ความรักและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ความรักและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์
ความรัก vs. อาชญากรรมกับการลงทัณฑ์
วาดตัวอย่างคู่รัก โรมิโอกับจูเลียต ความรัก (Love) เป็นความรู้สึก สภาพและเจตคติต่าง ๆ ซึ่งมีตั้งแต่ความชอบระหว่างบุคคลหมายถึงอารมณ์การดึงดูดและความผูกพัน (attachment) ส่วนบุคคลอย่างแรงกล้าOxford Illustrated American Dictionary (1998) + Merriam-Webster Collegiate Dictionary (2000) ในบริบททางปรัชญา ความรักเป็นคุณธรรมแสดงออกซึ่งความเมตตา ความเห็นอกเห็นใจ และความเสน่หาทั้งหมดของมนุษย์ ความรักเป็นแก่นของหลายศาสนา อย่างเช่นในวลี "พระเจ้าเป็นความรัก" ของศาสนาคริสต์ หรืออากาเปในพระวรสารในสารบบ ความรักยังอาจอธิบายได้ว่าเป็นพฤติกรรมต่อตนเองหรือผู้อื่นซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานความเห็นอกเห็นใจ หรือความเสน่หา คำว่ารักสามารถหมายความถึงความรู้สึก สภาพทางอารมณ์และเจตคติต่าง ๆ ซึ่งอาจมีตั้งแต่ความพอใจทั่วไปจนถึงความดึงดูดระหว่างบุคคลอย่างรุนแรง แต่โดยเจาะจงแล้ว ความรักสามารถหมายถึงความต้องการอย่างเสน่หาและความสัมพันธ์ทางเพศ ซึ่งเป็นความหมายของความรักแบบโรแมนติก ความรักที่มีเพศเข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นความหมายของอีรอส (คำภาษากรีกหมายถึงความรัก) ความใกล้ชิดทางอารมณ์ ซึ่งเป็นความหมายของความรักกับบุคคลในครอบครัว หรือรักบริสุทธิ์ที่นิยามมิตรภาพ หรือความรักแบบอุทิศตัวแบบในทางศาสนา (J. Mascaró, translator) ความหลากหลายของการใช้และความหมายของคำว่ารักนี้ ประกอบกับความรู้สึกอันซับซ้อนที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ทำให้เป็นการยากที่จะนิยามความรักให้แน่นอน แม้จะเทียบกับสภาพอารมณ์อื่น ๆ แล้วก็ตาม วิทยาศาสตร์นิยามว่าสิ่งที่เข้าใจได้ว่าเป็นความรักนั้นเป็นสภาพที่มาจากวิวัฒนาการของสัญชาตญาณการเอาตัวรอด โดยพื้นฐานแล้วเพื่อให้มนุษย์อยู่ร่วมกันเพื่อต่อต้านภัยคุกคามและเพื่อสนับสนุนความต่อเนื่องของสายพันธุ์ผ่านการสืบพันธุ์Helen Fisher. อาชญากรรมกับการลงทัณฑ์ นวนิยายโดยฟีโอดอร์ ดอสโตเยฟสกี เขียนขึ้นในปี..1866 ตีพิมพ์เป็นตอนๆครั้งแรกในนิตยสารเดอะ รัสเซียน แมสเซนเจอร์ เป็นระยะเวลา 12 เดือน จัดเป็นวรรณกรรมคลาสสิกชิ้นหนึ่งของโลก และเป็น 1 ใน 100 สุดยอดวรรณกรรมจากการโหวตของนักเขียนทั่วโลก มีการแปลและตีพิมพ์ในหลายประเทศ ตลอดจนมีการนำมาทำเป็นภาพยนตร์ และเขียนเป็นหนังสือการ์ตูนโดยอาซาโกะ ชิโอมิ นักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่น ฟีโอดอร์ ดอสโตเยฟสกี เขียนเรื่องอาชญากรรมและการลงทัณฑ์ หลังจากที่เขาพ้นโทษจากการถูกส่งไปใช้แรงงานอย่างหนักที่ไซบีเรีย ในข้อหาเกี่ยวข้องกับกลุ่มเปตราเชฟต์สกี ที่พยายามโค่นล้มราชบัลลังก์พระเจ้าซาร์นีโคลัสที่ 1 แห่งรัสเซีย และต่อมางานเขียนชิ้นนี้ได้กลายเป็นหนึ่งในนวนิยายที่ดีที่สุดของเขานอกเหนือจากพี่น้องคารามาซอฟ เนื้อเรื่องกล่าวถึงความกดดันและสภาพที่ถูกบีบคั้นทางจิตใจของโรดิโอน โรมาโนวิช ราสโคลนิคอฟ นักศึกษาหนุ่มผู้ยากจนที่เช่าห้องอยู่ในกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก เขาก่อเหตุฆาตกรรมถึง 2 ศพ โดยฆาตกรรมครั้งแรกเป็นการฆ่าโดยไตร่ตรองและวางแผนไว้ล่วงหน้า โดยเขาฆาตกรรมหญิงสูงวัยที่เป็นเจ้าของโรงรับจำนำที่เขานำทรัพย์สินไปจำนำไว้ ด้วยการใช้ขวานสับ ส่วนฆาตกรรมครั้งหลัง เป็นการฆ่าปิดปากผู้ที่ผ่านมาเห็นเหตุการณ์เข้าโดยบังเอิญโดยที่เขาไม่ได้คาดคิดมาก่อน.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความรักและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์
ความรักและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ปรัชญา
มัยคลาสสิกไว้ในภาพเดียวกัน คำว่า ปรัชญา มีที่มามาจากภาษาสันสกฤต หมายถึงความรู้อันประเสริฐ โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า ปฺร ที่แปลว่าประเสริฐ กับ คำว่า ชฺญา ที่แปลว่ารู้ ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ แทนคำว่า philosophy ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำΦιλοσοφία ซึ่งไพธากอรัสเป็นผู้บัญญัติไว้ เมื่อราวศตวรรษที่ 6 ก่อน..
ความรักและปรัชญา · ปรัชญาและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ความรักและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความรักและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์
การเปรียบเทียบระหว่าง ความรักและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์
ความรัก มี 62 ความสัมพันธ์ขณะที่ อาชญากรรมกับการลงทัณฑ์ มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.43% = 1 / (62 + 8)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความรักและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: