ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชนะ รุ่งแสงพ.ศ. 2528พรรคประชากรไทยพรรคประชาธิปัตย์การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตรผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจำลอง ศรีเมืองธรรมนูญ เทียนเงิน14 พฤศจิกายน
ชนะ รุ่งแสง
นะ รุ่งแสง อดีตนักการเมืองสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ (ส.ส.) และนักธุรกิจการธนาคารชาวไทย นายชนะเกิดเมื่อปี พ.ศ. 2473 โดยเป็นทายาทตระกูลคหบดีชาวนาตำบลบางนา ซึ่งปัจจุบันคือ เขตบางนา กรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณ ถนนสุขุมวิท (สี่แยกบางนา), ถนนสุขุมวิท 103, ถนนสุขุมวิท 105, ถนนสรรพาวุธ, สองฝั่งคลองบางนา และบริเวณตำบลบางน้ำผึ้ง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยเข้าสู่แวดวงธุรกิจด้วยการเป็นผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย โดยมีตำแหน่งสูงสุดเป็นรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ จากนั้นในปี พ.ศ. 2511 ได้เข้าสู่แวดวงการเมือง ด้วยการลงรับสมัครเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลนครกรุงเทพมหานคร ในสังกัดของพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้ง รวมทั้งได้ดำรงตำแหน่งเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพมหานคร อีกด้วย และได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2516 จากนั้นในการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 นายชนะได้ลงรับสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ในเขต 8 กรุงเทพมหานคร ก็ได้รับเลือกตั้งไป แต่ก็ต้องพ้นจากตำแหน่งในวันที่ 6 ตุลาคม ปีเดียวกัน เมื่อเกิดเหตุการณ์นองเลือดขึ้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสนามหลวง และก็มีการรัฐประหารขึ้นในวันเดียวกัน ต่อมา ได้ลงรับสมัครเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ โดยได้หมายเลข 4 มีนโยบาย คือ "6 เป้าหมาย 4 แนวทางและ 10 มาตรการ" และใช้คำขวัญในการหาเสียง คือ "เลือกชนะ เพื่อชัยชนะของประชาชน" แต่ก็ไม่ได้รับเลือกตั้ง โดยแพ้ให้แก่ พลตรี จำลอง ศรีเมือง ผู้สมัครอิสระ หมายเลข 8 ไป โดยนายชนะได้ 241,002 คะแนน ขณะที่ พล.ต.จำลอง ได้ 408,233 คะแนน ปัจจุบัน นายชนะได้วางมือจากการเมืองแล้ว แต่ยังมีตำแหน่งเป็นคณะกรรมการน้ำแห่งชาติ และคณะทำงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศ.) และมีตำแหน่งทางวิชาการเป็นนายกสภาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก โดยมีหลานชาย คือ นายชนินทร์ รุ่งแสง เป็น..
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและชนะ รุ่งแสง · การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528และชนะ รุ่งแสง ·
พ.ศ. 2528
ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพ.ศ. 2528 · การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528และพ.ศ. 2528 ·
พรรคประชากรไทย
รรคประชากรไทย (Thai Citizen Party - TCP, ย่อว่า: ปชท.) เป็นพรรคการเมืองในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2522 ณ บริเวณสนามชัยข้างพระบรมมหาราชวัง โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช เป็นหัวหน้าพรรค เพื่อการเลือกตั้งในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 โดยผลการเลือกตั้งในครั้งนั้นพรรคประชากรไทยได้รับเลือกตั้ง 29 ที่นั่ง จากจำนวน 32 ที่นั่งในกรุงเทพมหานคร และอีก 3 ที่นั่งในต่างจังหวัด พรรคประชากรไทยจัดเป็นพรรคการเมืองขนาดเล็ก มีฐานเสียงที่สำคัญอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีบุคคลสำคัญอันเป็นเสมือนเอกลักษณ์ของพรรค คือ นายสมัคร สุนทรเวช หัวหน้าพรรค แต่หลังจากปี พ.ศ. 2540 แล้ว พรรคประชากรไทยมีบทบาทการเมืองในระดับประเทศลดลง อีกทั้งมีสมาชิกพรรคจำนวน 12 คน หันไปให้การสนับสนุนนายชวน หลีกภัย ให้ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในสมัยที่ 2 ซึ่งขัดต่อความเห็นของนายสมัคร หัวหน้าพรรค ซึ่งเรียกกันว่า "กลุ่มงูเห่า" ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 นายสมัคร ได้ลงรับสมัครเลือกตั้งได้เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน มีหัวหน้าพรรค คือ นายสุมิตร สุนทรเวช น้องชายของนายสมัคร ที่ทำการพรรคตั้งอยู่ที่ ถนนศรีวรา เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีสมาชิกพรรคจำนวน 69,852 คน.
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพรรคประชากรไทย · การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528และพรรคประชากรไทย ·
พรรคประชาธิปัตย์
รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพรรคประชาธิปัตย์ · การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528และพรรคประชาธิปัตย์ ·
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518 · การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 ·
หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร
ลตำรวจตรี หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร เกิดที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478 เป็นบุตรคนโตของหม่อมเจ้าจิตรปรีดี ประวิตร และหม่อมหลวงเหมือนจันทร์ ดารากร (ธิดาเจ้าพระยาศรีพิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์มูล ดารากร)) หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ สมรสกับ คุณหญิงสุปรียา ประวิตร ณ อยุธยา (รักตประจิต) มีบุตร 2 คน คือ.ต.ท.หม่อมหลวงกิติบดี ประวิตร และพลตรีหม่อมหลวงสุปรีดี ประวิตร รับการศึกษาชั้นประถมที่ โรงเรียนราชินี และมาต่อชั้นมัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษา ที่วชิราวุธวิทยาลัยและโรงเรียนเทพศิรินทร์ แล้วเดินทางไปศึกษาต่อที่ โรงเรียน จีลอง แกรมมา สกูล จบการศึกษาด้านวิศวกรรมเครื่องกล เมลเบิร์น เทคนิคอล คอลเลจ ประเทศออสเตรเลีย ศึกษาวิชาตำรวจและสายตรวจวิทยุ ที่สหรัฐอเมริกา ศึกษาวิชาบรรเทาสาธารณภัยที่ประเทศอังกฤษ 2 ปี ก่อนเข้ารับราชการตำรวจเมื่อปี 2498 โดยเป็นตำรวจสังกัดกองตำรวจยานยนต์ สมัย พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ เป็นอธิบดีกรมตำรวจ ต่อมาในปี 2503 ได้ย้ายมาสังกัดกองตำรวจดับเพลิง ได้เลื่อนยศเป็น ร.ต.อ. ในตำแหน่งหัวหน้าแผนกช่าง จนขึ้นดำรงตำแหน่งผู้บังคับการตำรวจดับเพลิง เมื่อปี 2516 และเป็น ผ.ผ.น. อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งรถวิทยุสายตรวจนครบาล และรถวิทยุตำรวจทางหลวง ก่อตั้งอาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัยและลูกเสือดับเพลิง และก่อตั้งหน่วยดับเพลิงของประชาชน 111 สถานี รวมถึงเป็นประธานผู้ก่อตั้งสโมสรกีฬาราชประชา และดำรงตำแหน่งนายกสมาคมอาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัย แห่งประเทศไทย ได้รับการแต่งตั้งจากรัฐบาลให้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี อย่างต่อเนื่องมาหลายวาระตั้งแต่ ปี 2533 ได้สร้างราชประชาสปอร์ตชูเล่ย์ สำหรับเก็บตัวนักกีฬา และศูนย์ฝึกดับเพลิงและกู้ภัยที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ม.ร.ว.เจตจันทร์ ประวิตร เคยลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2528 ในนามพรรคประชากรไทย แต่พ่ายแพ้พลตรีจำลอง ศรีเมือง ไม่ได้รับเลือก พล.ต.ต. ม.ร.ว.เจตจันทร์ ประวิตร ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เมื่อ 29 มกราคม พ.ศ. 2550 เวลา 19.45 น.
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและหม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร · การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528และหม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร ·
ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทย มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี แต่ในปัจจุบันหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีคำสั่งแต่งตั้งอัศวิน ขวัญเมือง เป็นผู้ว่าราชการคนปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป โดยกำหนดให้ดำรงตำแหน่งจนกว่าจะมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีคําสั่งเปลี่ยนแปลงเป็นประการอื่น.
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร · การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ·
จำลอง ศรีเมือง
ลตรี จำลอง ศรีเมือง แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ 2 สมัย ผู้ก่อตั้ง และหัวหน้าพรรคพลังธรรมคนแรก เป็นแกนนำของผู้ชุมนุมในเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ปี..
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและจำลอง ศรีเมือง · การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528และจำลอง ศรีเมือง ·
ธรรมนูญ เทียนเงิน
นายธรรมนูญ เทียนเงิน (28 มิถุนายน พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2532) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่มาจากการเลือกตั้งเป็นคนแรก อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และ อดีตผู้อำนวยการลูกเสือชาวบ้านพระนคร มีศักดิ์เป็นอา ของ นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ 25 ของประเทศไท.
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและธรรมนูญ เทียนเงิน · การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528และธรรมนูญ เทียนเงิน ·
14 พฤศจิกายน
วันที่ 14 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 318 ของปี (วันที่ 319 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 47 วันในปีนั้น.
14 พฤศจิกายนและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร · 14 พฤศจิกายนและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528
การเปรียบเทียบระหว่าง การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร มี 67 ความสัมพันธ์ขณะที่ การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 มี 32 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 10.10% = 10 / (67 + 32)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: