรมาลี มิสไทยแลนด์เวิลด์ ปี..1989.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเพชรรัตน์ สีแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เยอ

อ หรือเผ่าเยอ อพยพย้ายถิ่นฐานมาจาก ประเทศจีนตอนบน ซึ่งไม่ทราบแน่ชัดว่าย้ายมาก่อน หรือหลังสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งคนเผ่าเยอ ย้ายมาถึงจังหวัดศรีสะเกษ ตั้งถิ่นฐานอยู่ใน อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ต่อมาเกิดโรคระบาดจึงได้ได้แบ่งออกเป็นหลาย 4 กลุ่ม ย้ายถิ่นที่อยู่ใหม่ กลุ่มแรก เดินทางไปตั้งถิ่นฐานอยู่ที่เมืองปราสาทเยอ ซึ่งในปัจจุบัน คือบ้านปราสาทเยอ ตั้งอยู่ใน อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มที่ 2 ได้ย้ายไปตั้งถิ่นฐานใน อำเภออุทุมพรพิสัย และอำเภอห้วยทับทัน ส่วนกลุ่มที่ 3 และกลุ่มที่ 4 อาศัยอยู่ใน อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ ในปัจจุบัน ชื่อหมู่บ้านว่า บ้านขมิ้น อยู่ใน ตำบลทุ่ม อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ และบ้านโพนค้อ ตำบลโพนค้อ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเยอ · ดูเพิ่มเติม »

เสียงอิสาน

ณะเสียงอิสาน เป็นวงดนตรีหมอลำของไทย รับงานแสดงแบบสัญจร มีผู้สนับสนุนหลัก คือบริษัทโอสถสภา โดยเครื่องดื่ม M-150 (โดยถอนตัวปลายปี 2558) และต่อมาได้เข้าร่วมกับสังกัดท็อปไลน์ ไดมอนด์ ของนายห้างทวีชัย จริยะเอี่ยมอุดม ซึ่งในปี 2542-2549 เป็นปีทองของคณะเสียงอิสาน มีงานเพิ่มมากขึ้น มีคนในวงเยอะมากขึ้น รวมแล้วประมาณ 420 คน และตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเสียงอิสาน · ดูเพิ่มเติม »

เสถียร ทำมือ

ียร ทำมือ (เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2527) กลุ่มศิลปินแนวเพลงลูกทุ่งแนวเพื่อชีวิต-ล้านนา สังกัดค่าย แกรมมี่โกลด์ ในเครือ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เจ้าของฉายา 1 ร้อง 1 เล่น จากถนนคนเดิน ศรีสะเกษ เป็นนักร้องที่มีชื่อเสียงโด่งดังในปัจจุบันจากผลงานเพลง เจ็บเมื่อไหร่ก็โทรมา, อยากพับแผ่นฟ้า, อยู่ที่ไหนก็เหงาได้, เส้นทางสายแฟน, ความรักกำลังทำงาน ทางเดินชาวดิน, หัวใจเปื้อนดิน, เหงาใช่ไหมจะไปหา, โดยสารมากับกำลังใจ, ในนามของความห่วงใย, ชีวิตเพื่อชาติ แต่หัวใจไม่พร้อม โชคดีที่มีเธอรัก, ขอโทษที่ทำให้มันพัง, บุตรหนุ่มชื่อ น้องเดือนจาง ชื่อจริง..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเสถียร ทำมือ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาจักรี

้าพระยาจักรี เป็นราชทินนามบรรดาศักดิ์ไทยที่เริ่มใช้ตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สำหรับขุนนางที่ดำรงตำแหน่งสมุหนายกสมัยอยุธยาและธนบุรี เจ้าพระยาจักรีที่สำคัญ เช่น.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเจ้าพระยาจักรี · ดูเพิ่มเติม »

เทพ โชตินุชิต

นายเทพ โชตินุชิต เป็นอดีตนักการเมือง นักกฎหมาย และทนายความชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และรัฐมนตรีที่ไม่ประจำกระทรวง และเป็นหัวหน้าพรรคการเมือง 2 พรรค คือ พรรคเศรษฐกร (พ.ศ. 2498 - พ.ศ. 2501) และพรรคแนวร่วม-เศรษฐกร (พ.ศ. 2511 - พ.ศ. 2514).

