โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แยกหมอมี

ดัชนี แยกหมอมี

แยกหมอมี (Mo Mi Intersection) หรือที่นิยมเรียกว่า สามแยก หรือ สามแยกถนนเจริญกรุง เป็นห้าแยกจุดตัดถนนเจริญกรุง, ถนนพระรามที่ 4, ถนนทรงสวัสดิ์ และถนนมิตรพันธ์ ในพื้นที่แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและแขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ใจกลางย่านเยาวราช ซึ่งเป็นย่านชาวไทยเชื้อสายจีนที่สำคัญในกรุงเทพฯ ในอดีตพื้นที่แถบนี้มีสถานะเป็นตำบลหนึ่งขึ้นอยู่ในอำเภอสัมพันธวงศ์ จังหวัดพระนคร เรียกว่า "ตำบลสามแยก" ต่อมาในปลายปี..

27 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกระทรวงนครบาลกรุงเทพมหานครภัตตาคารมูลนิธิป่อเต็กตึ๊งยานัตถุ์รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานครลอดช่องวงเวียน 22 กรกฎาคมศาลาเฉลิมกรุงสนุก.คอมหลังคาทรงปั้นหยาจังหวัดพระนครธนาคารยูโอบีถนนพระรามที่ 4ถนนลำพูนไชยถนนแปลงนามถนนเจริญกรุงตำบลแยกไมตรีจิตต์แยกเฉลิมบุรีแขวงตลาดน้อยไชนาทาวน์ (กรุงเทพมหานคร)เฟซบุ๊กเอเอสทีวีผู้จัดการเขตสัมพันธวงศ์เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: แยกหมอมีและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงนครบาล

กระทรวงนครบาล เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวงในอดีต ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 1 เมษายนพ.ศ. 2435 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีหน้าที่บังคับบัญชาการรักษาพระนคร คือปกครองมณฑลกรุงเทพ มีกรมที่สังกัดเช่น กรมพลตระเวน กรมสุขาภิบาล ต่อมาในปี พ.ศ. 2465 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้รวมกระทรวงนครบาลกับกระทรวงมหาดไทยเข้าเป็นกระทรวงเดียวกันเรียกว่า กระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: แยกหมอมีและกระทรวงนครบาล · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: แยกหมอมีและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ภัตตาคาร

ัตตาคาร หรือ ร้านอาหาร เป็นร้านที่คอยบริการอาหารตามความต้องการของลูกค้า ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: แยกหมอมีและภัตตาคาร · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง

ตราสัญลักษณ์ของมูลนิธิฯ มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง (หัวเฉียวเป้าเต๋อซ่านถัง; ฮกเกี้ยน: หัวเกียเปอเตียกเชียงต๋อง; แต้จิ๋ว: ฮั่วเคี้ยวป่อเต็กเซี่ยงตึ๊ง) เป็นมูลนิธิบรรเทาสาธารณภัย ปัจจุบันตัั้งอยู่ที่เลขที่ 326 ถนนเจ้าคำรบ ตัดกับถนนพลับพลาไชย แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100 ที่มาจาก คณะเก็บศพไต้ฮงกง ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: แยกหมอมีและมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง · ดูเพิ่มเติม »

ยานัตถุ์

ยานัตถุ์ของอังกฤษ ปฏิทินจากยานัตถุ์หมอชิต พ.ศ. 2499 ยานัตถุ์ (อังกฤษ: snuff, dry nasal tobacco) คือ ยาผงที่ใช้สำหรับเป่าเข้าทางจมูก อาจใช้เพื่อรักษาโรคหรือไม่ก็ได้ ตัวยาอาจประกอบด้วยส่วนผสมหลายอย่างอาทิ ยาสูบ สเปียร์มินต์ อบเชย เมนทอล การบูร การใช้ยานัตถุ์อาจจัดเป็นการสูบยาชนิดหนึ่งที่ไม่ต้องใช้ควันไฟ วิธีใช้ใช้โดยนำผงยานัตถุ์บรรจุลงไปในท่อเหล็กรูปตัวยู ใส่ปลายท่อด้านหนึ่งเข้ารูจมูกแล้วใช้ปากเป่าปลายท่ออีกด้านหนึ่ง เพื่อให้ตัวยาฟุ้งกระจายเข้าไปในโพรงจมูก (เรียกว่า การนัตถุ์) ผู้ที่ใช้ยานัตถุ์จะรู้สึกเคลิบเคลิ้มเหมือนได้สูบบุหรี่ ในประเทศไทย ยานัตถุ์ใช้กันมากในกลุ่มผู้สูงอายุ และยี่ห้อของยานัตถุ์ที่เป็นที่รู้จัก คือ ยานัตถุ์หมอชิต ยานัตถุ์หมอมี เป็นต้น หมวดหมู่:ยาเสพติด.

ใหม่!!: แยกหมอมีและยานัตถุ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร ทางแยกต่างระดับ รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: แยกหมอมีและรายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ลอดช่อง

วต ที่ขายในตลาดที่มาลัง ชวาตะวันออก ประมาณ พ.ศ. 2478 ลอดช่อง คือ ขนมพื้นบ้านที่ใช้แป้งข้าวเจ้าเป็นวัตถุดิบ เป็นที่นิยมแพร่หลายในไทยชนิดหนึ่ง มีจุดกำเนิดร่วมในทั่วทั้ง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เชื่อกันว่ามีต้นกำเนิดมาจากประเทศ อินโดนีเซียhttp://www.belindo.com/Default.aspx?NavID.

ใหม่!!: แยกหมอมีและลอดช่อง · ดูเพิ่มเติม »

วงเวียน 22 กรกฎาคม

วงเวียน 22 กรกฎาคม เป็นวงเวียนน้ำพุเกิดจากถนน 3 สายตัดกัน คือ ถนนไมตรีจิตต์ ถนนมิตรพันธ์ และถนนสันติภาพ อยู่ในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร ถนนรอบวงเวียนมีชื่อว่า ถนนวงเวียน 22 กรกฎาคม วงเวียน 22 กรกฎาคม สร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงวันที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงตัดสินพระทัยนำประเทศไทยเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม..

ใหม่!!: แยกหมอมีและวงเวียน 22 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาเฉลิมกรุง

ลาเฉลิมกรุง หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า โรงมหรสพหลวง ศาลาเฉลิมกรุง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เฉลิมกรุง เป็นโรงมหรสพหลวง ตั้งอยู่ริมถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นโรงภาพยนตร์ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ศาลาเฉลิมกรุงได้วางศิลาฤกษ์โดย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: แยกหมอมีและศาลาเฉลิมกรุง · ดูเพิ่มเติม »

สนุก.คอม

นุก.คอม (Sanook.com ตราสัญลักษณ์สะกดว่า Sanook!) เป็นเว็บท่าที่ได้รับความนิยมอันดับต้นๆ ของประเทศไทยมาโดยตลอดนับตั้งแต่เริ่มดำเนินการ เว็บไซต์ สนุก.คอม ก่อตั้งโดย ปรเมศวร์ มินศิริ เมื่อปี..

ใหม่!!: แยกหมอมีและสนุก.คอม · ดูเพิ่มเติม »

หลังคาทรงปั้นหยา

บังกะโลในชิคาโก มีรูปแบบหลังคาทรงปั้นหยา หลังคาทรงปั้นหยา เป็นประเภทของหลังคาที่ทุกด้านลาดไหลลงสู่ผนัง โดยมักมีความชันไหลเอียงเท่ากัน หลังคาทรงปั้นหยาของบ้านทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า จะมีสามเหลี่ยม 2 ด้าน และมีสี่เหลี่ยมคางหมู 2 ด้าน ซึ่งเกือบทั้งหมดจะต้องมีความลาดเอียงเดียวกัน เพื่อให้สมดุลกัน หลังคาทรงปั้นหยาสามารถมีรางใต้รอบทุกด้านได้ นอกจากนี้หลังคาทรงปั้นหยายังสามารถมีหน้าต่างยื่นออกมาจากหลังคาในด้านที่ลาดเอียงได้ หมวดหมู่:หลังคา.

ใหม่!!: แยกหมอมีและหลังคาทรงปั้นหยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนคร

รถรางในจังหวัดพระนครก่อนที่จะถูกยกเลิกไป อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยในอดีต ตราประจำจังหวัดพระนคร จังหวัดพระนคร เป็นจังหวัดในอดีตของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา มีขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: แยกหมอมีและจังหวัดพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารยูโอบี

นาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน) เกิดจากการรวมกิจการของธนาคารเอเชีย จำกัด (มหาชน) และธนาคารยูโอบีรัตนสิน จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 เป็นธนาคารพาณิชย์ที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 9 ของประเทศไทย มีสินทรัพย์มูลค่ารวม 206,000 ล้านบาท ณ วันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: แยกหมอมีและธนาคารยูโอบี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 4

นนพระรามที่ 4 ช่วงสวนลุมพินี ถนนพระรามที่ 4 (Thanon Rama IV) เป็นถนนในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ทางแยกหมอมี (แยกจากถนนเจริญกรุง) ข้ามคลองผดุงกรุงเกษมที่สะพานเจริญสวัสดิ์ ผ่านสถานีหัวลำโพง สามย่าน ไปบรรจบถนนสุขุมวิท.

ใหม่!!: แยกหมอมีและถนนพระรามที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนลำพูนไชย

นนลำพูนไชย ถนนลำพูนไชย เป็นถนนสายสั้น ๆ ในย่านเยาวราช พื้นที่แขวงตลาดน้อยและแขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นที่ถนนพระรามที่ 4 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ผ่านทางแยกลำพูนไชยที่เป็นจุดตัดกับถนนเจริญกรุง และไปสิ้นสุดที่ถนนเยาวราชบริเวณใกล้กับวงเวียนโอเดียน ถนนลำพูนไชยเป็นที่ตั้งของสถาบันกวดวิชาดาว้องก์ และเมื่อปี..

ใหม่!!: แยกหมอมีและถนนลำพูนไชย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนแปลงนาม

นนแปลงนาม (Thanon Plaeng Nam) เดิมมีชื่อว่า "ตรอกป่าช้าหมาเน่า" เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในย่านเยาวราช ในท้องที่แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ เป็นถนนเส้นสั้น ๆ ระยะประมาณ 100 เมตร เชื่อมระหว่างถนนเจริญกรุงและถนนเยาวราช อยู่ตรงข้ามกับถนนพลับพลาไชย และอยู่ใกล้กับถนนผดุงด้าว หรือซอยเท็กซัส โดยอยู่ก่อนถึงแยกหมอมีจากถนนเจริญกรุง สาเหตุที่เรียกว่า ตรอกป่าช้าหมาเน่า ก็เนื่องมาจาก ในอดีตพื้นที่ของตรอกนี้คือจุดทิ้งขยะของย่านเยาวราช ใครที่ผ่านตรอกนี้ก็จะพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า เหม็นเหมือนกลิ่นหมาเน่าหรือซากศพเน่า ต่อมาได้มีการตัดถนนเยาวราช ทางการได้เข้าปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและกำจัดขยะออกไป และเปลี่ยนชื่อให้เป็นมงคลเป็น ซอยแปลงนาม และปรับปรุงขยายเป็นถนนในเวลาต่อมา บริเวณถนนแปลงนามนี้มีชาวไทยเชื้อสายจีนอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก และเป็นย่านการค้า ซึ่งในถนนแปลงนามนี้มีของต่าง ๆ ที่ขึ้นชื่อมากมาย เช่น เครื่องดนตรีจีน, ตะเกียงเจ้าพายุและของเก่า, เครื่องครัวจีน ในส่วนของร้านอาหารมีหลายอย่างที่หลากหลาย เช่น รังนกและหูฉลาม, หมูสะเต๊ะ, ข้าวต้มและอาหารตามสั่ง, ข้าวหมูแดง, ขนมจีบ, พระรามลงสรง และเป็นที่ตั้งของวัดมงคลสมาคม (อักษรเวียดนาม: Chùa Hội Khánh; 會慶寺) ศาสนสถานในพุทธศาสนาแบบอนัมนิก.

ใหม่!!: แยกหมอมีและถนนแปลงนาม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเจริญกรุง

นนเจริญกรุงในสมัยรัชกาลที่ 5 ถนนเจริญกรุงในกลางปี พ.ศ. 2559 ช่วงเชิงสะพานพิทยเสถียร (สะพานเหล็กล่าง) ย่านตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ ถนนเจริญกรุง (Thanon Charoen Krung) ถนนสายสำคัญสายหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นตั้งแต่ถนนสนามไชยบริเวณวงเวียน รด. หน้าหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน สิ้นสุดที่แม่น้ำเจ้าพระยาที่ถนนตก บริเวณโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ และการไฟฟ้านครหลวง เขตยานวานา เป็นถนนรุ่นแรกที่ใช้เทคนิคการสร้างแบบตะวันตก ผ่านพื้นที่เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตสัมพันธวงศ์, เขตบางรัก, เขตสาทร และเขตบางคอแหลม และเป็นเส้นแบ่งของเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย (ด้านซ้าย) กับเขตสัมพันธวงศ์ (ด้านขวา) ตั้งแต่ช่วงคลองถมไปจนถึงบริเวณแยกหมอมี ถนนเจริญกรุงเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2405 แล้วเสร็จใน พ.ศ. 2407 มีความยาวจากถนนสนามไชยถึงดาวคะนอง 8,575 เมตร การก่อสร้างถนนเจริญกรุงนั้นเนื่องจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีชาวต่างประเทศเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯ มากขึ้น และมีพวกกงสุลได้เข้าชื่อกันขอให้สร้างถนนสายยาวสำหรับขี่ม้าหรือนั่งรถม้าตากอากาศและอ้างว่า “เข้ามาอยู่ที่กรุงเทพมหานครไม่มีถนนหนทางที่จะขี่รถม้าไปเที่ยว พากันเจ็บไข้เนือง ๆ” ในปีระกา พ.ศ. 2404 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค ต่อมาคือ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ที่สมุหพระกลาโหมเป็นแม่กอง พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมืองเป็นนายงาน รับผิดชอบในการก่อสร้างถนนช่วงตั้งแต่คูเมืองชั้นในถึงถนนตกริมแม่น้ำเจ้าพระยาที่ตำบลบางคอแหลม เรียกว่าถนนเจริญกรุงตอนใต้ (แต่ชาวบ้านมักเรียกว่าเจริญกรุงตอนล่าง) กว้าง 5 วา 4 ศอก (ประมาณ 10 เมตร หรือเทียบได้กับถนน 4 เลน) โดยมีนายเฮนรี อาลาบาศเตอร์ (ต้นสกุลเศวตศิลา) เป็นผู้สำรวจแนวถนนและเขียนแผนผังถนน และในปีจอ พ.ศ. 2405 โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) เป็นแม่กอง พระยาบรรหารบริรักษ์ (สุ่น) เป็นนายงาน รับผิดชอบการก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนใน คือช่วงระยะทางตั้งแต่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ์) ถึงสะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็กบน) กว้าง 4 วา โดยสร้างเป็นถนนดินอัด เอาอิฐเรียงตะแคงปูให้ชิดกัน ตรงกลางนูนสูง เมื่อถูกฝนไม่กี่ปีก็ชำรุด การก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนในนี้เดิมกำหนดให้ตัดตรงจากสะพานดำรงสถิต ถึงกำแพงเมืองด้านถนนสนามไชย แต่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทักท้วงว่าการสร้างถนนตรงมาสู่พระบรมมหาราชวังอาจเป็นชัยภูมิให้ข้าศึกใช้ตั้งปืนใหญ่ยิงทำลายกำแพงเมืองได้ จึงต้องเปลี่ยนแนวถนนมาหักมุมเลี้ยวตรงเชิงสะพานดำรงสถิต เมื่อสร้างถนนเจริญกรุงเสร็จใหม่ ๆ นั้น ยังไม่ได้พระราชทานนาม จึงเรียกกันทั่วไปว่า ถนนใหม่ และชาวยุโรปเรียกว่า นิวโรด (New Road) ชาวจีนเรียกตามสำเนียงแต้จิ๋วว่า ซิงพะโล่ว (新打路) แปลว่าถนนตัดใหม่ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนว่า "ถนนเจริญกรุง" ซึ่งมีความหมายถึงความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง เช่นเดียวกับชื่อถนนบำรุงเมืองและถนนเฟื่องนคร ที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในคราวเดียวกัน.

ใหม่!!: แยกหมอมีและถนนเจริญกรุง · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: แยกหมอมีและตำบล · ดูเพิ่มเติม »

แยกไมตรีจิตต์

แยกไมตรีจิตต์ (Maitri Chit Intersection) เป็นทางแยกแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีลักษณะเป็นห้าแยกตัดกันระหว่างถนนไมตรีจิตต์, ถนนมิตรภาพไทย-จีน, ถนนพระราม 4, ถนนกรุงเกษม และซอยโปริสภา ซึ่งเป็นซอยหนึ่งของถนนข้าวหลาม แยกไมตรีจิตต์ อยู่บริเวณเชิงสะพานเจริญสวัสดิ์ข้ามคลองผดุงกรุงเกษมในด้านที่มาจากแยกหัวลำโพง อยู่ใกล้กับสถานีรถไฟหัวลำโพง ถือได้ว่าเป็นจุดที่เริ่มต้นเข้าสู่ย่านเยาวราช หรือไชน่าทาวน์ของกรุงเทพมหานคร และยังเป็นจุดตัดระหว่างพื้นที่เขตสามเขตอีกด้วย คือ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตสัมพันธวงศ์ และเขตปทุมวัน ชื่อ "ไมตรีจิตต์" มาจากชื่อของถนนไมตรีจิตต์ อันเป็นถนนสายหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ระลึกถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ที่ประเทศไทยได้เข้าร่วม เช่นเดียวกับ วงเวียน 22 กรกฎาคม, ถนนมิตรพันธ์ และถนนสันติภาพ ที่สร้างขึ้นในวาระเดียวกัน บริเวณใกล้ทางแยก ทางฝั่งถนนไมตรีจิตต์ ยังเป็นที่ตั้งของศาสนสถานสองแห่งในสองศาสนา สองความเชื่อที่แตกต่างกัน คือ คริสตจักรไมตรีจิต เป็นคริสตจักรแบบโปรเตสแตนต์แห่งแรกในประเทศไทยและของทวีปเอเชียด้วย โดยก่อตั้งมาตั้งแต..

ใหม่!!: แยกหมอมีและแยกไมตรีจิตต์ · ดูเพิ่มเติม »

แยกเฉลิมบุรี

แยกเฉลิมบุรี (Chaloem Buri Intersection) เป็นสี่แยกหนึ่งในพื้นที่แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนเยาวราชกับถนนทรงสวัสดิ์ ชื่อ "เฉลิมบุรี" นั้นมาจากในอดีต ที่นี่ทางด้านถนนทรงสวัสดิ์ฝั่งที่มุ่งหน้าไปทางแยกหมอมี หรือสามแยก เคยเป็นที่ตั้งของโรงภาพยนตร์เฉลิมบุรี หรือก่อนหน้านั้นคือ โรงภาพยนตร์สิงคโปร์ และได้รื้อถออนออก และสร้างใหม่ในชื่อ เฉลิมบุรี ในวาระฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 150 ปี ในปี..

ใหม่!!: แยกหมอมีและแยกเฉลิมบุรี · ดูเพิ่มเติม »

แขวงตลาดน้อย

ทความนี้เป็นแขวงในเขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ในส่วนของตำบลตลาดน้อย จังหวัดสระบุรี ดูที่: อำเภอบ้านหมอ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย แขวงตลาดน้อย เป็นแขวงหนึ่งในพื้นที่การปกครองของเขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร พื้นที่บริเวณตลาดน้อยเป็นถิ่นอยู่อาศัยของชาวจีนโพ้นทะเลและชาวไทยเชื้อสายจีนอีกแห่งหนึ่ง นอกเหนือจากย่านเยาวราชและสำเพ็งที่อยู่ใกล้เคียง มีประวัติความเป็นมาเก่าแก่ยาวนานตั้งแต่สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ เดิมเป็นตลาดที่คึกคักมาก โดยเรียกกันในภาษาแต้จิ๋วว่า "ตั๊กลักเกี้ย" (噠叻仔; ลูกตลาด, ตลาดน้อย) มีที่มาจากเจ้าสัวเนียม หรือเจ๊สัวเนียม ผู้เป็นเจ้าของที่ดินแถบนี้มีลูกสาวคนหนึ่งชื่อ "น้อย" เป็นท่าเรือและชุมชนที่รุ่งเรืองก่อนเยาวราช โดยมีชาวโปรตุเกส เป็นชนกลุ่มแรกที่เข้ามาอาศัยอยู่ จากนั้นจึงตามมาด้วยชาวจีน, ชาวญวน รวมถึงเขมรมาปักหลักอาศัย ปัจจุบันมีสภาพเป็นบ้านเรือนที่อาศัยของผู้คนในลักษณะอาคารพาณิชย์ขนาดเล็ก และตรอกซอกซอยต่าง ๆ และยังมีศาสนสถานสำคัญของหลายศาสนา และมีสิ่งก่อสร้างที่เป็นจุดเด่น เช่น ริเวอร์ซิตี้ หรือ สะพานพิทยเสถียร อีกทั้งยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ โดยหลายอาคารนั้นเป็นอาคารที่เก่าควรค่าแก่การอนุรักษ์ มีมากถึง 64 อาคาร ตลาดน้อยเป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยม ด้วยความเก่าแก่ของอาคารสถานที่ และวิถีชีวิตของผู้คนที่ยังคงเหมือนเดิมเช่นในอดีตอยู่ โดยมีถนนสายหลัก คือ ถนนเจริญกรุง บนพื้นที่ติดกับแขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในซอยเจริญกรุง 22 หรือ ตรอกตลาดน้อย ภายในซอยมีหลายสถานที่ ๆ ได้รับความสนใจ เช่น ศาลเจ้าโจวซือกง, บ้านโซวเฮงไถ่ บ้านโบราณที่มีอายุกว่า 200 ปี สร้างด้วยสถาปัตยกรรมแบบซื่อเหอย่วนของจีน, เซียงกง หรือ ซอยวานิช 2 แหล่งรวมอะไหล่รถยนต์ที่มีชื่อเสียง, โบสถ์กาลหว่าร์ ศาสนสถานของศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก, กรมเจ้าท่า และธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย ซึ่งเป็นธนาคารแห่งแรกของประเทศไทย ตัวอาคารธนาคารเป็นสถาปัตยกรรมแบบโบซาร์ผสมนีโอคลาสสิก โดยก่อสร้างตั้งแต..

ใหม่!!: แยกหมอมีและแขวงตลาดน้อย · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาทาวน์ (กรุงเทพมหานคร)

นนเยาวราช ถนนสายหลักของไชนาทาวน์ กรุงเทพมหานคร แผนที่เขตสัมพันธวงศ์ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่หลัก ๆ ของไชนาทาวน์ กรุงเทพมหานคร ไชนาทาวน์ในกรุงเทพมหานคร เป็นหนึ่งในไชนาทาวน์หรือชุมชนจีนที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ก่อตั้งขึ้นมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: แยกหมอมีและไชนาทาวน์ (กรุงเทพมหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

เฟซบุ๊ก

ฟซบุ๊ก (Facebook) เป็นบริการเครือข่ายสังคมสัญชาติอเมริกัน สำนักงานใหญ่อยู่ที่ เมนโลพาร์ก รัฐแคลิฟอร์เนีย เฟซบุ๊กก่อตั้งเมื่อวันพุธที่ 4 กุมภาพัน..

ใหม่!!: แยกหมอมีและเฟซบุ๊ก · ดูเพิ่มเติม »

เอเอสทีวีผู้จัดการ

ผู้จัดการ 360° เป็นหนังสือพิมพ์ธุรกิจรายวันภาษาไทย ในเครือผู้จัดการ วางแผง(วันจันทร์-วันเสาร์)โดยฉบับ(วันเสาร์จะควบวันอาทิตย์) วางจำหน่ายฉบับปฐมฤกษ์ (ในชื่อเอเอสทีวีผู้จัดการ) เมื่อวันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: แยกหมอมีและเอเอสทีวีผู้จัดการ · ดูเพิ่มเติม »

เขตสัมพันธวงศ์

ตสัมพันธวงศ์ เป็นเขตที่เล็กที่สุดของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้าหนาแน่นและแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม.

ใหม่!!: แยกหมอมีและเขตสัมพันธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

มุมมองเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายจากพระบรมบรรพต เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร.

ใหม่!!: แยกหมอมีและเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สามแยกถนนเจริญกรุงสี่แยกหมอมีห้าแยกหมอมี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »