สารบัญ
47 ความสัมพันธ์: ฟังก์ชัน (คณิตศาสตร์)ฟังก์ชันอีตาของดิริชเลต์ฟังก์ชันซีตาของรีมันน์ฟิสิกส์พ.ศ. 2292พ.ศ. 2425พ.ศ. 2426พ.ศ. 2430พ.ศ. 2433พ.ศ. 2434พ.ศ. 2469ภาวะคู่หรือคี่ (คณิตศาสตร์)มัชฌิมเลขคณิตลิมิตของฟังก์ชันสมการเชิงฟังก์ชันออทโท เฮิลเดอร์อนุพันธ์อนุกรมอนุกรมลู่ออกอนุกรมสลับอนุกรมแกรนดีอนุกรมเรขาคณิตผลรวมผลรวมว่างผลรวมเซซาโรผลคูณโคชีจำนวนสามเหลี่ยมจำนวนจริงจำนวนธรรมชาติจำนวนทรงสี่หน้าจำนวนแบร์นูลลีจำนวนเต็มทฤษฎีบทค่าเฉลี่ยคริสต์ศตวรรษที่ 18คณิตศาสตร์ค่าสัมบูรณ์ปฏิทรรศน์ปัญหาบาเซิลนีลส์ เฮนริก อาเบลแอร์เนสโต เชซะโรแคลคูลัสเลออนฮาร์ด ออยเลอร์เอมีล บอแรลเออแฌน ชาร์ล กาตาล็องเซตนับได้01 + 2 + 3 + 4 + ⋯
- ปฏิทรรศน์ทางคณิตศาสตร์
- อนุกรม
ฟังก์ชัน (คณิตศาสตร์)
ในคณิตศาสตร์ ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ จากเซตหนึ่งที่เรียกว่าโดเมน ไปยังอีกเซตหนึ่งที่เรียกว่าโคโดเมน (บางครั้งคำว่าเรนจ์อาจถูกใช้แทน แต่เรนจ์นั้นมีความหมายอื่นด้วย "โคโดเมน" จึงเป็นที่นิยมมากกว่า เพราะไม่กำกวม) โดยที่สมาชิกตัวหน้าไม่ซ้ำกัน ความคิดรวบยอดของฟังก์ชันนี้เป็นพื้นฐานของทุกสาขาของคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เชิงปริมาณ.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และฟังก์ชัน (คณิตศาสตร์)
ฟังก์ชันอีตาของดิริชเลต์
ในทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันอีตาของดิริชเลต์ นิยามโดย เมื่อ ζ เป็นฟังก์ชันซีตาของรีมันน์ อ.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และฟังก์ชันอีตาของดิริชเลต์
ฟังก์ชันซีตาของรีมันน์
ฟังก์ชันซีตาของรีมันน์สำหรับจำนวนจริง ''s'' > 1 ในทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันซีตาของรีมันน์ (Riemann zeta function) เป็นฟังก์ชันที่นิยามโดย \zeta(s).
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และฟังก์ชันซีตาของรีมันน์
ฟิสิกส์
แสงเหนือแสงใต้ (Aurora Borealis) เหนือทะเลสาบแบร์ ใน อะแลสกา สหรัฐอเมริกา แสดงการแผ่รังสีของอนุภาคที่มีประจุ และ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง ขณะเดินทางผ่านสนามแม่เหล็กโลก ฟิสิกส์ (Physics, φυσικός, "เป็นธรรมชาติ" และ φύσις, "ธรรมชาติ") เป็นวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับ สสาร และ พลังงาน ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสสารกับพลังงาน รวมทั้งเป็นความรู้พื้นฐานที่นำไปใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิต และเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่มนุษย์ ตัวอย่างเช่น การนำความรู้พื้นฐานทางด้านแม่เหล็กไฟฟ้า ไปใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ (โทรทัศน์ วิทยุ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ ฯลฯ) อย่างแพร่หลาย หรือ การนำความรู้ทางอุณหพลศาสตร์ไปใช้ในการพัฒนาเครื่องจักรกลและยานพาหนะ ยิ่งไปกว่านั้นความรู้ทางฟิสิกส์บางอย่างอาจนำไปสู่การสร้างเครื่องมือใหม่ที่ใช้ในวิทยาศาสตร์สาขาอื่น เช่น การนำความรู้เรื่องกลศาสตร์ควอนตัม ไปใช้ในการพัฒนากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่ใช้ในชีววิทยา เป็นต้น นักฟิสิกส์ศึกษาธรรมชาติ ตั้งแต่สิ่งที่เล็กมาก เช่น อะตอม และ อนุภาคย่อย ไปจนถึงสิ่งที่มีขนาดใหญ่มหาศาล เช่น จักรวาล จึงกล่าวได้ว่า ฟิสิกส์ คือ ปรัชญาธรรมชาติเลยทีเดียว ในบางครั้ง ฟิสิกส์ ถูกกล่าวว่าเป็น แก่นแท้ของวิทยาศาสตร์ (fundamental science) เนื่องจากสาขาอื่น ๆ ของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เช่น ชีววิทยา หรือ เคมี ต่างก็มองได้ว่าเป็น ระบบของวัตถุต่าง ๆ หลายชนิดที่เชื่อมโยงกัน โดยที่เราสามารถสามารถอธิบายและทำนายพฤติกรรมของระบบดังกล่าวได้ด้วยกฎต่าง ๆ ทางฟิสิกส์ ยกตัวอย่างเช่น คุณสมบัติของสารเคมีต่าง ๆ สามารถพิจารณาได้จากคุณสมบัติของโมเลกุลที่ประกอบเป็นสารเคมีนั้น ๆ โดยคุณสมบัติของโมเลกุลดังกล่าว สามารถอธิบายและทำนายได้อย่างแม่นยำ โดยใช้ความรู้ฟิสิกส์สาขาต่าง ๆ เช่น กลศาสตร์ควอนตัม, อุณหพลศาสตร์ หรือ ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นต้น ในปัจจุบัน วิชาฟิสิกส์เป็นวิชาที่มีขอบเขตกว้างขวางและได้รับการพัฒนามาแล้วอย่างมาก งานวิจัยทางฟิสิกส์มักจะถูกแบ่งเป็นสาขาย่อย ๆ หลายสาขา เช่น ฟิสิกส์ของสสารควบแน่น ฟิสิกส์อนุภาค ฟิสิกส์อะตอม-โมเลกุล-และทัศนศาสตร์ ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์พลศาสตร์ที่ไม่เป็นเชิงเส้น-และเคออส และ ฟิสิกส์ของไหล (สาขาย่อยฟิสิกส์พลาสมาสำหรับงานวิจัยฟิวชั่น) นอกจากนี้ยังอาจแบ่งการทำงานของนักฟิสิกส์ออกได้อีกสองทาง คือ นักฟิสิกส์ที่ทำงานด้านทฤษฎี และนักฟิสิกส์ที่ทำงานทางด้านการทดลอง โดยที่งานของนักฟิสิกส์ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาทฤษฎีใหม่ แก้ไขทฤษฎีเดิม หรืออธิบายการทดลองใหม่ ๆ ในขณะที่ งานการทดลองนั้นเกี่ยวข้องกับการทดสอบทฤษฎีที่นักฟิสิกส์ทฤษฎีสร้างขึ้น การตรวจทดสอบการทดลองที่เคยมีผู้ทดลองไว้ หรือแม้แต่ การพัฒนาการทดลองเพื่อหาสภาพทางกายภาพใหม่ ๆ ทั้งนี้ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ภาคปฏิบัติ ขึ้นอยู่กับขีดจำกัดของการสังเกต และประสิทธิภาพของเครื่องมือวัด ถ้าเทคโนโลยีของเครื่องมือวัดพัฒนามากขึ้น ข้อมูลที่ได้จะมีความละเอียดและถูกต้องมากขึ้น ทำให้ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ยิ่งขยายออกไป ข้อมูลที่ได้ใหม่ อาจไม่สอดคล้องกับสิ่งที่ทฤษฎีและกฎที่มีอยู่เดิมทำนายไว้ ทำให้ต้องสร้างทฤษฏีใหม่ขึ้นมาเพื่อทำให้ความสามารถในการทำนายมีมากขึ้น.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และฟิสิกส์
พ.ศ. 2292
ทธศักราช 2292 ใกล้เคียงกั.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และพ.ศ. 2292
พ.ศ. 2425
ทธศักราช 2425 ตรงกั.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และพ.ศ. 2425
พ.ศ. 2426
ทธศักราช 2426 ตรงกั.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และพ.ศ. 2426
พ.ศ. 2430
ทธศักราช 2430 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1887 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และพ.ศ. 2430
พ.ศ. 2433
ทธศักราช 2433 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1890 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และพ.ศ. 2433
พ.ศ. 2434
ทธศักราช 2434 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1891 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และพ.ศ. 2434
พ.ศ. 2469
ทธศักราช 2469 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1926 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และพ.ศ. 2469
ภาวะคู่หรือคี่ (คณิตศาสตร์)
ในทางคณิตศาสตร์ จำนวนเต็มใด ๆ จะเป็นจำนวนคู่หรือจำนวนคี่อย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าจำนวนนั้นเป็นพหุคูณของ 2 มันจะเป็นจำนวนคู่ มิฉะนั้น มันจะเป็นจำนวนคี่ ตัวอย่างของจำนวนคู่ เช่น -4, 8, 0 และ 70 ตัวอย่างของจำนวนคี่ เช่น -5, 1 และ 71 เลข 0 เป็นจำนวนคู่ เพราะ 0.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และภาวะคู่หรือคี่ (คณิตศาสตร์)
มัชฌิมเลขคณิต
ในทางคณิตศาสตร์และสถิติศาสตร์ มัชฌิมเลขคณิต (อาจเรียกเพียง มัชฌิม หรือ ค่าเฉลี่ย) ของรายการของจำนวน คือผลบวกของสมาชิกทุกจำนวน หารด้วยจำนวนสมาชิกในรายการนั้น ถ้ารายการของจำนวนเกี่ยวข้องกับประชากรทางสถิติจะเรียกว่า ค่าเฉลี่ยประชากร และถ้าเกี่ยวข้องกับตัวอย่างทางสถิติจะเรียกว่า ค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง และเมื่อมัชฌิมเลขคณิตมีค่าประมาณไม่เท่ากับมัธยฐาน ดังนั้นรายการของจำนวน หรือการแจกแจงความถี่ จะเรียกว่ามีความเบ้ (skewness) ของข้อมูล.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และมัชฌิมเลขคณิต
ลิมิตของฟังก์ชัน
ในวิชาคณิตศาสตร์ ลิมิตของฟังก์ชัน เป็นแนวคิดพื้นฐานของ คณิตวิเคราะห์ (ภาคทฤษฎีของแคลคูลัส) ถ้าเราพูดว่า ฟังก์ชัน f มีลิมิต L ที่จุด p หมายความว่า ผลลัพธ์ของ f จะเข้าใกล้ L ที่จุดใกล้จุด p สำหรับนิยามอย่างเป็นทางการนั้น มีการกำหนดขึ้นครั้งแรก ช่วงปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีรายละเอียดอยู่ข้างล่าง ดูที่ ข่ายลำดับ (topology) สำหรับนัยทั่วไปของแนวคิดของลิมิต.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และลิมิตของฟังก์ชัน
สมการเชิงฟังก์ชัน
ในทางคณิตศาสตร์ สมการเชิงฟังก์ชัน เป็นสมการที่มีตัวแปรเป็นฟังก์ชัน.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และสมการเชิงฟังก์ชัน
ออทโท เฮิลเดอร์
ออทโท ลุดวิก เฮิลเดอร์ (Otto Ludwig Hölder, 22 ธันวาคม พ.ศ. 2402 – 29 สิงหาคม พ.ศ. 2480) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน หมวดหมู่:บุคคลจากชตุทท์การ์ท.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และออทโท เฮิลเดอร์
อนุพันธ์
กราฟของฟังก์ชันแสดงด้วยเส้นสีดำ และเส้นสัมผัสแสดงด้วยเส้นสีแดง ความชันของเส้นสัมผัสมีค่าเท่ากับอนุพันธ์ของฟังก์ชันที่จุดสีแดง ในวิชาคณิตศาสตร์ อนุพันธ์ของฟังก์ชันของตัวแปรจริงเป็นการวัดการเปลี่ยนแปลงของค่าของฟังก์ชันเทียบกับการเปลี่ยนแปลงของอาร์กิวเมนต์ (ค่าที่ป้อนเข้าหรือตัวแปรต้น) อนุพันธ์เป็นเครื่องมือพื้นฐานของแคลคูลัส ตัวอย่างเช่น อนุพันธ์ของตำแหน่งของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่เทียบกับเวลา คือ ความเร็วของวัตถุนั้น ซึ่งเป็นการวัดว่าตำแหน่งของวัตถุมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเพียงใดเมื่อเวลาผ่านไป อนุพันธ์ของฟังก์ชันตัวแปรเดียวที่ตัวแปรต้นใด ๆ คือความชันของเส้นสัมผัสที่สัมผัสกับกราฟของฟังก์ชันที่จุดนั้น เส้นสัมผัสคือการประมาณเชิงเส้นของฟังก์ชันที่ดีที่สุดใกล้กับตัวแปรต้นนั้น ด้วยเหตุนี้ อนุพันธ์มักอธิบายได้ว่าเป็น "อัตราการเปลี่ยนแปลงขณะใดขณะหนึ่ง" ซึ่งก็คืออัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงขณะใดขณะหนึ่งของตัวแปรตามต่อตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ กระบวนการหาอนุพันธ์เรียกว่า การหาอนุพันธ์ (differentiation หรือ การดิฟเฟอเรนชิเอต) ส่วนกระบวนการที่กลับกันเรียกว่า การหาปฏิยานุพันธ์ (antidifferentiation) ทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสกล่าวว่าการหาปฏิยานุพันธ์เหมือนกันกับการหาปริพันธ์ (integration หรือ การอินทิเกรต) การหาอนุพันธ์และการหาปริพันธ์เป็นตัวดำเนินการพื้นฐานในแคลคูลัสตัวแปรเดียว อนุพันธ์ของฟังก์ชันเป็นมโนทัศน์หนึ่งในสองมโนทัศน์หลักของแคลคูลัส (อีกมโนทัศน์หนึ่งคือปฏิยานุพันธ์ ซึ่งคือตัวผกผันของอนุพันธ์).
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และอนุพันธ์
อนุกรม
ในทางคณิตศาสตร์ อนุกรม คือผลจากการบวกสมาชิกทุกตัวของลำดับไม่จำกัดเข้าด้วยกัน หากกำหนดให้ลำดับของจำนวนเป็น \.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และอนุกรม
อนุกรมลู่ออก
ในทางคณิตศาสตร์ อนุกรมลู่ออก เป็นอนุกรมที่ไม่ลู่เข้า นั่นคือลำดับอนันต์ของผลบวกจำกัดพจน์ไม่สามารถหาลิมิตที่เป็นจำนวนจำกัดได้ หากอนุกรมหนึ่งลู่เข้า แต่ละพจน์ของอนุกรมจะต้องลู่เข้าสู่ศูนย์ ดังนั้นอนุกรมที่แต่ละพจน์ไม่ลู่เข้าสู่ศูนย์จะลู่ออกเสมอ อย่างไรก็ตาม บทกลับนั้นไม่เป็นจริง อนุกรมที่แต่ละพจน์ลู่เข้าสู่ศูนย์นั้นไม่จำเป็นต้องลู่เข้า ตัวอย่างค้านเช่น ลำดับฮาร์โมนิก.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และอนุกรมลู่ออก
อนุกรมสลับ
ในทางคณิตศาสตร์ อนุกรมสลับ คืออนุกรมอนันต์ที่อยู่ในรูป โดยที่ an > 0 สำหรับทุก n แต่ละพจน์ของอนุกรมจะมีเครื่องหมายบวกและลบสลับกัน เช่นเดียวกับอนุกรมอื่นๆ อนุกรมสลับจะลู่เข้าก็ต่อเมื่อลำดับของผลบวกจำกัดพจน์ลู่เข้.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และอนุกรมสลับ
อนุกรมแกรนดี
อนุกรมแกรนดี เป็นอนุกรมอนันต์ 1 − 1 + 1 − 1 + … หรือเขียนได้ในรูป อนุกรมนี้ตั้งชื่อตามชื่อของ กุอิโด แกรนดี นักคณิตศาสตร์ชาวอิตาลี อนุกรมนี้เป็นอนุกรมลู่ออก จึงไม่สามารถหาผลบวกได้ อย่างไรก็ตาม มีผู้สร้างข้อความขัดแย้งโดยพิสูจน์ว่าผลบวกของอนุกรมนี้เป็นจำนวนต่างๆได้ เช่น.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และอนุกรมแกรนดี
อนุกรมเรขาคณิต
ในทางคณิตศาสตร์ อนุกรมเรขาคณิต เป็นอนุกรมที่พจน์ต่างๆ ถูกสร้างขึ้นโดยการคูณพจน์ก่อนหน้าด้วยค่าคงตัวค่าหนึ่ง นั่นคือมาจากลำดับเรขาคณิต ตัวอย่างเช่น และโดยทั่วไป อนุกรมเรขาคณิต จะเป็นอนุกรมลู่เข้าก็ต่อเมื่อ |z| หมวดหมู่:ลำดับและอนุกรม หมวดหมู่:แคลคูลัส.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และอนุกรมเรขาคณิต
ผลรวม
ในทางคณิตศาสตร์ ผลรวม (summation) หมายถึงการบวกของเซตของจำนวน ซึ่งจะให้ผลลัพธ์เป็น ผลบวก (sum, total) จำนวนที่กล่าวถึงอาจเป็นจำนวนธรรมชาติ จำนวนเชิงซ้อน เมตริกซ์ หรือวัตถุอื่นที่ซับซ้อนกว่านั้น ผลรวมไม่จำกัดของลำดับเรียกว่าเป็นอนุกรม.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และผลรวม
ผลรวมว่าง
ผลรวมว่าง (empty sum, nullary sum) ในทางคณิตศาสตร์ หมายถึงผลของการบวกจำนวนที่ไม่มีอยู่ เช่นจากผลรวม (summation) เป็นต้น ค่าของผลรวมว่างจะเท่ากับศูนย์ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์การบวก ข้อเท็จจริงนี้มีประโยชน์ต่อการศึกษาวิยุตคณิตและพีชคณิตมูลฐาน ด้วยกรณีที่ว่า 0a.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และผลรวมว่าง
ผลรวมเซซาโร
ในทางคณิตวิเคราะห์ ผลรวมเซซาโร เป็นการกำหนดค่า "ผลรวม" บางค่าให้กับอนุกรมลู่ออก ซึ่งโดยปกติแล้วจะไม่สามารถหาผลรวมได้ ผลรวมเซซาโรได้นิยามโดยลิมิตของค่าเฉลี่ยเลขคณิตของผลบวกจำกัดพจน์ของอนุกรมนั้น ผลรวมเซซาโรตั้งชื่อตามชื่อของ เออร์เนสโต เซซาโร นักคณิตศาสตร์ชาวอิตาลี หมวดหมู่:อนุกรม.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และผลรวมเซซาโร
ผลคูณโคชี
ในคณิตศาสตร์เชิงวิเคราะห์ ผลคูณโคชี (Cauchy product) คือการคอนโวลูชันแบบไม่ต่อเนื่อง (หรือเรียกอย่างง่ายคือการคูณ) ของอนุกรมอนันต์สองอนุกรม ตั้งชื่อตามนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส โอกึสแต็ง ลวี โคชี.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และผลคูณโคชี
จำนวนสามเหลี่ยม
ำนวนสามเหลี่ยม 6 ตัวแรก จำนวนสามเหลี่ยม คือจำนวนของสิ่งของที่สามารถวางเรียงเป็นสามเหลี่ยมด้านเท่าได้ จำนวนสามเหลี่ยมตัวที่ n เกิดจากการสร้างสามเหลี่ยมด้านเท่าที่มีความยาวด้าน n ดังที่แสดงในแผนภาพด้านขวา ลำดับของจำนวนสามเหลี่ยม เริ่มจากตัวที่ 0 ได้แก่ จำนวนสามเหลี่ยมสามารถเขียนได้โดยสูตร T_n.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และจำนวนสามเหลี่ยม
จำนวนจริง
ำนวนจริง คือจำนวนที่สามารถจับคู่หนึ่งต่อหนึ่งกับจุดบนเส้นตรงที่มีความยาวไม่สิ้นสุด (เส้นจำนวน) ได้ คำว่า จำนวนจริง นั้นบัญญัติขึ้นเพื่อแยกเซตนี้ออกจากจำนวนจินตภาพ จำนวนจริงเป็นศูนย์กลางการศึกษาในสาขาคณิตวิเคราะห์จำนวนจริง (real analysis).
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และจำนวนจริง
จำนวนธรรมชาติ
ในทางคณิตศาสตร์ จำนวนธรรมชาติ อาจหมายถึง จำนวนเต็มบวก หรือ จำนวนนับ (1, 2, 3, 4,...) หรือ จำนวนเต็มไม่เป็นลบ (0, 1, 2, 3, 4,...) ความหมายแรกมีการใช้ในทฤษฎีจำนวน ส่วนแบบหลังได้ใช้งานใน ตรรกศาสตร์,เซตและวิทยาการคอมพิวเตอร์ ถุ จำนวนธรรมชาติมีการใช้งานหลักอยู่สองประการ กล่าวคือเราสามารถใช้จำนวนธรรมชาติในการนับ เช่น มีส้มอยู่ 3 ผลบนโต๊ะ หรือเราอาจใช้สำหรับการจัดอันดับ เช่น เมืองนี้เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ในประเทศ เป็นต้น คุณสมบัติของจำนวนธรรมชาติที่เกี่ยวกับการหารลงตัว เช่นการกระจายของจำนวนเฉพาะ เป็นเนื้อหาในทฤษฎีจำนวน ปัญหาที่เกี่ยวกับการนับ เช่น ทฤษฎีแรมซี นั้นถูกศึกษาในคณิตศาสตร์เชิงการจั.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และจำนวนธรรมชาติ
จำนวนทรงสี่หน้า
จำนวนทรงสี่หน้า คือจำนวนของสิ่งของที่สามารถวางเรียงเป็นทรงสี่หน้าด้านเท่าได้ จำนวนทรงสี่หน้าตัวที่ n เกิดจากผลรวมของจำนวนสามเหลี่ยม n ตัวแรก จำนวนทรงสี่หน้า 10 ตัวแรก ได้แก่ หมวดหมู่:ลำดับจำนวนเต็ม.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และจำนวนทรงสี่หน้า
จำนวนแบร์นูลลี
ในทางคณิตศาสตร์ จำนวนแบร์นูลลี Bn เป็นลำดับของจำนวนตรรกยะ ค่าจำนวนแบร์นูลลีตัวแรก ๆ ได้แก่ หมวดหมู่:ลำดับจำนวนเต็ม.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และจำนวนแบร์นูลลี
จำนวนเต็ม
ำนวนเต็ม คือจำนวนที่สามารถเขียนได้โดยปราศจากองค์ประกอบทางเศษส่วนหรือทศนิยม ตัวอย่างเช่น 21, 4, −2048 เหล่านี้คือจำนวนเต็ม แต่ 9.75, 5, √2 เหล่านี้ไม่ใช่จำนวนเต็ม เศษของจำนวนเต็มเป็นเศษย่อยของจำนวนจริง และประกอบด้วยจำนวนธรรมชาติ (1, 2, 3,...) ศูนย์ (0) และตัวผกผันการบวกของจำนวนธรรมชาติ (−1, −2, −3,...) เซตของจำนวนเต็มทั้งหมดมักแสดงด้วย Z ตัวหนา (หรือ \mathbb ตัวหนาบนกระดานดำ, U+2124) มาจากคำในภาษาเยอรมันว่า Zahlen แปลว่าจำนวน จำนวนเต็ม (พร้อมด้วยการดำเนินการการบวก) ก่อร่างเป็นกรุปเล็กที่สุดอันประกอบด้วยโมนอยด์เชิงการบวกของจำนวนธรรมชาติ จำนวนเต็มก่อให้เกิดเซตอนันต์นับได้เช่นเดียวกับจำนวนธรรมชาติ สิ่งเหล่านี้ในทฤษฎีจำนวนเชิงพีชคณิตทำให้เข้าใจได้โดยสามัญว่า จำนวนเต็มซึ่งฝังตัวอยู่ในฟีลด์ของจำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนเต็มตรรกยะ เพื่อแยกแยะออกจากจำนวนเต็มเชิงพีชคณิตที่ได้นิยามไว้กว้างกว.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และจำนวนเต็ม
ทฤษฎีบทค่าเฉลี่ย
ฟังก์ชันที่มีความต่อเนื่องบนช่วง ''a'', ''b'' และมีอนุพันธ์บนช่วง (''a'', ''b'') จะมี c ที่อยู่ในช่วง (''a'', ''b'') ซึ่งเส้นที่เชื่อมระหว่างจุดปลายของช่วง ''a'', ''b'' จะขนานกับเส้นสัมผัสจุด ''c'' ทฤษฎีบทค่าเฉลี่ย (mean value theorem) ในแคลคูลัสกล่าวว่า สำหรับส่วนของเส้นโค้งที่กำหนดให้ จะมีจุดหนึ่งจุดอยู่บนส่วนของเส้นโค้งนั้น ซึ่งมีความชันเท่ากับความชันเฉลี่ยของส่วนของเส้นโค้ง.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และทฤษฎีบทค่าเฉลี่ย
คริสต์ศตวรรษที่ 18
ริสต์ศตวรรษที่ 18 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1701 ถึง ค.ศ. 1800.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และคริสต์ศตวรรษที่ 18
คณิตศาสตร์
ยูคลิด (กำลังถือคาลิเปอร์) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ในสมัย 300 ปีก่อนคริสตกาล ภาพวาดของราฟาเอลในชื่อ ''โรงเรียนแห่งเอเธนส์''No likeness or description of Euclid's physical appearance made during his lifetime survived antiquity.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และคณิตศาสตร์
ค่าสัมบูรณ์
้ากำหนดให้ a เป็นจำนวนจริง แล้วระยะจากจุด 0 ถึงจุดที่แทนจำนวนจริง a ว่า ค่าสมบูรณ์ กำหนดให้ค่าสัมบูรณ์ในเนื้อหาจำนวนเต็มหมายถึงระยะจากจุด 0 ถึงจุดที่แทนจำนวนเต็ม a ว่า ค่าสมบูรณ์ มีสัญลักษณ์คือ |a| และค่าสมบูรณ์ไม่เป็นจำนวนลบ ค่าสัมบูรณ์จะเป็นจำนวนบวกหรือศูนย์เสมอ นั่นคือจะไม่มีค่า a ที่ |a| ||a| − |b||.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และค่าสัมบูรณ์
ปฏิทรรศน์
ปฏิทรรศน์ หรือ พาราด็อกซ์ (Paradox) คือ ประโยคหรือกลุ่มของประโยคที่เป็นจริงอย่างชัดเจน แต่นำไปสู่ความขัดแย้งในตัวเอง หรือสถานการณ์ที่อยู่นอกความคิดทั่วไป โดยทั่วไปแล้วอาจเป็นไปได้ว่า ประโยคดังกล่าวนี้แท้จริงแล้วอาจไม่ได้นำไปสู่สภาวะขัดแย้ง ผลลัพธ์ที่ได้อาจไม่ใช่ข้อขัดแย้งจริง ๆ หรือข้อกำหนดในตอนต้นอาจไม่จริงหรือไม่สามารถเป็นจริงพร้อม ๆ กันได้ คำว่าปฏิทรรศน์หรือพาราด็อกซ์มักถูกใช้แทนที่ไปมากับคำว่าข้อขัดแย้ง อย่างไรก็ตามแนวคิดทั้งสองนั้นไม่เหมือนกันเสียทีเดียว ในขณะที่ข้อขัดแย้งประกาศสิ่งที่ตรงกันข้ามกับตัวเองหลาย ๆ ปฏิทรรศน์กลับมีทางออกหรือคำอ.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และปฏิทรรศน์
ปัญหาบาเซิล
ปัญหาบาเซิล เป็นปัญหาทางคณิตวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีจำนวน ปัญหานี้ถูกตั้งขึ้นครั้งแรกโดย ปิเอโตร เมนโกลี ในปี พ.ศ.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และปัญหาบาเซิล
นีลส์ เฮนริก อาเบล
นีลส์ เฮนริก อาเบล (Neils Henrik Abel) เกิดเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม ค.ศ. 1802 เสียชีวิต 6 เมษายน ค.ศ. 1829 เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวนอร์เวย์ เป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่มีผลงานโดดเด่นที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นอกจากนั้นบางท่านยกย่องอาเบลว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ดีที่สุดในประวัติศาสตร์ของสแกนดิเนเวีย อย่างไรก็ตามอาเบลเสียชีวิตด้วยอายุเพียง 26 ปี และเป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่มีชีวิตอาภัพที่สุดในประวัติศาสตร์ของวงการคณิตศาสตร์ เคียงคู่ไปกับ เอวารีสต์ กาลัว (เสียชีวิตเมื่ออายุ 20 ปี), รามานุจัน (เสียชีวิตเมื่ออายุ 33 ปี) และ โซฟี่ แชร์แมง (เสียชีวิตโดยที่ไม่มีโอกาสได้ทราบว่าตนเองได้รับปริญญากิตติมศักดิ์) อาเบลและเพื่อนนักคณิตศาสตร์ร่วมสมัยคือ เกาส์และโคชี่ มีส่วนร่วมเป็นอย่างสูงในการพัฒนาคณิตศาสตร์สมัยใหม่ ซึ่งแตกต่างจากคณิตศาสตร์สมัยเก่าตรงที่มีการพิสูจน์อย่างเคร่งครัดในทุกทฤษฎีบท.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และนีลส์ เฮนริก อาเบล
แอร์เนสโต เชซะโร
แอร์เนสโต เชซะโร (Ernesto Cesàro; 12 มีนาคม พ.ศ. 2402 – 12 กันยายน พ.ศ. 2449) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอิตาลีที่ศึกษาด้านเรขาคณิตอนุพันธ์ หมวดหมู่:นักคณิตศาสตร์ชาวอิตาลี หมวดหมู่:บุคคลจากเนเปิลส์.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และแอร์เนสโต เชซะโร
แคลคูลัส
แคลคูลัส เป็นสาขาหลักของคณิตศาสตร์ และสังคมศาสตร์ แคลคูลัสมีต้นกำเนิดจากสองแนวคิดหลัก ดังนี้ แนวคิดแรกคือ แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ (Differential Calculus) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยอัตราการเปลี่ยนแปลง และเกี่ยวข้องกับการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การหา ความเร็ว, ความเร่ง หรือความชันของเส้นโค้ง บนจุดที่กำหนดให้.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และแคลคูลัส
เลออนฮาร์ด ออยเลอร์
องเลออนฮาร์ด ออยเลอร์ วาดโดยจิตรกร เอ็มมานูเอล ฮันด์มันน์ (Emanuel Handmann) เมื่อ ค.ศ.1753 เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ (Leonhard Euler, 15 เมษายน พ.ศ.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และเลออนฮาร์ด ออยเลอร์
เอมีล บอแรล
เอมีล บอแรล (Émile Borel) หรือชื่อเต็มคือ เฟลิกซ์ เอดัวร์ ฌุสแต็ง เอมีล บอแรล (Félix Édouard Justin Émile Borel; 7 มกราคม พ.ศ. 2414 - 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และเอมีล บอแรล
เออแฌน ชาร์ล กาตาล็อง
เออแฌน ชาร์ล กาตาล็อง (Eugène Charles Catalan, 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2357 - 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2437) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสและเบลเยียม หมวดหมู่:นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส หมวดหมู่:นักคณิตศาสตร์ชาวเบลเยียม.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และเออแฌน ชาร์ล กาตาล็อง
เซตนับได้
ซตนับได้ (countable set) คือเซตที่มีภาวะเชิงการนับ (จำนวนของสมาชิก) เหมือนกับบางเซตย่อยของเซตของจำนวนธรรมชาติ ในทางตรงข้าม เซตที่ไม่สามารถนับได้เรียกว่า เซตนับไม่ได้ (uncountable set) ศัพท์คำนี้นิยามโดยเกออร์ก คันทอร์ สมาชิกของเซตนับได้สามารถถูกนับจำนวนได้ในครั้งหนึ่ง ๆ ถึงแม้ว่าการนับนั้นจะไม่มีวันสิ้นสุดก็ตาม สมาชิกทุก ๆ ตัวของเซตจะถูกจับคู่กับจำนวนธรรมชาติจำนวนใดจำนวนหนึ่งในที่สุด ผู้แต่งตำราบางท่านใช้ศัพท์ เซตนับได้ ว่าหมายถึงเซตที่มีภาวะเชิงการนับเหมือนกับเซตของจำนวนธรรมชาติสำหรับตัวอย่างการใช้เช่นนี้ดูที่ ความแตกต่างระหว่างนิยามสองนิยามนี้คือ เซตจำกัดจัดว่าเป็นเซตนับได้ภายใต้นิยามแรก ในขณะที่นิยามหลัง เซตจำกัดไม่ถือว่าเป็นเซตนับได้ เพื่อแก้ความกำกวมนี้ บางครั้งจึงใช้ศัพท์ว่า เซตนับได้เป็นอย่างมาก (at most countable set) สำหรับนิยามแรกและ เซตอนันต์นับได้ (countably infinite set) สำหรับนิยามหลัง นอกจากนี้ศัพท์ว่า denumerable set ก็ยังใช้ในความหมายของเซตอนันต์นับได้ดูที่ หรือเซตนับได้ ในทางตรงข้ามก็ใช้คำว่า nondenumerable set คือเซตนับไม่ได้ดูที.
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และเซตนับได้
0
0 (ศูนย์) เป็นทั้งจำนวนและเลขโดดที่ใช้สำหรับนำเสนอจำนวนต่าง ๆ ในระบบเลข มีบทบาทเป็นตัวกลางในทางคณิตศาสตร์ คือเป็นเอกลักษณ์การบวกของจำนวนเต็ม จำนวนจริง และโครงสร้างเชิงพีชคณิตอื่น ๆ ศูนย์ในฐานะเลขโดดใช้เป็นตัววางหลักในระบบเลขเชิงตำแหน่ง.
1 + 2 + 3 + 4 + ⋯
ี่ผลบวกย่อยแรกของอนุกรม 1 + 2 + 3 + 4 + ⋯ พาราโบลานี้คือเส้นกำกับปรับเรียบของมัน จุดตัด "y" คือ −1/12 ผลบวกของทุกจำนวนธรรมชาติ 1 + 2 + 3 + 4 + ⋯ เป็นอนุกรมลู่ออก ผลบวกย่อยที่ n ของอนุกรมเป็นจำนวนสามเหลี่ยม ซึ่งเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีขอบเขต โดย n เป็นอนันต์ เนื่องจากลำดับของผลบวกย่อยไม่ลู่เข้าลิมิตจำกัดค่าหนึ่ง อนุกรมดังกล่าวจึงลู่ออก และไม่มีผลบวกในความหมายทั่วไป แม้ว่าอนุกรมนี้ไม่มีค่าที่มีความหมายใด ๆ เมื่อแรกเห็น แต่อนุกรมนี้สามารถเปลี่ยนรูปให้ผลลัพธ์ที่น่าสนใจทางคณิตศาสตร์ ซึ่งบางผลลัพธ์นั้นมีการใช้ในสาขาอื่น เช่น การวิเคราะห์เชิงซ้อน ทฤษฎีสนามควอนตัมและทฤษฎีสตริง มีการใช้วิธีการรวมยอดจำนวนมากในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกำหนดค่าตัวเลขให้แม้แต่กับอนุกรมลู่ออก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วิธีการทำให้ปรกติของฟังก์ชันซีตา (zeta function regularization) และการรวมยอดรามานุจันกำหนดให้อนุกรมมีค่า −1/12 ซึ่งแสดงโดยสูตรอันขึ้นชื่อ ในเอกสารเฉพาะเรื่องว่าด้วยทฤษฎีแสงจันทร์ (moonshine theory) เทอร์รี แกนนอนเรียกสมการนี้ว่า "หนึ่งในสูตรที่สะดุดตาที่สุดของวิทยาศาสตร์".
ดู 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·และ1 + 2 + 3 + 4 + ⋯
ดูเพิ่มเติม
ปฏิทรรศน์ทางคณิตศาสตร์
- 0.999...
- 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·
อนุกรม
- 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·
- การลู่เข้าสัมบูรณ์
- พาย (ค่าคงตัว)
- ลำดับเรขาคณิต
- อนุกรม
- อนุกรมลู่ออก
- อนุกรมสลับ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ 1-2+3-4+...