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทพ โชตินุชิต · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบล

ทศบาลตำบล เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดเล็ก โดยทั่วไปเทศบาลตำบลมีฐานะเดิมเป็นสุขาภิบาลหรือองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) การจัดตั้งเทศบาลตำบลกระทำโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะท้องถิ่นขึ้นเป็นเทศบาลตำบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 เทศบาลตำบลมีนายกเทศมนตรีคนหนึ่งทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 12 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรเขตเทศบาล เทศบาลตำบลมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร เทศบาลตำบลโดยทั่วไปมีชื่อตามตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ แต่ก็มีหลายแห่ง (ส่วนใหญ่จะเป็นเทศบาลตำบลที่ได้รับการยกฐานะขึ้นมาจากสุขาภิบาล) ที่ไม่ได้ใช้ชื่อของตำบลหรืออำเภอที่ตั้งเทศบาลเป็นชื่อ เช่น เทศบาลตำบล กม.5 ที่ตั้งอยู่ในตำบลอ่าวน้อย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นอกจากนี้ เทศบาลตำบลแห่งหนึ่ง ๆ อาจมีเขตครอบคลุมพื้นที่ตำบลอันเป็นที่ตั้งเทศบาลแห่งนั้นทั้งตำบล หรือครอบคลุมพื้นที่เพียงบางส่วนของตำบล ส่วนพื้นที่ตำบลเดียวกันซึ่งอยู่นอกเขตเทศบาลนั้นจะอยู่ในความดูแลขององค์การบริหารส่วนตำบล (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับล่างสำหรับพื้นที่ชนบท) หรือบางครั้งเขตเทศบาลยังอาจครอบคลุมไปถึงพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดของตำบลอื่นที่อยู่ข้างเคียงก็ได้ หากท้องถิ่นที่เป็นเทศบาลตำบลเจริญเติบโตขึ้นจนมีประชากรถึง 10,000 คน และมีรายได้พอควร อาจได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมือง (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดกลาง) ซึ่งจะมีอำนาจหน้าที่และความเป็นอิสระมากขึ้น และเขตเทศบาลก็อาจขยายออกไปตามชุมชนเมืองที่ขยายตัวโดยยุบองค์การบริหารส่วนตำบลข้างเคียงที่กลายสภาพจากชนบทเป็นเมืองเข้ามารวมด้วย แต่ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามเจตนารมณ์ของประชาชนที่อยู่ในท้องที่นั้น ๆ ปัจจุบัน ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลตำบล · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลบุสูง

ทศบาลตำบลบุสูง มีพื้นที่ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบุสูงทั้งหมด ตั้งในอำเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของอำเภอวังหิน อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอวังหิน ประมาณ 7 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลตำบลบุสูง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลพยุห์

ทศบาลตำบลพยุห์ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลตำบล ขนาดเล็ก อยู่ในเขตพื้นที่อำเภอพยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ สำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 48/5-6 หมู่ที่ 8 ถนนศรีสะเกษ-กันทรลักษ์ ตำบลพยุห์ อำเภอพยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ โดยเป็น 1 ในจำนวนเทศบาลตำบล 23 แห่ง ในปัจจุบันของจังหวัดศรีสะเกษ เขตเทศบาลตั้งอยู่ในบริเวณตอนกลางของจังหวัดศรีสะเกษ ห่างจากตัวจังหวัดไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้โดยทางรถยนต์ประมาณ 20 กิโลเมตร เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การคมนาคมขนส่ง และการสื่อสารของอำเภอพยุห.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลตำบลพยุห์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลกำแพง

ทศบาลตำบลกำแพง เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลตำบล ขนาดกลาง อยู่ในเขตพื้นที่อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ สำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 111 ถนนสุขาภิบาล 1 หมู่ที่ 7 ตำบลกำแพง อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ เป็น 1 ในจำนวนเทศบาลตำบล 23 แห่งของจังหวัดศรีสะเกษในปัจจุบัน ถือเป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นที่เก่าแก่มากที่สุดแห่งหนึ่งในจังหวัดศรีสะเกษและในประเทศไทย เขตเทศบาลตั้งอยู่ในบริเวณตอนบนของจังหวัดศรีสะเกษ ห่างจากตัวจังหวัดไปทางทิศตะวันตกโดยทางรถยนต์ประมาณ 24 กิโลเมตร เป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอและหน่วยงานการบริหารราชการระดับภูมิภาคอื่นๆ ของอำเภออุทุมพรพิสัย รวมทั้งเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การคมนาคมขนส่ง และการสื่อสารของอำเภอ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลตำบลกำแพง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลศรีรัตนะ

ทศบาลตำบลศรีรัตนะ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลตำบล อยู่ในเขตพื้นที่อำเภอศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ มีสำนักงานตั้งอยู่บ้านสำโรงระวี หมู่ที่ 15 ถนนสายศรีสะเกษ-เขาพระวิหาร(ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 221) ตำบลศรีแก้ว อำเภอศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ เขตเทศบาลตั้งอยู่ในบริเวณตอนกลางของจังหวัดศรีสะเกษ ห่างจากตัวจังหวัดไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 37 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากเขาพระวิหารมาทางทิศเหนือประมาณ 60 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลตำบลศรีรัตนะ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลสิ

ทศบาลตำบลสิ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลตำบล ขนาดเล็ก อยู่ในเขตพื้นที่อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ สำนักงานตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 7 ตำบลสิ อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ เขตเทศบาลตั้งอยู่ในบริเวณตอนล่างของจังหวัดศรีสะเกษใกล้ชายแดนประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา ห่างจากตัวจังหวัดไปทางทิศใต้ประมาณ 62 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากตัวอำเภอขุนหาญไปทางทิศตะวันออกประมาณ 2 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลตำบลสิ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลห้วยทับทัน

ทศบาลตำบลห้วยทับทัน เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลตำบล ขนาดเล็ก อยู่ในเขตพื้นที่อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ สำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 306 หมู่ 1 ตำบลห้วยทับทัน อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ เป็น 1 ในจำนวนเทศบาลตำบล 23 แห่งในปัจจุบันของจังหวัดศรีสะเกษ เขตเทศบาลตั้งอยู่ในบริเวณตอนบนของจังหวัดศรีสะเกษ ห่างจากตัวจังหวัดไปทางทิศตะวันตกโดยทางรถยนต์ประมาณ 37 กิโลเมตร เป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอและหน่วยงานการบริหารราชการระดับภูมิภาคอื่นๆ ของอำเภอห้วยทับทัน รวมทั้งเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การคมนาคมขนส่ง และการสื่อสารของอำเภอ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลตำบลห้วยทับทัน · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลอุทุมพรพิสัย

ทศบาลอุทุมพรพิสัย เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลตำบล ขนาดเล็ก อยู่ในเขตพื้นที่อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ สำนักงานตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 9 ตำบลกำแพง อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ เป็น 1 ในจำนวนเทศบาลตำบล 23 แห่งของจังหวัดศรีสะเกษในปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลตำบลอุทุมพรพิสัย · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลจานแสนไชย

ในสมัยก่อน ตำบลจานแสนไชยยังไม่ปรากฏ แต่เดิมนั้นขึ้นอยู่กับ ตำบลกล้วยกว้าง อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ และต่อมาก็ได้แยกตัวออกจากตำบลกล้วยกว้างมาตั้งเป็นตำบลจานแสนไชย หลังจากกิ่งอำเภอห้วยทับทันเปลียนมมาเป็นอำเภอห้วยทับทันและได้จัดตั้งสภาตำบลจานแสนไชย โดยมีหมู่บ้านในสังกัด ๑๓ หมู่บ้าน เทศบาลตำบลจานแสนไชย นั้นได้รับหลังจากการยกฐานะเปลี่ยนแปลงจากสภาตำบล เป็นองค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๐ ได้จัดตั้งเป็นเทศบาลตำบล เมื่อวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๕.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลตำบลจานแสนไชย · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลปรางค์กู่

ทศบาลตำบลปรางค์กู่ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลตำบล ขนาดเล็ก อยู่ในเขตพื้นที่อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ สำนักงานตั้งอยู่ถนนวัชรพล 3 หมู่ที่ 4 ตำบลพิมาย อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ เป็น 1 ในจำนวนเทศบาลตำบล 23 แห่งในปัจจุบันของจังหวัดศรีสะเกษ เขตเทศบาลตั้งอยู่ในบริเวณตอนกลาง ด้านตะวันตกของจังหวัดศรีสะเกษ ห่างจากตัวจังหวัดไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้โดยทางรถยนต์ประมาณ 60 กิโลเมตร เป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอและหน่วยงานการบริหารราชการระดับภูมิภาคอื่นๆ ของอำเภอปรางค์กู่ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การคมนาคมขนส่ง และการสื่อสารของอำเภอ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลตำบลปรางค์กู่ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลโนนสูง

ทศบาลตำบลโนนสูง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลตำบลโนนสูง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลไพรบึง

ทศบาลตำบลไพรบึง เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลตำบล อยู่ในเขตพื้นที่อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษโดยเป็น 1 ในบรรดาเทศบาลตำบลจำนวน 23 แห่งในปัจจุบันของจังหวัดศรีสะเกษ มีสำนักงานตั้งอยู่หมู่ที่ 20 ถนนเทศบาล 30 ตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ เขตเทศบาลตั้งอยู่ในบริเวณตอนกลางของจังหวัดศรีสะเกษ ห่างจากตัวเมืองจังหวัดศรีสะเกษมาทางทิศใต้ประมาณ 42 กิโลเมตร มีพื้นที่ครอบคลุมบางส่วนของตำบลไพรบึงและตำบลสำโรงพลัน ของอำเภอไพรบึง โดยเป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอและหน่วยงานส่วนราชการระดับภูมิภาคต่างๆ รวมทั้งศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ บริการและการคมนาคมของอำเภอ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลตำบลไพรบึง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลเมืองขุขันธ์

ทศบาลตำบลเมืองขุขันธ์ หรือที่คนในท้องถิ่นนิยมเรียก เมืองขุขันธ์ เป็นเทศบาลตำบลตั้งอยู่ในเขต อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ สำนักงานเทศบาลตำบลเมืองขุขัน.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลตำบลเมืองขุขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลเมืองคง

ทศบาลตำบลเมืองคง เป็นเทศบาลในเขตอำเภอคง จังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลตำบลเมืองคง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมือง

ทศบาลเมือง เป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นแบบเทศบาลสำหรับเมืองขนาดกลาง จัดตั้งโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ท้องถิ่นที่จะได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลเมืองนั้น คือ ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด เช่น เทศบาลเมืองเพชรบุรี (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดเพชรบุรี) เทศบาลเมืองสระแก้ว (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดสระแก้ว) หรือท้องถิ่นที่มีจำนวนราษฎรมากกว่า 10,000 คน และมีรายได้เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่ของเทศบาลเมืองตามที่กฎหมายกำหนดไว้ แต่ก็มีท้องถิ่นบางแห่งที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดและมีจำนวนประชากรไม่ถึง 10,000 คน แต่ก็มีฐานะเป็นเทศบาลเมือง เนื่องจากได้รับการจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเทศบาลสมัยแรก ๆ ซึ่งวางเกณฑ์ต่างจากปัจจุบัน เช่น เทศบาลเมืองเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เทศบาลเมืองหลายแห่งมีฐานะเดิมเป็นเทศบาลตำบล เช่น เทศบาลตำบลหัวหิน เทศบาลตำบลชะอำ ที่ต่อมาได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองหัวหินและเทศบาลเมืองชะอำตามลำดับ แต่ก็มีบางแห่งที่ได้รับการยกฐานะข้ามขั้นจากองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้นมาโดยไม่เป็นเทศบาลตำบลมาก่อน เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองปรกฟ้า, องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งตำเสา จังหวัดสงขลา ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ทั้งนี้ หากท้องถิ่นใดได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองไปแล้วเป็นเวลา 1 ปี ตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล และสารวัตรกำนันในท้องถิ่นนั้น ๆ จะถูกยกเลิกไปด้วย นอกจากเทศบาลเมืองอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดจะมีชื่อเรียกตามชื่อจังหวัดแล้ว (ยกเว้นตัวจังหวัดที่เป็นเทศบาลนครแล้วจำนวน 22 จังหวัด และตัวจังหวัดสุโขทัยซึ่งมีชื่อว่า เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี) เทศบาลเมืองที่ตั้งอยู่ในตัวอำเภอโดยทั่วไปมักมีชื่อตามชื่ออำเภอหรือตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ เช่น เขตเทศบาลเมืองสวรรคโลก ครอบคลุมเขตตำบลเมืองสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย แต่ก็มีบางแห่งที่ไม่ใช้ชื่ออำเภอหรือตำบลเป็นชื่อ เช่น เขตเทศบาลเมืองลัดหลวง ครอบคลุมเขตตำบลบางพึ่ง ตำบลบางจาก และตำบลบางครุ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เทศบาลเมืองมีนายกเทศมนตรีทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและมีสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 18 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรในเขตเทศบาล โดยเทศบาลเมืองมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองกันทรลักษ์

ทศบาลเมืองกันทรลักษ์ หรือ เมืองกันทรลักษ์ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมือง ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลน้ำอ้อมและบางส่วนของตำบลหนองหญ้าลาด เทศบาลเมืองกันทรลักษ์ เดิมมีฐานะเป็นสุขาภิบาล ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลเมืองกันทรลักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองศรีสะเกษ

ทศบาลเมืองศรีสะเกษ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเภทเทศบาลเมือง ระดับเทศบาลขนาดใหญ่ มีพื้นที่ครอบคลุม 7 ตำบล ในเขตอำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ ภายในเขตเทศบาลเป็นที่ตั้งหน่วยงานการบริหารของอำเภอเมืองศรีสะเกษ รวมทั้งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการบริหาร สถาบันการศึกษา สถานพยาบาลและสาธารณสุข เศรษฐกิจ ตลอดจนการคมนาคมขนส่งของจังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเทศบาลเมืองศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศไทย

ตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเขตการปกครองของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เงาะ

งาะ (Rambutan; Linn.) เป็นไม้ผลเมืองร้อน มีถิ่น กำเนิดในประเทศอินโดนีเซีย และมาเลเซีย โดยทั่วไปเงาะ เป็นไม้ผลที่เจริญเติบโตได้ดี ในบริเวณที่มีความชื้นค่อนข้างสูง เงาะในประเทศไทย จึงนิยมปลูกในบริเวณภาค ตะวันออกและภาคใต้ อาทิ พันธุ์สีทอง พันธุ์น้ำตาลกรวด พันธุ์สีชมพู พันธุ์โรงเรียน และพันธุ์เจ๊ะมง เป็นต้น แต่ พันธุ์เงาะที่นิยมปลูกเป็นการค้า มีแค่ 3 พันธุ์ คือ พันธุ์โรงเรียน พันธุ์สีทอง และพันธุ์สีชมพู ส่วนพันธุ์อื่นๆ จะมีปลูก กันบ้างประปรายและโดยมากมักใช้เพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือใช้ประโยชน์ เพื่อการศึกษาทางวิชาการ ในอดีตประ เทศที่ผลิตและส่งออกรายใหญ่ได้แก่ ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย แต่ปัจจุบันพบว่าประเทศผู้ผลิตใหม่ เช่น ออสเตรเลีย และฮอนดูรัส ได้เข้ามามีส่วนแบ่งในตลาดเพิ่มมากขึ้น.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและเงาะ · ดูเพิ่มเติม »

11 พฤศจิกายน

วันที่ 11 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 315 ของปี (วันที่ 316 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 50 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและ11 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

14 พฤศจิกายน

วันที่ 14 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 318 ของปี (วันที่ 319 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 47 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จังหวัดศรีสะเกษและ14 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ศรีสะเกษจ.ศรีสะเกษ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »