โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

ดัชนี การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

แต่เดิม ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นข้าราชการการเมืองที่มาจากแต่งตั้งโดยคณะรัฐมนตรีตั้งแต่ปี..

67 ความสัมพันธ์: บุญเทียม เขมาภิรัตน์ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ชนะ รุ่งแสงพ.ศ. 2528พ.ศ. 2539พ.ศ. 2543พ.ศ. 2547พรรคชาติพัฒนาพรรคพลังธรรมพรรคพลังประชาชนพรรคพลังใหม่พรรคก้าวหน้าพรรคมวลชนพรรคความหวังใหม่พรรคประชากรไทยพรรคประชาธิปัตย์พรรคไทพรรคไทยรักไทยพิจิตต รัตตกุลพีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธุ์กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยากอบศักดิ์ ชุติกุลกัลยา โสภณพนิชการุญ จันทรางศุการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2533การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543กานต์ เทียนแก้วมานะ มหาสุวีระชัยมติ ตั้งพานิชลีนา จังจรรจาวรัญชัย โชคชนะวิวัฒน์ ศัลยกำธรวินัย สมพงษ์วุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์วนัสธนา สัจจกุลสมัคร สุนทรเวชสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตรอภิรักษ์ โกษะโยธินอากร ฮุนตระกูลอาทิตย์ อุไรรัตน์ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจำลอง ศรีเมืองธรรมนูญ เทียนเงินธานินทร์ กรัยวิเชียร...ณฐนนท ทวีสินประวิทย์ รุจิรวงศ์ประจักษ์ สว่างจิตรประเวศ วะสีปวีณา หงสกุลนิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัยเมตตา เต็มชำนาญเสม พริ้งพวงแก้วเอกอัครราชทูตเดโช สวนานนท์เฉลิม อยู่บำรุง14 พฤศจิกายน19 เมษายน23 กรกฎาคม29 สิงหาคม3 มิถุนายน7 มกราคม ขยายดัชนี (17 มากกว่า) »

บุญเทียม เขมาภิรัตน์

รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ บุญเทียม เขมาภิรัตน์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 4 สมัย สังกัดพรรคประชากรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและบุญเทียม เขมาภิรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์

ูวิทย์ กมลวิศิษฏ์ หรือนามแฝงว่า Davis Kamol (เกิด 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504 เยาวราช) เป็นอดีตนักการเมืองชาวไทย อดีตหัวหน้าพรรค และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อพรรครักประเทศไทย อดีตสมาชิกพรรคสู้เพื่อไทย และอดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชนะ รุ่งแสง

นะ รุ่งแสง อดีตนักการเมืองสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ (ส.ส.) และนักธุรกิจการธนาคารชาวไทย นายชนะเกิดเมื่อปี พ.ศ. 2473 โดยเป็นทายาทตระกูลคหบดีชาวนาตำบลบางนา ซึ่งปัจจุบันคือ เขตบางนา กรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณ ถนนสุขุมวิท (สี่แยกบางนา), ถนนสุขุมวิท 103, ถนนสุขุมวิท 105, ถนนสรรพาวุธ, สองฝั่งคลองบางนา และบริเวณตำบลบางน้ำผึ้ง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยเข้าสู่แวดวงธุรกิจด้วยการเป็นผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย โดยมีตำแหน่งสูงสุดเป็นรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ จากนั้นในปี พ.ศ. 2511 ได้เข้าสู่แวดวงการเมือง ด้วยการลงรับสมัครเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลนครกรุงเทพมหานคร ในสังกัดของพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้ง รวมทั้งได้ดำรงตำแหน่งเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพมหานคร อีกด้วย และได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2516 จากนั้นในการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 นายชนะได้ลงรับสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ในเขต 8 กรุงเทพมหานคร ก็ได้รับเลือกตั้งไป แต่ก็ต้องพ้นจากตำแหน่งในวันที่ 6 ตุลาคม ปีเดียวกัน เมื่อเกิดเหตุการณ์นองเลือดขึ้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสนามหลวง และก็มีการรัฐประหารขึ้นในวันเดียวกัน ต่อมา ได้ลงรับสมัครเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ โดยได้หมายเลข 4 มีนโยบาย คือ "6 เป้าหมาย 4 แนวทางและ 10 มาตรการ" และใช้คำขวัญในการหาเสียง คือ "เลือกชนะ เพื่อชัยชนะของประชาชน" แต่ก็ไม่ได้รับเลือกตั้ง โดยแพ้ให้แก่ พลตรี จำลอง ศรีเมือง ผู้สมัครอิสระ หมายเลข 8 ไป โดยนายชนะได้ 241,002 คะแนน ขณะที่ พล.ต.จำลอง ได้ 408,233 คะแนน ปัจจุบัน นายชนะได้วางมือจากการเมืองแล้ว แต่ยังมีตำแหน่งเป็นคณะกรรมการน้ำแห่งชาติ และคณะทำงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศ.) และมีตำแหน่งทางวิชาการเป็นนายกสภาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก โดยมีหลานชาย คือ นายชนินทร์ รุ่งแสง เป็น..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและชนะ รุ่งแสง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติพัฒนา

อาจหมายถึง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพรรคชาติพัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังธรรม

รรคพลังธรรม เป็นพรรคการเมืองขนาดกลาง หัวหน้าพรรคคนแรก คือ พล.ต.จำลอง ศรีเมือง ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพรรคพลังธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังประชาชน

อาจหมายถึง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพรรคพลังประชาชน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังใหม่

รรคพลังใหม่ เป็นพรรคการเมืองในประเทศไทย ก่อตั้งและดำเนินกิจกรรมการเมืองหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยจดทะเบียนเป็นพรรคการเมืองเลขที่ 17/2517 เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพรรคพลังใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคก้าวหน้า

รรคก้าวหน้า สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพรรคก้าวหน้า · ดูเพิ่มเติม »

พรรคมวลชน

รรคมวลชน (Mass Party) เป็นพรรคการเมืองในอดีตของประเทศไทย จดทะเบียนก่อตั้งพรรคอย่างเป็นทางการกับกระทรวงมหาดไทยเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2528 มีการยุบพรรคและจัดตั้งขึ้นใหม่อีก 2 ครั้ง คือ ในปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพรรคมวลชน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคความหวังใหม่

ัญลักษณ์พรรคความหวังใหม่แบบเดิม พรรคความหวังใหม่ (New Aspiration Party; ย่อว่า ควม.) เป็นพรรคการเมืองหนึ่งในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับประเทศระหว่างปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพรรคความหวังใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชากรไทย

รรคประชากรไทย (Thai Citizen Party - TCP, ย่อว่า: ปชท.) เป็นพรรคการเมืองในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2522 ณ บริเวณสนามชัยข้างพระบรมมหาราชวัง โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช เป็นหัวหน้าพรรค เพื่อการเลือกตั้งในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 โดยผลการเลือกตั้งในครั้งนั้นพรรคประชากรไทยได้รับเลือกตั้ง 29 ที่นั่ง จากจำนวน 32 ที่นั่งในกรุงเทพมหานคร และอีก 3 ที่นั่งในต่างจังหวัด พรรคประชากรไทยจัดเป็นพรรคการเมืองขนาดเล็ก มีฐานเสียงที่สำคัญอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีบุคคลสำคัญอันเป็นเสมือนเอกลักษณ์ของพรรค คือ นายสมัคร สุนทรเวช หัวหน้าพรรค แต่หลังจากปี พ.ศ. 2540 แล้ว พรรคประชากรไทยมีบทบาทการเมืองในระดับประเทศลดลง อีกทั้งมีสมาชิกพรรคจำนวน 12 คน หันไปให้การสนับสนุนนายชวน หลีกภัย ให้ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในสมัยที่ 2 ซึ่งขัดต่อความเห็นของนายสมัคร หัวหน้าพรรค ซึ่งเรียกกันว่า "กลุ่มงูเห่า" ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 นายสมัคร ได้ลงรับสมัครเลือกตั้งได้เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน มีหัวหน้าพรรค คือ นายสุมิตร สุนทรเวช น้องชายของนายสมัคร ที่ทำการพรรคตั้งอยู่ที่ ถนนศรีวรา เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีสมาชิกพรรคจำนวน 69,852 คน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพรรคประชากรไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคไท

อาจหมายถึง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพรรคไท · ดูเพิ่มเติม »

พรรคไทยรักไทย

รรคไทยรักไทย จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 เป็นพรรคการเมืองแรกที่ก่อตั้งขึ้นภายใต้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 23 คน นำโดย ดร.ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันพรรคไทยรักไทย ถูกยุบตามคำวินิจฉัยใน คดียุบพรรค มีหัวหน้าพรรคคนสุดท้ายคือ จาตุรนต์ ฉายแสง พรรคไทยรักไทยมีสมาชิกพรรคที่แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมือง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ถึงประมาณ 14 ล้านคน (14,394,404 คน) พรรคไทยรักไทย เป็นพรรคการเมืองแรก ที่ผู้สมัครได้รับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เกินกึ่งหนึ่งของจำนวน..ทั้งหมด ในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2548 โดยได้รับการเลือกตั้งถึง 376 ที่นั่ง จากจำนวนที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร 500 ที่นั่ง เอาชนะพรรคคู่แข่งคือ พรรคประชาธิปัตย์ที่ได้เพียง 96 ที่นั่ง ทำให้เป็นพรรคการเมืองแรก ที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้สำเร็จ การบริหารงานของ พรรคไทยรักไทย เป็นที่รับทราบโดยทั่วไป ในการเน้นนโยบายประชานิยมผ่านโครงการต่างๆ ที่เคยหาเสียงไว้ เช่น โครงการกองทุนหมู่บ้าน โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค โครงการพักชำระหนี้เกษตรกร โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และ บ้านเอื้ออาทร แต่หลายโครงการมีปัญหาในการดำเนินการ และมีคำถามเรื่องความโปร่งใส และความพร้อมตรวจสอบ พรรคไทยรักไทย ถูกตุลาการรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรค ด้วยมติเอกฉันท์ 9 ต่อ 0 เสียง เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 และ กรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย ถูกวินิจฉัยเพิกถอนสิทธิ์ทางการเมือง เป็นเวลา 5 ปี ด้วยมติ 6 ต่อ 3 เสียง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพรรคไทยรักไทย · ดูเพิ่มเติม »

พิจิตต รัตตกุล

ตต รัตตกุล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 90/2557 อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพมหานคร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิร.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพิจิตต รัตตกุล · ดูเพิ่มเติม »

พีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธุ์

ผู้ว่า ฯ ในปี พ.ศ. 2547 ที่เยาวราช นายพีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธ์ เกิดวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2491 สมรสกับ นางอุษา ถนอมพงษ์พันธ์ มีบุตร-ธิดา 2 คน สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนเทศบาลวัดจักรวรรดิ, มัธยมศึกษา จากโรงเรียนปทุมคงคา, ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเคมีฟิสิกส์ทางทะเล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาโท วิศวอุตสาหกรรม (IIT) สถาบันเทคโนโลยีของอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นอาจารย์ที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า บางมด 1 ปี, ธนาคารหวั่งหลี 2 ปี ออกมาทำกิจการค้าเงินตราต่างประเทศ 1 ปี แล้วมาทำงานที่ธนาคารกรุงเทพ จำกัด, ผู้จัดการสำนักค้าเงินตราต่างประเทศ ธนาคารกรุงเทพ เชี่ยวชาญด้านการเงินจนได้รับฉายาจากสื่อมวลชนว่า "ขงเบ้งการเงิน" เป็น..กรุงเทพฯ เขต 8 พรรคพลังธรรม ปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและพีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)

กระทรวงการต่างประเทศ (Ministry of Foreign Affairs) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการต่างประเทศและราชการอื่น ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงการต่างประเทศ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและกระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา

อาคารใหม่สวนอัมพร อาคารศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้ (ฟาสาดเดิม) อาคารสำนักงานใหญ่การบินไทย ถนนวิภาวดีรังสิต เอ็มบีเคเซ็นเตอร์ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา (9 มกราคม พ.ศ. 2475 - 12 มกราคม พ.ศ. 2553) เป็นสถาปนิกชาวไทย นักธุรกิจ ผู้ก่อตั้งบริษัทคาซ่า อดีตคณะบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (คนที่ 4 พ.ศ. 2517-2521),นักแสดง, นักบินสมัครเล่น, อดีตนักกีฬายิงปืนทีมชาติในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและกฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

กอบศักดิ์ ชุติกุล

ร.กอบศักดิ์ ชุติกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคชาติไทย และอดีตผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและกอบศักดิ์ ชุติกุล · ดูเพิ่มเติม »

กัลยา โสภณพนิช

ณหญิงกัลยา โสภณพนิช (21 กันยายน 2483 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคอีสาน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตประธานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและกัลยา โสภณพนิช · ดูเพิ่มเติม »

การุญ จันทรางศุ

รองศาสตราจารย์ การุญ จันทรางศุ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย (เลื่อนขึ้นมาแทนคนที่เป็นรัฐมนตรี ร.อ.สุชาติ เชาว์วิศิษฐ) เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2544อุปนายกสภาวิศวกร คนที่ 1, กรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎร, กรรมการจัดการบริษัทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอส), รองประธานคณะกรรมาธิการการสื่อสารและโทรคมนาคม คนที่ 5 เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและการุญ จันทรางศุ · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2533

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

กานต์ เทียนแก้ว

ันตำรวจโท กานต์ เทียนแก้ว เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน เป็นอดีตผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคพลังประชาชน พรรคเงินเดือนประชาชน และเป็นแกนนำกลุ่ม นป.ลำปาง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและกานต์ เทียนแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

มานะ มหาสุวีระชัย

มานะ มหาสุวีระชัย อดีตหัวหน้าพรรคแทนคุณแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2498 ที่ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ เป็นบุตรของนายประวิทย์ และนางสุชา มหาสุวีระชั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและมานะ มหาสุวีระชัย · ดูเพิ่มเติม »

มติ ตั้งพานิช

มติ ตั้งพานิช สถาปนิกชาวไทยและราชบัณฑิตทางด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์ นายมติ เกิดเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484 ในครอบครัวชาวไทยเชื้อสายจีน จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาโทด้านสถาปัตยศาสตร์ จากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (M.I.T.) ประเทศสหรัฐอเมริกา และหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 2 เคยทำงานเป็นสถาปนิกอยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกาอยู่พักหนึ่ง ก่อนจะกลับมาสู่ประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2516 ได้ก่อตั้งบริษัทดีไซน์ ดีเวลลอปเมนต์ จำกัด มีผลงานต่าง ๆ มากมาย เช่น ออกแบบสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์, ออกแบบสนามบินสุวรรณภูมิ, ออกแบบสปอร์ตคอมเพลกต์ สำหรับการแข่งขันเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13 ที่เมืองทองธานี เป็นต้น และดำรงตำแหน่งนายกสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ 3 สมัยติดต่อกัน ก่อนที่จะลงรับสมัครเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2535 สังกัดพรรคความหวังใหม่ โดยมีนโยบายสำคัญ คือ การสร้างถนนวงแหวนแก้ปัญหาการจราจร แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง จากนั้น ได้เป็นที่ปรึกษาของ พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ในขณะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและนายกรัฐมนตรี นายมติ เป็นผู้จุดประการความคิดเรื่องการสร้างศูนย์ราชการแห่งใหม่ ขึ้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งต่อมา แนวความคิดนี้ได้กลายมาเป็นที่มาของ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 หรือที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ ที่ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ เช่นในปัจจุบัน ปัจจุบัน นายมติเป็นคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามประเมินผลราชการ ประจำกระทรวงยุติธรรม และเป็นนายกสภาสถาปนิก ในวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ นายมติ ตั้งพานิช เป็นราชบัณฑิต ประเภทวิชาสถาปัตยกรรมศิลป์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม สำนักศิลปกรรม.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและมติ ตั้งพานิช · ดูเพิ่มเติม »

ลีนา จังจรรจา

ลีนา จังจรรจา เป็นที่รู้จักในชื่อ ลีน่าจัง (เกิด 14 กันยายน พ.ศ. 2502) เป็นอดีตหัวหน้าพรรคมหาประชาชน เคยลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในปี 2547, 2551 และ 2552 นอกจากนี้ ยังเปิดร้านขายเครื่องสำอาง "ไฮโซไซตี้" ที่ประตูน้ำเซ็นเตอร์ และประกอบอาชีพทนายความ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและลีนา จังจรรจา · ดูเพิ่มเติม »

วรัญชัย โชคชนะ

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพ เมื่อปี พ.ศ. 2547 ซึ่งนายวรัญชัยได้เบอร์ 2 นายวรัญชัย โชคชนะ นักการเมืองไทย และนักเคลื่อนไหวทางการเมืองที่เป็นสีสัน เป็นที่รู้จักดีจากการเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหลายสมัย และลงสมัครในการเลือกตั้งทั่วไปอีกหลายครั้ง แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งเลยสักครั้ง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและวรัญชัย โชคชนะ · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒน์ ศัลยกำธร

นายวิวัฒน์ ศัลยกำธร เกิดวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2497 เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย ประธานสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง ประธานมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ประธานกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ วิวัฒน์เป็นหนึ่งในบุคคลที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวลงสู่การปฏิบัติโดยมีเป้าหมายเพื่อการพัฒนามนุษย์ ในขณะเดียวกันภารกิจสำคัญอีกประการได้แก่การขับเคลื่อน “หลักกสิกรรมธรรมชาติ” ผ่านการบ่มเพาะหลักคิดและหลักปฏิบัติผ่าน “ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง” จังหวัดชลบุรี ศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตที่แสดงผลสัมฤทธิ์ของการนำศาสตร์พระราชาด้านการจัดการดิน น้ำ ป่า มาฟื้นฟูระบบนิเวศจนสามารถพลิกฟื้นดินดานสร้างระบบนิเวศที่สมดุลต่อระบบการผลิตภาคการเกษตร พัฒนาสู่ชุมชนที่ดำเนินวิถีชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ขยายผลสู่การสร้างแบบอย่างใหม่ของการศึกษาวิถีไทยในอนาคตด้วยการนำ “บวร-บ้าน วัด โรงเรียน” กลับสู่การบ่มเพาะเด็กและเยาวชนให้มีคุณธรรมนำความรู้ ในนาม “ปูทะเลย์มหาวิชชาลัย” ต้นแบบศูนย์การเรียนรู้ตามกฎกระทรวงว่าด้วยสิทธิของบุคคลในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน นายวิวัฒน์ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาจาก โรงเรียนวัดสนามจันทร์ จังหวัดฉะเชิงเทรา, มัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร, ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และได้รับปริญญาดุษฎีกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นายวิวัฒน์ ดำรงตำแหน่งสุดท้ายก่อนลาออกจากราชการ คือ ผู้อำนวยการกองประเมินผลงาน สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สำนักนายกรัฐมนตรี ลาออกมาเพื่อขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชให้เป็นจริง ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็น ประธานสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง ประธานมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ประธานกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ในขณะเดียวกับได้รับตำแหน่งที่ปรึกษาให้กับหลายหน่วยงาน/องค์กร เพื่อขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในภาคส่วนต่างๆ ของสังคมนอกเหนือจากด้านการเกษตร อาทิ ด้านการศึกษา ด้านอุตสาหกรรม ด้านธุรกิจการบริการ ฯลฯ ในปี พ.ศ. 2543 นายวิวัฒน์เคยลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในนาม "กลุ่มกรุงเทพสามัคคี" แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและวิวัฒน์ ศัลยกำธร · ดูเพิ่มเติม »

วินัย สมพงษ์

ันเอกวินัย สมพงษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และเป็นนักการเมืองที่มีความซื่อสัตย์ จนได้รับฉายาจากสื่อมวลชนว่า นายไม้บรรทัด และเป็นผู้ยกเลิกโครงการโฮบเวลล์ และริเริ่มโครงการรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย เมื่อปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและวินัย สมพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์

ร.วุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์ เป็นกรรมการผู้อำนวยการของสถาบันสหสวรรษ ซึ่งเป็นสถาบันวิชาการของภาคประชาชน ในอดีตเคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ช่วง..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและวุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

วนัสธนา สัจจกุล

นายวนัสธนา สัจจกุล (ชื่อเดิม ธวัชชัย สัจจกุล) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กหอย หัวหน้าพรรคพลังคนกีฬา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย และอดีตผู้จัดการทีมฟุตบอลทีมชาติไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและวนัสธนา สัจจกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์

ร.คุณหญิง สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (1 พฤษภาคม 2504 -) เป็นนักการเมือง เคยร่วมประท้วงในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ อดีตรัฐมนตรีเคยดำรงตำแหน่งที่สำคัญในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันเป็นประธานมูลนิธิไทยพึ่งไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร

ลตำรวจตรี หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร เกิดที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478 เป็นบุตรคนโตของหม่อมเจ้าจิตรปรีดี ประวิตร และหม่อมหลวงเหมือนจันทร์ ดารากร (ธิดาเจ้าพระยาศรีพิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์มูล ดารากร)) หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ สมรสกับ คุณหญิงสุปรียา ประวิตร ณ อยุธยา (รักตประจิต) มีบุตร 2 คน คือ.ต.ท.หม่อมหลวงกิติบดี ประวิตร และพลตรีหม่อมหลวงสุปรีดี ประวิตร รับการศึกษาชั้นประถมที่ โรงเรียนราชินี และมาต่อชั้นมัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษา ที่วชิราวุธวิทยาลัยและโรงเรียนเทพศิรินทร์ แล้วเดินทางไปศึกษาต่อที่ โรงเรียน จีลอง แกรมมา สกูล จบการศึกษาด้านวิศวกรรมเครื่องกล เมลเบิร์น เทคนิคอล คอลเลจ ประเทศออสเตรเลีย ศึกษาวิชาตำรวจและสายตรวจวิทยุ ที่สหรัฐอเมริกา ศึกษาวิชาบรรเทาสาธารณภัยที่ประเทศอังกฤษ 2 ปี ก่อนเข้ารับราชการตำรวจเมื่อปี 2498 โดยเป็นตำรวจสังกัดกองตำรวจยานยนต์ สมัย พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ เป็นอธิบดีกรมตำรวจ ต่อมาในปี 2503 ได้ย้ายมาสังกัดกองตำรวจดับเพลิง ได้เลื่อนยศเป็น ร.ต.อ. ในตำแหน่งหัวหน้าแผนกช่าง จนขึ้นดำรงตำแหน่งผู้บังคับการตำรวจดับเพลิง เมื่อปี 2516 และเป็น ผ.ผ.น. อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งรถวิทยุสายตรวจนครบาล และรถวิทยุตำรวจทางหลวง ก่อตั้งอาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัยและลูกเสือดับเพลิง และก่อตั้งหน่วยดับเพลิงของประชาชน 111 สถานี รวมถึงเป็นประธานผู้ก่อตั้งสโมสรกีฬาราชประชา และดำรงตำแหน่งนายกสมาคมอาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัย แห่งประเทศไทย ได้รับการแต่งตั้งจากรัฐบาลให้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี อย่างต่อเนื่องมาหลายวาระตั้งแต่ ปี 2533 ได้สร้างราชประชาสปอร์ตชูเล่ย์ สำหรับเก็บตัวนักกีฬา และศูนย์ฝึกดับเพลิงและกู้ภัยที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ม.ร.ว.เจตจันทร์ ประวิตร เคยลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2528 ในนามพรรคประชากรไทย แต่พ่ายแพ้พลตรีจำลอง ศรีเมือง ไม่ได้รับเลือก พล.ต.ต. ม.ร.ว.เจตจันทร์ ประวิตร ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เมื่อ 29 มกราคม พ.ศ. 2550 เวลา 19.45 น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและหม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร · ดูเพิ่มเติม »

อภิรักษ์ โกษะโยธิน

นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน (30 มีนาคม พ.ศ. 2504 —) เป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์, อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี และอดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและอภิรักษ์ โกษะโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

อากร ฮุนตระกูล

นายอากร ฮุนตระกูล เกิดวันที่ 22 สิงหาคม..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและอากร ฮุนตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

อาทิตย์ อุไรรัตน์

อาทิตย์ อุไรรัตน์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2481-) อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม อดีตเจ้าของโรงพยาบาลเอกชนในเครือพญาไท เขาได้รับฉายา "วีรบุรุษประชาธิปไตย" จากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ที่ได้เสนอชื่อ อานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีแทน พล.อ.อ.สมบุญ ระหงษ์ ที่กล่าวกันว่าจะมารับช่วงต่อรัฐบาล รสช. และเจ้าของฉายา "ดร.ไข่ผง" จากการเคยมีกิจการโรงงานผลิตไข่ผงที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต และเป็นกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและอาทิตย์ อุไรรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทย มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี แต่ในปัจจุบันหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีคำสั่งแต่งตั้งอัศวิน ขวัญเมือง เป็นผู้ว่าราชการคนปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป โดยกำหนดให้ดำรงตำแหน่งจนกว่าจะมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีคําสั่งเปลี่ยนแปลงเป็นประการอื่น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

จำลอง ศรีเมือง

ลตรี จำลอง ศรีเมือง แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ 2 สมัย ผู้ก่อตั้ง และหัวหน้าพรรคพลังธรรมคนแรก เป็นแกนนำของผู้ชุมนุมในเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและจำลอง ศรีเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมนูญ เทียนเงิน

นายธรรมนูญ เทียนเงิน (28 มิถุนายน พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2532) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่มาจากการเลือกตั้งเป็นคนแรก อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และ อดีตผู้อำนวยการลูกเสือชาวบ้านพระนคร มีศักดิ์เป็นอา ของ นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ 25 ของประเทศไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและธรรมนูญ เทียนเงิน · ดูเพิ่มเติม »

ธานินทร์ กรัยวิเชียร

ตราจารย์ (พิเศษ) ธานินทร์ กรัยวิเชียร (5 เมษายน พ.ศ. 2470 —) อดีตองคมนตรี อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานองคมนตรี และอดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 14 ของไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและธานินทร์ กรัยวิเชียร · ดูเพิ่มเติม »

ณฐนนท ทวีสิน

ณหญิง ณฐนนท ทวีสิน อดีตปลัดกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและณฐนนท ทวีสิน · ดูเพิ่มเติม »

ประวิทย์ รุจิรวงศ์

ประวิทย์ รุจิรวงศ์ นักธุรกิจชาวไทย และอดีตนักการเมืองท้องถิ่น ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ นายประวิทย์ เกิดเมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2484 เป็นบุตรชายของ พลตำรวจเอก ประเสริฐ รุจิรวงศ์ อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และคุณหญิงน้อย รุจิรวงศ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล, โรงเรียนโยธินบูรณะและสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน จากนั้นได้เดินทางไปฝึกงานต่อยังประเทศอังกฤษเป็นระยะเวลา 3 ปี เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) และดำรงตำแหน่งประธานสภากรุงเทพมหานคร เป็นคนที่ 7 ด้วย ตั้งแต่วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 ถึงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 จากนั้นได้ลงเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2533 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง โดยได้คะแนนมาเป็นลำดับที่สาม ได้ทั้งหมด 60,947 คะแนน นายประวิทย์ถึงแก่กรรมเมื่อปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและประวิทย์ รุจิรวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประจักษ์ สว่างจิตร

หตุการณ์กบฏเมษาฮาวาย เมื่อ 1-3 เมษายน พ.ศ. 2524 พันเอก (พิเศษ) ประจักษ์ สว่างจิตร หรือที่นิยมเรียกว่า ผู้การประจักษ์ (12 กันยายน พ.ศ. 2480 – 10 กันยายน พ.ศ. 2546) สำเร็จการศึกษาจาก โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.) หลักสูตรเวสปอยท์ รุ่นที่ 7 ซึ่งได้รับฉายาว่า "กลุ่มยังเติร์ก".อ. (พิเศษ) ประจักษ์ เป็นหนึ่งในแกนนำสำคัญของนายทหาร จปร.7 เป็นนักรบอาชีพที่ผ่านการรบมาอย่างโชกโชนในสมรภูมิอินโดจีน ทั้งในเวียดนาม กัมพูชา ลาว เป็นทหารที่ดุดันเอาจริงเอาจังในการตอบโต้การล่วงละเมิดอธิปไตยของไทย จนเพื่อนในรุ่นเรียกว่า "นักรบบ้าดีเดือด" และชาวบ้านบริเวณชายแดน ไทย-กัมพูชา ตั้งฉายาให้ว่า "วีรบุรุษตาพระยา" แม้จะเป็นคนมุทะลุ ดุดัน แต่รักพวกพ้อง.อ. (พิเศษ) ประจักษ์ เป็นเพื่อนร่วมรุ่นกับ พล.ต.มนูญกฤต รูปขจร ประธานวุฒิสภา, พล.อ.พัลลภ ปิ่นมณี และ พล.ต.จำลอง ศรีเมือง.อ. (พิเศษ) ประจักษ์เป็นที่รู้จักของคนทั้งประเทศจากเหตุการณ์ "กบฏเมษาฮาวาย" เมื่อวันที่ 1-3 เมษายน..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและประจักษ์ สว่างจิตร · ดูเพิ่มเติม »

ประเวศ วะสี

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ประเวศ วะสี ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดลกรรมการสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการ สภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ราษฎรอาวุโส เป็นนักวิชาการด้านสาธารณสุข และนักวิชาการเกี่ยวกับการศึกษา ทั้งเป็นผู้สนับสนุนงานค้นคว้าวิจัยต่างๆที่เกี่ยวกับการแก้ปัญหาและพัฒนาชีวิต นายแพทย์ประเวศ วะสี เกิดเมื่อวันที่ ตำบลเกาะสำโรง บนฝั่งลำน้ำแควน้อย จังหวัดกาญจนบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ของนายคลายและนางกิม วะสี ศึกษาชั้นมูลฐานในวัยเยาว์ที่โรงเรียนวัดเหนือ ชั้นประถมศึกษาที่ โรงเรียนประชาบาลตำบลเกาะสำโรง ชั้นมัธยมที่โรงเรียนวิสุทธรังษี จนถึง..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและประเวศ วะสี · ดูเพิ่มเติม »

ปวีณา หงสกุล

นางปวีณา หงสกุล (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นักการเมืองสตรีชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครหลายสมัย เป็นที่รู้จักในบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์และผู้ดำเนินงานในนามมูลนิธิปวีณ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและปวีณา หงสกุล · ดูเพิ่มเติม »

นิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย

ร้อยตำรวจเอก นิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย เดิมชื่อ นิติภูมิ นวรัตน์ (ชื่อเล่น: หมู; 5 มิถุนายน พ.ศ. 2503 —) เกิดที่ บ้านดงกลาง ตำบลเขาสมิง อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด แต่มาเติบโตที่บ้านซึ้งล่าง ตำบลวันยาว อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี บิดาชื่อ มิ่ง อยู่พร้อม มารดาชื่อ เชื้อน อยู่พร้อม (สกุลเดิมกลิ่นอยู่ มีเชื้อสายสกุลชัชวาลย์, พูลเกษม และเจริญลาภ) มีเชื้อสายฝ่ายแม่เป็นคนจีนแซ่ลี้ และบรรพบุรุษบางสายมาจากอินเดีย เขานับถือศาสนาพุทธ จบการศึกษาระดับปริญญาเอกทางประวัติศาสตร์ จากสถาบันเอเชียและแอฟริกาศึกษา มหาวิทยาลัยมอสโก อดีตสหภาพโซเวียต เดิมนามสกุล อยู่พร้อม แต่เปลี่ยนมาใช้นามสกุลของบิดาบุญธรรมคือ หม่อมราชวงศ์เชาวน์ นวรัตน์ และเมื่อวันจันทร์ที่ 12 กันยายน..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและนิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย · ดูเพิ่มเติม »

เมตตา เต็มชำนาญ

ร.อ.เมตตา เต็มชำนาญ กับป้ายโฆษณาหาเสียง ร้อยเอก เมตตา เต็มชำนาญ (ชื่อเล่น: ตู่) เป็นอดีตนายทหารสังกัดกองทัพบก และนักการเมือง ลงรับสมัครเลือกตั้งหลายครั้ง ทั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งทั่วไป แต่ไม่เคยได้รับเลือก ร.อ.เมตตา เกิดเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2491 จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย รับราชการในสังกัดสำนักงานเลขานุการกองทัพบก เคยลงรับสมัครเลือกตั้งครั้งแรก ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในการเลือกตั้งทั่วไป เมื่อปี พ.ศ. 2526 แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง จากนั้น ได้ลงเลือกตั้งอีกครั้งในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547 โดยไม่สังกัดพรรคการเมืองใด ๆ หมายเลข 9 โดยมีนโยบาย เช่น ปลูกผลไม้ที่เกาะกลางถนนในกรุงเทพมหานคร ให้เด็ดรับประทานได้ ได้รับคะแนนไปทั้งหมด 1,965 คะแนน จากนั้นได้ลงรับสมัครเลือกตั้งอีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2551 เป็นผู้สมัครอิสระอีกครั้ง ในหมายเลข 3 ก็ไม่ได้รับการเลือกตั้งอีก โดยได้คะแนนไป 2,105 คะแนน ในการเลือกตั้งทั่วไป เคยลงรับสมัครเลือกตั้งในพื้นที่เขต 1 กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาราช ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ซึ่งก็ไม่ได้รับการเลือกตั้ง และรับสมัครเลือกตั้งผู้ว่าฯอีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2556 ได้เบอร์ 3 ได้คะแนนไปทั้งหมด 1,301 คะแนน ร.อ.เมตตา มีฉายาว่า "ตู่ ติงลี่" เนื่องจากเป็นนักแสดงประกอบจากละครโทรทัศน์และภาพยนตร์หลายเรื่อง อาทิ แหวนทองเหลือง, อตีตา, สุริโยไท และตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา เป็นต้น และเคยเป็นผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ เรื่อง ไอัขุนเพลง ด้วย ในปี พ.ศ. 2522.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและเมตตา เต็มชำนาญ · ดูเพิ่มเติม »

เสม พริ้งพวงแก้ว

ตราจารย์ นายแพทย์ เสม พริ้งพวงแก้ว (31 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณ..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและเสม พริ้งพวงแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เอกอัครราชทูต

เอกอัครราชทูต (ambassador) เป็นนักการทูตตำแหน่งสูงสุด ซึ่งจัดการแทนประเทศหนึ่ง ๆ และปรกติมักได้รับการส่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง ไปยังรัฐบาลต่างด้าว หรือไปยังองค์การระหว่างประเทศ ในความหมายธรรมดา คำ "ทูต" (ambassador) หมายถึง บุคคลซึ่งรัฐบาลประเทศหนึ่งส่งไปประจำอีกประเทศหนึ่งเพื่อให้จัดการแทนตน และไม่ว่าบุคคลนั้นจะมีตำแหน่งใด โดยรัฐผู้รับ (host state) จะให้ทูตมีเขตอำนาจอยู่ใน สถานทูต (embassy) ซึ่งตั้งอยู่ในดินแดนของรัฐผู้รับ และรัฐผู้รับจะให้ความคุ้มกัน (immunity) แก่พัทธสีมา ที่ดิน ทรัพย์สิน บุคคล ฯลฯ ของสถานทูต บางประเทศอาจแต่งตั้งบุคคลผู้เป็นที่เลื่อมใสกว้างขวางให้เป็นเอกอัครราชทูตประจำกระทรวง (ambassador-at-large) เพื่อให้จัดการเพียงบางอย่างโดยเฉพาะ หรือรับผิดชอบท้องที่อันจำกัด ขณะที่เอกอัครราชทูตมักมีอำนาจจัดการทั่วไป สำหรับประเทศในเครือจักรภพ มักเรียกเอกอัครราชทูตว่า ข้าหลวงใหญ่ (high commissioner) และคณะผู้แทนทางทูตจะเรียก คณะข้าหลวงใหญ่ (high commission) แทน ส่วนเอกอัครราชทูตของอาณาจักรอันศักดิ์สิทธิ์ (Holy See) นั้นเรียก เอกอัครสมณทูต (nuncio) หมวดหมู่:นักการทูต.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและเอกอัครราชทูต · ดูเพิ่มเติม »

เดโช สวนานนท์

วนานนท์ (25 มิถุนายน พ.ศ. 2476-) นักวิชาการทางกฎหมายและรัฐศาสตร์และอดีตนักการเมืองชาวไทย เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาชน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและเดโช สวนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม อยู่บำรุง

ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและเฉลิม อยู่บำรุง · ดูเพิ่มเติม »

14 พฤศจิกายน

วันที่ 14 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 318 ของปี (วันที่ 319 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 47 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและ14 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

19 เมษายน

วันที่ 19 เมษายน เป็นวันที่ 109 ของปี (วันที่ 110 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 256 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและ19 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

23 กรกฎาคม

วันที่ 23 กรกฎาคม เป็นวันที่ 204 ของปี (วันที่ 205 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 161 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและ23 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 สิงหาคม

วันที่ 29 สิงหาคม เป็นวันที่ 241 ของปี (วันที่ 242 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 124 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและ29 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 มิถุนายน

วันที่ 3 มิถุนายน เป็นวันที่ 154 ของปี (วันที่ 155 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 211 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและ3 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

7 มกราคม

วันที่ 7 มกราคม เป็นวันที่ 7 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 358 วันในปีนั้น (359 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและ7 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »