การหมัก (ชีวเคมี)และไซเดอร์
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง การหมัก (ชีวเคมี)และไซเดอร์
การหมัก (ชีวเคมี) vs. ไซเดอร์
งที่เกิดขึ้นระหว่างการหมัก สำหรับความหมายอื่นดูที่ การหมักดอง การหมัก (Fermentation; มาจากภาษาละติน Fervere หมายถึง "เดือด") เป็นกระบวนทางชีวเคมีภายในเซลล์ เพื่อสร้างพลังงานจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ หรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารประกอบอินทรีย์ด้วยเอนไซม์ โดยมีสารอินทรีย์เป็นทั้งตัวให้และตัวรับอิเล็กตรอน ซึ่งต่างจากการหายใจแบบใช้ออกซิเจนที่ใช้ออกซิเจนที่เป็นสารอนินทรีย์เป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย ในครั้งแรกคำว่าการหมักใช้อธิบายลักษณะที่เกิดจากการทำงานของยีสต์ในน้ำผลไม้ เพราะยีสต์ย่อยสลายน้ำตาลในสภาวะที่ไร้ออกซิเจน จึงเกิดฟองแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ผุดขึ้นมาเหมือนน้ำเดือด เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในหนังสือ alchemy แต่เริ่มใช้ในความหมายปัจจุบันเมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 16. ซเดอร์หนึ่งแก้ว ไซเดอร์ (cider) เป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หมักทำจากน้ำแอปเปิลไม่กรอง ปริมาณแอลกอฮอล์ในไซเดอร์แปรผันตั้งแต่ 1.2% แอลกอฮอล์โดยปริมาตรถึง 8.5% หรือกว่านั้นในไซเดอร์อังกฤษ และ 3.5% ถึง 12% ในไซเดอร์ภาคพื้นทวีป ตามกฎหมายสหราชอาณาจักร ไซเดอร์ต้องมีน้ำแอปเปิล (สดหรือจากเข้มข้น) อย่างน้อย 35% แม้กลุ่มรณรงค์เพื่อเอลจริง (Campaign for Real Ale, CAMRA) ระบุว่า "ไซเดร์จริง" ต้องมีน้ำแอปเปิลสดอย่างน้อย 90% ในสหรัฐอเมริกา มีขั้นต่ำ 50% ในประเทศฝรั่งเศส ไซเดอร์ต้องทำจากแอปเปิลอย่างเดียว ในปี 2557 การศึกษาโดย เดอะเดลีเทเลกราฟ พบว่า ไซเดอร์ตลาดหนึ่งไพนต์ (บัลเมอส์) มีน้ำตาลห้าช้อนชา (20.5 ก.) เกือบเท่าการแนะนำปริมาณบริโภคน้ำตาลเติม (added sugar) ต่อวันของผู้ใหญ่ขององค์การอนามัยโลก และเป็น 5–10 ของปริมาณน้ำตาลในลาเกอร์หรือเอล ในสหรัฐอเมริกาและบางส่วนของแคนาดา เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ซึ่งอภิปรายในบทความนี้โดยทั่วไปเรียก "ไซเดอร์แรง" (hard cider) ส่วน "ไซเดอร์" โดยทั่วไปหมายถึง น้ำแอปเปิลไม่กรองไม่มีแอลกอฮอล์ซึ่งมีรสหวาน ๆ เปรี้ยว ๆ ต่างออกไป การเติมน้ำตาลหรือผลไม้เพิ่มก่อนการหมักครั้งที่สองเพิ่มปริมาณแอลกอฮอล์ในเครื่องดื่มผลลัพธ์ เครื่องดื่มแอปเปิลซึ่งมีแอลกอฮอล์โดยมีปริมาณแอลกอฮอล์สูงกว่า (>10%) คือ "ไวน์แอปเปิล" สามารถน้ำแอปเปิลหลายชนิดทำไซเดอร์ แต่พันธุ์ปลูกเฉพาะที่ปลูกเพื่อทำไซเดอร์เรียก แอปเปิลไซเดอร์ ไซเดอร์ได้รับความนิยมในสหราชอาณาจักร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวสต์มิดแลนส์ เซาท์เวสต์อิงแลนด์และอีสต์แองเกลีย และมีอยู่ในมุมของประเทศ สหราชอาณาจักรมีการบริโภคต่อหัวสูงสุด และยังเป็นที่ตั้งของบริษัทผู้ผลิตไซเดอร์ใหญ่ ๆ ของโลก ซึ่งรวมเอ.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การหมัก (ชีวเคมี)และไซเดอร์
การหมัก (ชีวเคมี)และไซเดอร์ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การหมักดอง
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การหมัก (ชีวเคมี)และไซเดอร์ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การหมัก (ชีวเคมี)และไซเดอร์
การเปรียบเทียบระหว่าง การหมัก (ชีวเคมี)และไซเดอร์
การหมัก (ชีวเคมี) มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไซเดอร์ มี 14 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 5.00% = 1 / (6 + 14)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การหมัก (ชีวเคมี)และไซเดอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: