โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซัมบวงกาซิตี

ดัชนี ซัมบวงกาซิตี

ซัมบวงกาซิตี (Chavacano: Ciudad de Zamboanga, Lungsod ng Zamboanga) เป็นนครหนาแน่นแห่งหนึ่งในเขตตังไวนางซัมบวงกา ประเทศฟิลิปปินส์ มีประชากร 861,799 คนในปี..

34 ความสัมพันธ์: บารังไกย์ภาษาชาบากาโนภาษาฟิลิปีโนภาษาสเปนภาษาอังกฤษภาษาฮีลีไกโนนภาษาเตาซุกภาษาเซบัวโนมะนิลามากาตีมินดาเนารถจี๊ปนีย์รถตุ๊ก ๆลัทธินอกศาสนาวิซายัสศาสนาพุทธศาสนาอิสลามศาสนาคริสต์ศาสนาซิกข์อเทวนิยมจังหวัดบาตังกัสจังหวัดรีซัลจังหวัดตีโมกดาเบาจังหวัดตีโมกซัมบวงกาดาเบาซังกูเนียงปันลาลาวีกันซันดากันซาราโกซาประเทศฟิลิปปินส์แอร์บัส เอ330แท็กซี่โบอิง 747เมโทรมะนิลาเขตตังไวนางซัมบวงกา

บารังไกย์

รังไกย์ เป็นหน่วยการปกครองท้องถิ่นของรัฐบาลที่เล็กที่สุดในประเทศฟิลิปปินส์ เป็นคำที่ชาวฟิลิปปินส์พื้นเมืองสำหรับหมู่บ้านตำบลหรือวอร์ด ในการใช้งานเป็นภาษาพูดคำที่มักจะหมายถึงเขตเมืองชั้นในย่านชานเมืองหรือย่านชานเมือง คำว่าบารังไกย์คำมาจาก Balangay ชนิดของเรือที่ใช้โดยกลุ่มของประชาชนออสโตรนีเชียน เมื่อพวกเขาอพยพไปอยู่ในฟิลิปปินส์ ในเขตเทศบาลเมืองและเมืองที่มีองค์ประกอบของเกส์และพวกเขาอาจจะถูกแบ่งออกเป็นพื้นที่ขนาดเล็กที่เรียกว่า Purok (ไทย:เขต) และ Sitio ซึ่งเป็นดินแดนที่อยู่ภายในวงล้อมรังเกย์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ชนบท ณ วันที่ 30 กันยายน 2012 จำนวนบารังไกย์มีจำนวน 42,028 บารังไกย์ทั่วฟิลิปปิน.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและบารังไกย์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชาบากาโน

ษาชาบากาโน เป็นชื่อของภาษาสเปนลูกผสมในฟิลิปปินส์ คำว่า chabacano ซึ่งเป็นที่มาของชื่อชาบากาโน (Chavacano) เป็นภาษาสเปน หมายถึง รสชาติแย่ สามัญ หรือหยาบ ผู้พูดภาษาชาบากาโนส่วนใหญ่อยู่ในเมืองซัมโบวังกาซิตี จังหวัดซัมโบวังกา บาซีลัน จาไวต์ และบางบริเวณในดาเวาและโจตาบาโต มีผู้พูด 607,200 คนเมื่อ..

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและภาษาชาบากาโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟิลิปีโน

ษาฟิลิปปินส์ หรือ ภาษาฟิลิปีโน (Filipino) เป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการภาษาหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์คู่กับภาษาอังกฤษ กำหนดเมื่อ พ.ศ. 2530 ภาษานี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาตากาล็อก เมื่อ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 สถาบันภาษาแห่งชาติเลือกภาษาตากาล็อกซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นที่มีการใช้เป็นภาษาเขียนมากที่สุดมาเป็นพื้นฐานของภาษาประจำชาติภาษาใหม่ใน พ.ศ. 2504 ภาษานี้เป็นที่รู้จักในชื่อ ปิลิปีโน และเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาฟิลิปปินส์เมื่อ พ.ศ. 2515.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและภาษาฟิลิปีโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีลีไกโนน

ษาฮีลีไกโนน (ฟิลิปีโนและHiligaynon) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียใช้พูดในวิซายาตะวันตก ประเทศฟิลิปปินส์ ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดอีโลอีโลและเนโกรส และจังหวัดอื่น ๆ ในเกาะปาไน เช่น คาปิซ, อันตีเก, อักลัน และกีมารัส มีผู้พูด 7 ล้านคน ใช้เป็นภาษาแม่ และใช้เป็นภาษาที่สองอีก 4 ล้านคน.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและภาษาฮีลีไกโนน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเตาซุก

ษาเตาซุก (Wikang Tausug; Tausug language) หรือ ภาษาซูก (เตาซุก: Bahasa Sūg) อยู่ในตระกูลวิซายัน มีผู้พูดในจังหวัดซูลู ประเทศฟิลิปปินส์ มีผู้พูดในมาเลเซียและอินโดนีเซียด้ว.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและภาษาเตาซุก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเซบัวโน

ษาเซบู (Cebuano; Sebwano; เซบู: Sinugboanon) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดในฟิลิปปินส์ 18 ล้านคน ชื่อในภาษาอังกฤษมาจากชื่อเกาะเซบู รวมกับปัจจัยจากภาษาสเปน -ano หมายถึง ที่เกี่ยวกับเชื้อชาต.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและภาษาเซบัวโน · ดูเพิ่มเติม »

มะนิลา

มะนิลา (Manila; Maynila) เป็นเมืองหลวงของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยุ่บนชายฝั่งตะวันออกของอ่าวมะนิลา (Manila Bay) บนเกาะลูซอนซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและตั้งอยู่ทางเหนือสุดของฟิลิปปินส์ บางส่วนของเมืองมีความยากจน อย่างไรก็ดี มะนิลาเป็นเมืองที่มีชนชาติรวมกันอยู่มากมาย และเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม การศึกษา และอุตสหากรรมของประเทศ มะนิลาคือศูนย์กลางของเขตมหานครที่มีประชากรมากกว่า 10 ล้านคน เขต เมโทรมะนิลา (Metro Manila) เป็นมหานครที่ใหญ่กว่า ประกอบด้วยเมืองและเทศบาล 17 แห่ง เฉพาะเมืองมะนิลาเองเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 2 มีประชากรประมาณ 1.5 ล้านคน เมืองเดียวที่มีประชากรมากกว่าคือเมืองเกซอนซิตี (Quezon City) ชานเมืองและอดีตเมืองหลวง มะนิลาตั้งอยูที่ 14°35' เหนือ 121°0' ตะวันออก.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและมะนิลา · ดูเพิ่มเติม »

มากาตี

มากาตี (Makati) คือเมืองใหญ่แห่งหนึ่งในประเทศฟิลิปปินส์ และหนึ่งใน 16 เมืองซึ่งอยู่ในเขตเมโทรมะนิลา หรือเขตปริมณฑลรอบกรุงมะนิลา เมืองหลวงของฟิลิปปินส์ มากาตีคือศูนย์กลางทางการเงินของฟิลิปปินส์ ซึ่งมีการกระจุกตัวสูงที่สุดของบริษัทท้องถิ่นและบริษัทนานาชาติในประเทศ ธนาคาร บริษัท ห้างสรรพสินค้า และสถานทูตต่างชาติต่าง ๆ ล้วนตั้งอยู่ในเมืองมากาตี รวมถึงเป็นพื้นที่ทางการค้าที่ใหญ่ที่สุดของตลาดหลักทรัพย์ฟิลิปปินส์ ซึ่งตั้งอยู่ตามถนนอายาลา (Ayala Avenue) มากาตียังเป็นที่รู้จักสำหรับการเป็นศูนย์กลางความบันเทิงและวัฒนธรรมหลักในเมโทรมะนิลา ด้วยประชากร 609,123 คนในเมือง มากาตีจึงเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 16 ของประเทศ และเป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นมากที่สุดอันดบที่ 41 ของโลก จากจำนวนผู้อยู่อาศัยถึง 19,336 คน ต่อตารางกิโลเมตร แม้ว่าจะมีประชากรเพียงครึ่งล้านคน ประชากรในช่วงกลางวันของเมืองได้รับการประเมินไว้กว่า 1 ล้านคน ระหว่างวันทำงานปกติ เพราะประชาชนจำนวนมากเดินทางมายังมากาตี เพื่อทำงาน ซื้อของ และติดต่อทางธุรก.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและมากาตี · ดูเพิ่มเติม »

มินดาเนา

มินดาเนา (Mindanao) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 2 และตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของประเทศฟิลิปปินส์ มีลักษณะภูมิประเทศที่มีรูปร่างคล้ายสามเหลี่ยม ชายฝั่งเว้าแหว่ง มีอ่าวขนาดใหญ่และเล็กจำนวนมาก มีเทือกเขาซึ่งมียอดเขาหลายแห่งที่มีความสูงมากกว่า 1,500 เมตร ยอดสูงสุดชื่อ อาโป สูง 2,954 เมตร มีระบบแม่น้ำหลัก 2 ระบบ คือ ระบบแม่น้ำอากูซันทางตะวันออก และระบบแม่น้ำมินดาเนาทางใต้และกลาง ผลิตผลสำคัญ ได้แก่ ข้าวโพด ข้าวเจ้า มะพร้าว ไม้ซุง กาแฟ ป่านอะบากา ศาสนาอิสลามได้เผยแผ่เข้าไปในเกาะ ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ซึ่งเดินเรือให้แก่กษัตริย์สเปนได้เดินทางมาถึงเกาะนี้ ใน..

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและมินดาเนา · ดูเพิ่มเติม »

รถจี๊ปนีย์

รถจี๊ปนีย์ รถจี๊ปนีย์ (Jeepney; Dyipni, Dyip) เป็นประเภทหนึ่งของขนส่งมวลชนในประเทศฟิลิปปินส์ รถจี๊ปนีย์เป็นรถโดยสารประเภทเดียวกันกับรถแท็กซี่หรือรถสองแถว เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของฟิลิปปินส์ คำว่า "จี๊ปนีย์" เกิดจากการสมาสคำศัพท์ในภาษาอังกฤษ คือ "จี๊ป" (Jeep) กับ "นีย์" (Knee) ที่หมายถึง "หัวเข่า" เนื่องจากรถจี๊ปนีย์ในสมัยก่อนจะมีผู้โดยสารนั่งกันแออัด จนหัวเข่าชนหัวเข่า รถจี๊ปนีย์ กำเนิดมาจากการที่ทหารอเมริกันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ที่ได้ยึดเอาฟิลิปปินส์เป็นฐานที่มั่นและชัยภูมิในมหาสมุทรแปซิฟิก เมื่อสงครามยุติลงในปี..

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและรถจี๊ปนีย์ · ดูเพิ่มเติม »

รถตุ๊ก ๆ

รถตุ๊ก ๆ ในกรุงเทพฯ รถตุ๊ก ๆ หรือชื่อเรียกทางราชการว่า รถสามล้อเครื่อง เริ่มแรกเป็นการนำรถสามล้อเครื่อง กระบะบรรทุก จากประเทศญี่ปุ่น เข้ามาดัดแปลง เข้ามาในเมืองไทยครั้งแรกปี..

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและรถตุ๊ก ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธินอกศาสนา

้อน Mjölnir ซึ่งเป็นสัญลักษณ์สำคัญของลัทธิเพกันใหม่เยอรมัน ลัทธินอกศาสนา หรือ เพเกิน หรือ เพแกน (Paganism มาจากภาษาPaganus แปลว่า “ผู้ที่อยู่ในชนบท”) เป็นคำที่มีความหมายกว้างที่ใช้บรรยายศาสนาหรือการปฏิบัติของหมู่ชนสมัยก่อนมีการนับถือคริสต์ศาสนาในยุโรป หรือถ้าขยายความขึ้นไปอีกก็จะหมายถึงผู้ที่มีธรรมเนียมการนับถือพระเจ้าหลายองค์ (polytheistic) หรือศาสนาพื้นบ้าน (folk religion) โดยทั่วไปในโลกจากมุมมองของผู้ที่นับถือคริสต์ศาสนาในโลกตะวันตก คำนี้มีความหมายหลายอย่างแต่จากทัศนคติตะวันตกในนัยยะของความหมายในปัจจุบันหมายถึงความศรัทธาที่เป็นพหุเทวนิยมของผู้ที่ปฏิบัติตามแบบเจตนิยม (spiritualism) วิญญาณนิยม (animism) หรือลัทธิเชมัน เช่นในศาสนาพื้นบ้าน ในลัทธิการนับถือพระเจ้าหลายองค์ หรือในลัทธินอกศาสนาใหม่ คำว่า “ลัทธินอกศาสนา” ได้รับการตีความหมายอย่างกว้างที่รวมถึงศาสนาทุกศาสนาที่อยู่นอกกลุ่มศาสนาอับราฮัมของผู้นับถือลัทธิเอกเทวนิยม (monotheism) ที่รวมทั้งศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม กลุ่มที่ว่านี้รวมทั้งศาสนาตะวันออก (Eastern religions) ปรัมปราวิทยาอเมริกันพื้นเมือง (Native American mythology) และศาสนาพื้นบ้านโดยทั่วไปที่ไม่ใช่คริสต์ศาสนา ในความหมายที่แคบลง "ลัทธินอกศาสนา" จะไม่รวมศาสนาของโลก (world religions) ที่เป็นศาสนาที่เป็นที่ยอมรับกันอย่างเป็นทางการแต่จะจำกัดอยู่ในศาสนาท้องถิ่นที่ยังไม่ได้จัดอยู่ในระบบศาสนาของโลก ลักษณะการปฏิบัติของลัทธิเพกันคือความขาดสาวก (proselytism) และการความนิยมในการนับถือปรัมปราวิทยาต่าง ๆ (mythology) คำว่า “ลัทธินอกศาสนา” เป็นคำที่ผู้นับถือคริสต์ศาสนานำมาใช้สำหรับ “เจนไทล์” (gentile) ของศาสนายูดาห์หรือชาวยิว ที่เป็นการใช้คำที่ออกไปทางเหยียดหยามโดยหมู่ผู้นับถือลัทธิเอกเทวนิยมของโลกตะวันตก เทียบเท่ากับการใช้คำว่า “heathen” (ฮีทเธน) หรือ “อินฟิเดล” (infidel) หรือ “กาฟิร” (kafir หรือ كافر) และ “มุชริก” (mushrik หรือ مشرك ผู้เคารพรูปปั้น) ในการเรียกผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม ด้วยเหตุผลต่างๆ เหล่านี้นักชาติพันธุ์วิทยาจึงเลี่ยงใช้คำว่า "ลัทธินอกศาสนา" เพราะความหมายอันแตกต่างกันและไม่แน่นอน ในการกล่าวถึงความศรัทธาตามที่มีกันมาหรือในประวัติศาสตร์ และมักจะใช้คำที่มีความหมายเฉพาะเจาะจงมากกว่า เช่น เจตนิยม, วิญญาณนิยม, ลัทธิชามัน หรือสรรพเทวนิยม (pantheism) แต่ก็มีผู้วิจารณ์การใช้คำเหล่านี้ที่อ้างว่าเป็นคำที่ให้ความหมายของศรัทธาในมุมมองหนึ่งและมิได้กล่าวถึงตัวความเชื่อของศาสนาที่กล่าว ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำว่า "ลัทธินอกศาสนา" ก็กลายมาเป็นที่นิยมใช้กันสำหรับผู้นับถือลัทธินอกศาสนาใหม่ ฉะนั้นนักวิชาการหลายแขนงในปัจจุบันจึงต้องใช้คำนี้ในความหมายที่แบ่งเป็นสามกลุ่ม: พหุเทวนิยมในประวัติศาสตร์ (เช่นลัทธินอกศาสนาเซลต์ (Celtic paganism) หรือลัทธินอกศาสนานอร์ส (Norse paganism)), ศาสนาพื้นบ้าน/ศาสนาเผ่าพันธุ์/ศาสนาท้องถิ่น (เช่น ศาสนาพื้นบ้านของชาวจีนหรือ ศาสนาพื้นบ้านของชาวแอฟริกา) และลัทธินอกศาสนาใหม่ (เช่นวิคคา (Wicca) และ ลัทธินอกศาสนาใหม่เยอรมัน (Germanic Neopaganism)).

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและลัทธินอกศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

วิซายัส

หมู่เกาะวิซายัส‎ (Visayas, Visayan Islands; วิซายัส: Kabisay-an; Kabisayaan) เป็นหนึ่งในสามหมู่เกาะหลักของประเทศฟิลิปปินส์ ร่วมกับลูซอนและมินดาเนา ประกอบด้วยเกาะหลายแห่ง ซึ่งล้อมรอบด้วยทะเลวิซายัส แต่หมู่เกาะเหล่านั้นก็ถูกจัดให้อยู่ในพื้นที่ริมตะวันออกเฉียงเหนือของทะเลซูลู ประชากรหลัก ๆ คือชาววิซายัส เกาะหลักที่สำคัญ เช่น โบโฮล, เซบู, เลย์เต, เนโกรส, ปาไนย์ และซามาร์ ภูมิภาคนี้อาจรวมพื้นที่จังหวัดมัสบาเต, จังหวัดรอมบลอน และจังหวัดปาลาวันเข้าไปด้วย เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่เป็นชาววิซายัส และใกล้ชิดกับภาษาวิซายัสมากกว่าภาษาหลักของเกาะลูซอน ในหมู่เกาะวิซายัสมีเขตการปกครองหลัก 3 เขต ได้แก่ คันลูรังคาบีซายาอัน (ประชากร 7.1 ล้านคน), กิตนางคาบีซายาอัน (6.8 ล้านคน) และซีลางังคาบีซายาอัน (4.1 ล้านคน).

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและวิซายัส · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A. The fundamental Christian faith: the origin, history and interpretation of the Apostles' and Nicene creeds. C. Scribner's sons, 1913.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาซิกข์

ัญลักษณ์ของศาสนาซิกข์ที่ใช้ในปัจจุบัน ศาสนาซิกข์ หรือ ศาสนาสิกข์ (ਸਿੱਖੀ, สัท.:, Sikhism) เป็นศาสนาที่ถือกำเนิดขึ้นในราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในตอนเหนือของอินเดีย จากคำสอนของ นานัก และคุรุผู้สืบทอดอีก 9 องค์ หลักปรัชญาของศาสนาซิกข์และการปฏิบัติตามหลักศาสนา นิยมเรียกว่า "คุรมัต" (ความหมายโดยพยัญชนะ หมายถึง "คำสอนของคุรุ" หรือ "ธรรมของซิกข์") คำว่า "ซิกข์" หรือ "สิกข์" มาจากภาษาสันสกฤตว่า "ศิษฺย" หมายถึง ศิษย์ ผู้เรียน หรือ "ศิกฺษ" หมายถึง การเรียน และภาษาบาลีว่า "สิกฺข" หรือ "สิกฺขา" หมายถึง การศึกษา ผู้ศึกษา หรือผู้ใฝ่เรียนรู้ ศาสนาซิกข์ เป็นศาสนาแบบเอกเทวนิยม เนื่องจากหลักความเชื่อของศาสนาซิกข์ คือ ศรัทธาในพระเจ้าองค์เดียว คือ "วาหคุรู" ปฏิบัติสมาธิในนามของพระเจ้า และโองการของพระเจ้า ศาสนิกชาวซิกข์จะนับถือหลักคำสอนของคุรุซิกข์ทั้ง 10 หรือผู้นำผู้รู้แจ้ง และคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ ที่เรียกว่า "คุรุ ครันถ์ สาหิพ" ซึ่งเป็นบทคัดสรรจากผู้เขียนมากมาย จากภูมิหลังทางศาสนา และเศรษฐกิจสังคมที่หลากหลาย คัมภีร์ของศาสนาเป็นบัญญัติของคุรุ โคพินท์ สิงห์ คุรุองค์สุดท้ายแห่งขาลสา ปันถ (Khalsa Panth) การสอนและหลักปฏิบัติของศาสนาซิกข์มีความเกี่ยวพันกับประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรมของภูมิภาคปัญจาบในลักษณะต่างๆ กัน ชาวซิกข์ทุกคนต้องทำพิธี "ปาหุล" คือพิธีล้างบาป เมื่อเสร็จพิธีแล้วก็จะรับเอา "กะ" คือสิ่งที่เริ่มต้นด้วยอักษร "ก" 5 ประการ ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและศาสนาซิกข์ · ดูเพิ่มเติม »

อเทวนิยม

หมายเปาโลถึงชาวเอเฟซัส (2:12) จากพาไพรัส 46ในศตวรรษที่ 3 ตอนต้น อเทวนิยม (atheism) คือ ทรรศนะที่ไม่เชื่อว่ามีพระเป็นเจ้า และเชื่อในกฎธรรมชาติ ตรงกันข้ามกับเทวนิยมEncyclopædia Britannica 2009 อเทวนิยมแตกต่างจากอไญยนิยม (agnosticism) ซึ่งเป็นมุมมองที่ว่ามนุษย์ไม่อาจพิสูจน์ได้ว่าพระเจ้ามีจริงหรือไม่ รวมถึงปรากฏการณ์ที่ไม่อาจรับรู้ได้ด้วยประสบการณ์ทางผัสสะ คำว่า atheism ในภาษาอังกฤษ มาจากภาษากรีก ἄθεος (atheos) อันมีความหมายว่า "ปราศจากเทพ" ถือเป็นคำหยาบที่ใช้เรียกผู้ปฏิเสธเทพที่สังคมบูชากัน หลังจากที่มีความคิดอย่างอิสระ (freethought) ความสงสัยทางวิทยาศาสตร์ (skeptical inquiry) และการวิจารณ์ศาสนา (criticism of religion) เพิ่มขึ้นแล้ว การใช้คำนี้ก็มีความหมายอย่างแคบลง บุคคลกลุ่มแรกที่เริ่มถือว่าตนเป็นผู้ที่ไม่เชื่อเรื่องพระเทพ โดยเรียกตนเองว่า "ผู้ถืออเทวนิยม" (atheist) นั้น ใช้ชีวิตอยู่ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 เนื่องจากเหตุที่ว่า ความหมายและความเข้าใจของอเทวนิยมนั้น มีความแตกต่างกัน ในปัจจุบันจึงทราบได้ยากว่าในโลกมีผู้ถืออเทวนิยมกี่คน อิงตามการคาดคะเนในปี..

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและอเทวนิยม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบาตังกัส

ังหวัดบาตังกัส (Lalawigan ng Batangas) เป็นจังหวัดในเขตคาลาบาร์โซน ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลักชื่อเดียวกันกับชื่อจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดคาบีเต และลากูนา ทางทิศเหนือ และติดกับจังหวัดเคโซนทางทิศตะวันออก จังหวัดบาตังกัสติดกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก และมีเกาะมินโดโรอยู่ทางทิศใต้ บาตังกัสตั้งอยู่ใกล้กับเมโทรมะนิลา และมีแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ได้แก่ ภูเขาไฟตาอัล และเมืองมรดกตาอัล นอกจากนี้ยังชายหาดและจุดดำน้ำหลายแห่ง ได้แก่ อะนิเลา, เกาะซอมเบรโร, เกาะลิกโป, หาดซัมปากีตา, มาตาบุงไกย์, ปุนตาฟือโก, กาลาตากัน และไลย์ยา บาตังกัสซิตี มีท่าเรือทะเลที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของประเทศ และมีการพัฒนาทางอุตสาหกรรมอย่างก้าวกระโดดในตัวเมือง.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและจังหวัดบาตังกัส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดรีซัล

ังหวัดรีซัล (Lalawigan ng Rizal) เป็นจังหวัดในเขตคาลาบาร์โซน ประเทศฟิลิปปินส์ อยู่ห่างจากมะนิลาไปทางทิศตะวันออก ชื่อจังหวัดตั้งชื่อตามโฮเซ รีซัล หนึ่งในวีรบุรุษแห่งฟิลิปปินส์ จังหวัดรีซัลมีอาณาเขตติดต่อกับเมโทรมะนิลาทางทิศตะวันตก, จังหวัดบูลาคันทางทิศเหนือ, จังหวัดเคโซนทางทิศตะวันออก และจังหวัดลากูนาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ จังหวัดตั้งอยู่บนชายฝั่งตอนเหนือของลากูนาเดอเบย์ ซึ่งเป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ และตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเทือกเขาเซียร์รามาเดร ศาลากลางจังหวัดอยู่ที่เมืองแอนติโปโล ในขณะที่ปาซิกเป็นเมืองหลักอย่างเป็นทางการ แม้ว่าปาซิกจะอยู่ในเขตเมโทรมะนิลา ซึ่งอยู่นอกเขตควบคุมของจังหวัดรีซัลก็ตาม.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและจังหวัดรีซัล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตีโมกดาเบา

ังหวัดตีโมกดาเบา (เซบัวโน: Habagatang Dabaw) เป็นจังหวัดในเขตดาเบา ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองศูนย์กลางและเมืองใหญ่สุดคือดีโกส มีอาณาเขตติดกับนครอิสระดาเบาทางทิศเหนือ ติดกับจังหวัดคันลูรังดาเบาทางทิศใต้ ติดกับจังหวัดโคตาบาโต‎ ซุลตันคูดารัต ตีโมกโคตาบาโต และซารังกานีทางทิศตะวันตก ส่วนทางทิศตะวันออกติดกับอ่าวดาเบา ภูมิประเทศของจังหวัดประกอบด้วยหาดทราย เกาะ ทุ่งเกษตรกรรม ภูเขา หุบเขา ป่า และแม่น้ำลำธาร โดยภูเขาที่สูงที่สุดในจังหวัดคือภูเขาอาโป ซึ่งสูง 2,954 เมตรจากระดับน้ำทะเล.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและจังหวัดตีโมกดาเบา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตีโมกซัมบวงกา

ังหวัดตีโมกซัมบวงกา (Chavacano: Provincia de Zamboanga del Sur; เซบัวโน: Probinsya sa Zamboanga del Sur; Subanen: S'helatan Sembwangan/Sembwangan dapit Shelatan; Iranun: Pagabagatan a Diambangan) เป็นจังหวัดในเขตตังไวนางซัมบวงกา เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองศูนย์กลางคือปากาดีอัน ส่วนซัมบวงกาซิตีถือเป็นเมืองอิสระที่ปกครองแยกจากตัวจังหวัด ตีโมกซัมบวงกามีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฮีลากังซัมบวงกาทางทิศเหนือ ติดกับจังหวัดซัมบวงกาซีบูไกทางทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดคันลูรังมีซามิสทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับจังหวัดฮีลากังลาเนาทางทิศตะวันออก และติดกับอ่าวโมโรทางทิศใต้.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและจังหวัดตีโมกซัมบวงกา · ดูเพิ่มเติม »

ดาเบา

นครดาเบา (เซบัวโน: Dakbayan sa Dabaw; Lungsod ng Dabaw) เป็นเมืองในมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ศูนย์กลางของเมืองเรียกว่าเมโทรดาเบา, ดาเบาเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดอันดับสอง และเขตเมืองของดาเบาหรือเมโทรดาเบา เป็นเขตเมืองที่ประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสาม ของประเทศ เมืองที่ทำหน้าที่เป็นค้าการพาณิชย์และอุตสาหกรรมเป็นศูนย์กลางในมินดาเนาและศูนย์ภูมิภาคสำหรับเขตดาเบา เมืองดาเบาเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศฟิลิปปินส์ดูจากขนาดของพื้นที.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและดาเบา · ดูเพิ่มเติม »

ซังกูเนียงปันลาลาวีกัน

ซังกูเนียงปันลาลาวีกัน (Sangguniang Panlalawigan; Provincial Council) หรือ โปรวินเชียลบอร์ด เป็นคำภาษาฟิลิปีโนที่ใช้เรียกแทนสภานิติบัญญัติประจำจังหวัดของประเทศฟิลิปปินส์ อำนาจหน้าที่ของสภานิติบัญญัตินี้ ถูกกำหนดโดย ประมวลรัฐบาลท้องถิ่น ตั้งแต..

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและซังกูเนียงปันลาลาวีกัน · ดูเพิ่มเติม »

ซันดากัน

ซันดากัน (Sandakan, سنداکن) มีชื่อเดิมว่า เอโลปูรา (Elopura) เป็นเมืองขนาดใหญ่เมืองหนึ่งของรัฐซาบะฮ์ ประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว อดีตที่นี่เคยเป็นเมืองหลวงของนอร์ทบอร์เนียวก่อนหน้าโกตากีนาบาลู ประชากรส่วนใหญ่ในซันดากันเป็นชนเชื้อสายจีนกวางตุ้งซึ่งมีบรรพบุรุษอพยพมาจากฮ่องกง และในเมืองเองก็ยังนิยมใช้ภาษากวางตุ้งจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้ซันดากันจึงมีชื่อเล่นว่า "ฮ่องกงน้อย".

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและซันดากัน · ดูเพิ่มเติม »

ซาราโกซา

แม่น้ำเอโบรขณะไหลผ่านเมืองซาราโกซา ซาราโกซา (Zaragoza) เป็นเมืองหลักของจังหวัดซาราโกซาและแคว้นอารากอน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสเปน ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเอโบรและแควสาขาอูเอร์บาและกาเยโก ในหุบเขาตอนกลางของแคว้นซึ่งมีภูมิทัศน์ที่หลากหลาย ตั้งแต่ทะเลทราย ("โลสโมเนโกรส") ป่าหนาทึบ ทุ่งหญ้า ไปจนถึงทิวเขา ข้อมูลในปี ค.ศ. 2007 จากสภาเมืองซาราโกซา เมืองนี้มีประชากร 667,034 คนมากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของประเทศ และมากกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนประชากรทั้งแคว้น ซาราโกซาตั้งอยู่ที่ความสูง 199 เมตรจากระดับน้ำทะเล และเป็นจุดตัดระหว่างเส้นทางที่จะไปยังมาดริด บาร์เซโลนา บาเลนเซีย บิลบาโอ และตูลูซ (ประเทศฝรั่งเศส) โดยเมืองทั้งหมดนี้ตั้งอยู่ห่างจากซาราโกซาประมาณ 300 กิโลเมตร บริเวณเมืองนี้เคยเป็นหมู่บ้านที่มีชื่อว่า ซัลดูบา (Salduba) เป็นชื่อในภาษาพิวนิกของกองทัพคาร์เทจซึ่งตั้งอยู่บนซากหมู่บ้านชาวเคลติเบเรียนเดิม จนกระทั่งในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1 เมื่อกองทัพโรมันได้เข้ารุกรานคาบสมุทรไอบีเรีย บริเวณนี้จึงตกอยู่ในการดูแลของกองรักษาด่านซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยจักรพรรดิออกุสตุส และกลายเป็นเมืองที่มีชื่อว่า ไกซาเรากุสตา (Caesaraugusta) มีฐานะเป็นเมืองหลวงของจังหวัดฮิสปาเนียซีเตรีออร์ ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 7 ชาวอาหรับได้เข้ายึดเมืองนี้และตั้งชื่อใหม่ว่า ซารากุสตา (Saraqusta; سرقسطة) ซึ่งภายหลังได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรกาหลิบแห่งกอร์โดบา (ราชวงศ์อุไมยัด) และเจริญรุ่งเรืองขึ้นเป็นเมืองอาหรับที่ใหญ่ที่สุดทางภาคเหนือของคาบสมุทร จากนั้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11 ซาราโกซาเป็นหนึ่งในกลุ่มราชอาณาจักรไตฟา (รัฐมุสลิมหลายสิบรัฐที่แตกออกมาหลังการล่มสลายของอาณาจักรกอร์โดบา) และถูกชาวอาหรับอีกกลุ่มจากจักรวรรดิอัลโมราวิดเข้าครอบครอง ในที่สุดเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 12 ชาวอารากอน (นับถือศาสนาคริสต์) ก็สามารถยึดเมืองนี้ได้จากพวกอัลโมราวิดและได้ตั้งเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรอารากอน ซึ่งเป็นหนึ่งในดินแดนต่าง ๆ บนคาบสมุทรไอบีเรียที่จะพัฒนาเป็นราชอาณาจักรสเปนในเวลาต่อม.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและซาราโกซา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์บัส เอ330

แอร์บัส เอ 330 (Airbus A330) เป็นอากาศยานลำตัวกว้าง ผลิตโดยแอร์บัส มีความจุมาก เป็นอากาศยานที่มีพิสัยบินระยะปานกลางถึงระยะไกล โครงสร้างของ แอร์บัส 330 ใช้เทคโนโลยีใหม่ล่าสุดในการออกแบบโครงสร้าง ใช้วัสดุผสมยุคใหม่และอัลลอยด์ที่มีความแข็งแรงและน้ำหนักเบาเป็นพิเศษมาประกอบเป็นตัวโครงสร้างและพื้นผิว ซึ่งสามารถลดน้ำหนักของตัวเครื่องลงได้มาก ลดค่าบำรุงรักษาและยังประหยัดน้ำมัน การออกแบบปีกที่มีประสิทธิภาพสูง ทำให้ได้สมรรถนะที่ดีทั้งขณะที่บินขึ้นและร่อนลงจอด และยังทำความเร็วได้เหมาะสมกับอัตตราบรรทุกและประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและแอร์บัส เอ330 · ดูเพิ่มเติม »

แท็กซี่

รถแท็กซี่ในซานฟรานซิสโก แท็กซี่ เป็นการโดยสารสาธารณะประเภทหนึ่งสำหรับผู้โดยสารคนเดียว หรือกลุ่มเล็ก ๆ รถแท็กซี่เป็นยานพาหนะไว้สำหรับว่าจ้างโดยผู้ขับจะส่งผู้โดยสารระหว่างที่หนึ่งไปยังที่หนึ่งตามที่ผู้โดยสารอยากจะไป แท็กซี่ เป็นคำย่อมาจาก แท็กซี่ แค็บ คิดค้นโดยแฮร์รี่ เอ็น อัลเลน นักธุรกิจชาวนิวยอร์กที่นำเข้ารถแท็กซี่มาจากฝรั่งเศส โดยย่อมาจากคำว่า แท็กซี่มิเตอร์ แค็บ อีกที ส่วนคำว่า cab มาจากคำว่า cabriolet คือรถม้าลากจูง และคำว่า taxi เป็นรากศัพท์ภาษาละตินในยุคกลาง ซึ่งมาจาก คำว่า taxa ที่หมายถึง ภาษีหรือการคิดเงิน และคำว่า meter มาจากภาษากรีกคำว่า metron แปลว่า วัดระยะทาง.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและแท็กซี่ · ดูเพิ่มเติม »

โบอิง 747

อิง 747 ลำแรก ''ซิตีออฟเอเวอร์เร็ตต์'' ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์การบิน ในเมืองเอเวอร์เร็ตต์, รัฐวอชิงตัน โบอิง 747-100 ของนอร์ทเวสต์ แอร์ไลน์ โบอิง 747-200 ของแอร์ฟรานซ์ โบอิง 747-300 ของสายการบินปากีสถานอินเตอร์เนชันเนลแอร์ไลน์ โบอิง 747-400 ของการบินไทย 747-8 ของลุฟต์ฮันซา โบอิง 747 (Boeing 747) เป็นอดีตเครื่องบินโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก ก่อนที่แอร์บัส เอ 380 จะแล้วเสร็จ โบอิง 747 ไม่มีเครื่องต้นแบบ บินเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนเมษายน ปี ค.ศ. 1966 สายการบินแพนแอมเป็นสายการบินแรกในเส้นทางนิวยอร์ก-ลอนดอน เมื่อวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 1970อภิวัตน์ โควินทรานนท์,อากาศยาน1979ฉบับเครื่องบิน,เอวิเอชั่น ออบเซิร์ฟเวอร์,กรุงเทพ,2522.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและโบอิง 747 · ดูเพิ่มเติม »

เมโทรมะนิลา

มหานครมะนิลาRepublic of the Philippines.

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและเมโทรมะนิลา · ดูเพิ่มเติม »

เขตตังไวนางซัมบวงกา

ตตังไวนางซัมบวงกา‎ (ชาบากาโน: Peninsula de Zamboanga; เซบัวโน: Lawis sa Zamboanga; Tangway ng Zamboanga) หรือ เขตที่ 9 เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ประกอบด้วย 3 จังหวัดและ 2 นคร ได้แก่ อีซาเบลาและซัมบวงกาซิตี ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดบาซีลันและได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนครที่มีประชากรอย่างสูงในเวลาต่อมา ชื่อเดิมของเขตนี้คือ เวสเทิร์นมินดาเนา ก่อนมีการประกาศเปลี่ยนแปลง ใช้เมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: ซัมบวงกาซิตีและเขตตังไวนางซัมบวงกา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Zamboanga City

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »