โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง

ดัชนี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

78 ความสัมพันธ์: ชวน หลีกภัยพ.ศ. 2476พรรคชาติไทยพรรคกิจสังคมพรรคสหประชาไทยพรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)พรรคประชาธิปัตย์พิทักษ์ รังสีธรรมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2492การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500วิเชียร คันฉ่องสภาผู้แทนราษฎรไทยสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20...สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9สมชาย โล่สถาพรพิพิธสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุลสาทิตย์ วงศ์หนองเตยสุกิจ อัถโถปกรณ์อำเภอกันตังอำเภอย่านตาขาวอำเภอรัษฎาอำเภอวังวิเศษอำเภอสิเกาอำเภอหาดสำราญอำเภอห้วยยอดอำเภอปะเหลียนอำเภอนาโยงอำเภอเมืองตรังจัง จริงจิตรทวี สุระบาล15 พฤศจิกายน ขยายดัชนี (28 มากกว่า) »

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและชวน หลีกภัย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติไทย

รรคชาติไทย (Chart Thai Party) เป็นอดีตพรรคการเมืองในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับชาติช่วงปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและพรรคชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคกิจสังคม

รรคกิจสังคม (Social Action Party) ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 โดย หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช โดยให้ชื่อว่า "กิจสังคม" โดยแปลตรงตัวจากภาษาอังกฤษ โดยนำชื่อพรรคมาจากพรรคการเมืองนี้ในประเทศอังกฤษ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 27,413 คน และมีสาขาพรรคจำนวน 4 สาขา หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ผู้ก่อตั้งพรรค และหัวหน้าพรรคคนแรกให้เหตุผลว.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและพรรคกิจสังคม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสหประชาไทย

รรคสหประชาไทย (ตัวย่อ: ส.ป.ท.) พรรคการเมืองในอดีตของประเทศไทยที่เคยเป็นพรรคที่ชนะการเลือกตั้งและเป็นพรรคที่เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาลก่อตั้งเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 24 ตุลาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและพรรคสหประชาไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)

รรคประชาชน (ชื่อเดิม พรรครักไทย) พรรคการเมืองไทยที่จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2526 ต่อมาในปี พ.ศ. 2530 พรรครักไทยได้เปลี่ยนแปลงชื่อพรรคเป็น พรรคประชาชน และในปี พ.ศ. 2531 ได้เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่นำโดยกลุ่มของนายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ที่ได้ย้ายเข้ามาสังกัดพรรคประชาชนและได้ให้คุณหญิงศศิมา ศรีวิกรม์ เป็นรักษาการหัวหน้าพรรคและนางสาวนิตยา ภูมิดิษฐ์ เป็นรักษาการเลขาธิการพรรค ต่อมาอีกเพียง 15 วัน ที่ประชุมใหญ่ได้มีมติเลือกให้นายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ เป็นหัวหน้าพรรค และนายวีระ มุสิกพงศ์ เป็นเลขาธิการพรรคแทน และมีแกนนำคนสำคัญ อาทิ นายเดโช สวนานนท์, นายไกรสร ตันติพงศ์, นายเลิศ หงษ์ภักดี, นายอนันต์ ฉายแสง, นายสุรใจ ศิรินุพงศ์, นายถวิล ไพรสณฑ์, นายพีรพันธุ์ พาลุสุข, นายสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์, นายกริช กงเพชร พรรคประชาชน ลงรับเลือกตั้งครั้งแรกในปี พ.ศ. 2531 ปรากฏว่าทางพรรคได้ที่นั่งทั้งสิ้น 19 ที่นั่ง พรรคประชาชนประกาศยุบพรรคเมื่อวันที่ 19 มกราคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและพรรคประชาชน (พ.ศ. 2531) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พิทักษ์ รังสีธรรม

ทักษ์ รังสีธรรม พิทักษ์ รังสีธรรม อดีตนักธุรกิจชาวไทยที่มีชื่อเสียง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง (ส.ส.ตรัง) 1 สมัย นายพิทักษ์ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2485 ที่จังหวัดตรัง จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่โรงเรียนทับเที่ยงฮั่วเฉียว และศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนตรังวิทยา จบไฮสกูลจากเมืองปีนัง ประเทศมาเลเซีย และสอบได้เกียรตินิยม จากนั้นได้ทำงานที่บริษัท มารูเบนิ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทของประเทศญี่ปุ่น ตามมาด้วยที่โรงแรมฟูจิ และที่สถานทูตประเทศสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย จากนั้น นายพิทักษ์ได้เดินทางกลับจังหวัดตรังบ้านเกิด ประกอบธุรกิจหมู่บ้านจัดสรร "รังสีวิลลา" ในเขตเทศบาลนครตรัง และยังประสบความสำเร็จในธุรกิจหลาย ๆ ด้าน เช่น โรงแรมเอ็ม.พี.รีสอร์ต หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ "โรงแรมเรือ", โรงยางพารา, เคเบิลทีวี, โรงเรียน เป็นต้น ในทางการเมือง นายพิทักษ์ ได้ลงสมัคร..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและพิทักษ์ รังสีธรรม · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475

การปฏิวัติสยาม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไท..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2492

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2492 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500

ประชาชนและบรรดานักศึกษาประท้วงการเลือกตั้ง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

วิเชียร คันฉ่อง

นายวิเชียร คันฉ่อง (เกิด 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2486) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง 6 สมัย และอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดตรัง.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและวิเชียร คันฉ่อง · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย

ผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 500 คน และแบ่งการได้มาออกเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จำนวน 350 คน และแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง โดยให้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวน 150 คน ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรูปแบบนี้ เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่โดยตรงในทางนิติบัญญัติ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ ก็ด้วยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และยังมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินด้วย เช่น การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม และการเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทั้งนี้ เป็นไปตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร จนถึงวันก่อนวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1 (15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2480) เป็นสภาผู้แทนราษฎรชุดแรกของไทย ได้มาจากการแต่งตั้งและเลือกตั้งโดยอ้อม สภาชุดแรกนี้อยู่ทำหน้าที่จนครบวาระ สภาพผู้แทนราษฎรไทยชุดถัดไปที่อยู่จนครบวาระโดยไม่ถูกยุบสภาหรือรัฐประหารคือ สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 7 และ 21.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10 (10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 219 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512 โดยมาจากการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดโดย จอมพลถนอม กิตติขจร เข้ายึดอำนาจตัวเอง เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 (26 มกราคม พ.ศ. 2518 - 12 มกราคม พ.ศ. 2519) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 269 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรง แบบผสม ระหว่างเขตกับแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 โดยมีสาเหตุมาจากพรรคการเมืองร่วมรัฐบาลขาดเอกภาพ ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรค ในการบริหารราชการแผ่นดิน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12 (4 เมษายน - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 279 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรง แบบผสม ระหว่างเขตกับแบ่งดขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน นำโดย พลเรือเอกสงัด ชลออยู่ เข้ายึดอำนาจการปกครองในประเทศ ในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13 (22 เมษายน พ.ศ. 2522 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2526) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 301 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรงและแบบผสม จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 19 มีนาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 (24 เมษายน พ.ศ. 2526 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 324 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 - 29 เมษายน พ.ศ. 2531) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 347 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 การเลือกตั้งในครั้งนี้ ยังคงเป็นรูปแบบทางตรง แบบแบ่งเขตและรวมเขต ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง ในแต่ละเขตเลือกตั้งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่เกินกว่า 3 คน และไม่น้อยกว่า 2 คน ถือเกณฑ์ราษฏร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 357 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยึดอำนาจจากการปกครองแผ่นดินของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17 (22 มีนาคม พ.ศ. 2535 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 360 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 17 สิ้นสุดสมาชิกภาพ เนื่องจากมีพระราชกฤษฎีกายุบสภา เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 (13 กันยายน พ.ศ. 2535 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 360 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 18 เกิดขึ้นภายหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ หลังจากนายอานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ประกาศยุบสภาให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 และถือเป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 2 ในรอบปี หรือที่เรียกกันติดปากว่า "การเลือกตั้ง 2535/2" นั่นเอง การเลือกตั้งในครั้งนี้ ยังคงเป็นรูปแบบทางตรง แบบแบ่งเขตและรวมเขต ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งหนึ่งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่เกินกว่า 3 คน และไม่น้อยกว่า 2 คน มีจำนวน..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 27 กันยายน พ.ศ. 2539) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 391 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2 (10 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 11 กันยายน พ.ศ. 2481) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 182 คน โดยประเภทที่ 1 มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 78 คนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 78 คน และมีการแต่งตั้งเพิ่ม 13 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก รัฐบาลพ่ายแพ้การลงมติในสภาฯ กรณี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 393 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 (6 มกราคม พ.ศ. 2544 - 5 มกราคม พ.ศ. 2548) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน โดยมีพรรคการเมืองที่ได้รับการเลือกตั้งสูงสุด คือ พรรคไทยรักไทย จำนวน 377 คน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 480 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 400 คน และการเลือกตั้งแบบสัดส่วน 80 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 500 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 375 คน และการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ 125 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 - 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 178 คน โดยประเภทที่ 1 มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 91 คนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 91 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติอาชญากรสงครามที่รัฐบาลเสนอ เพื่อให้ลงโทษผู้ก่อให้เกิดการปกครองตามลัทธิคอมมิวนิสต.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 (6 มกราคม พ.ศ. 2489 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 178 คน โดยมาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขต ครั้งแรกทั้งหมด 96 คน และ ครั้งที่สอง 82 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489 และ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน และ ครั้งที่สอง ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 178 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก พลเอกผิน ชุณหะวัณ เข้ายึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5 (29 มกราคม พ.ศ. 2491 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 246 คน โดยมาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 99 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 99 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก พลเอกผิน ชุณหะวัณ เข้ายึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6 (5 มิถุนายน พ.ศ. 2492 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 21 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 เพิ่มเติม จาก สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2492 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มเติม จำนวน 21 คน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 246 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 123 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 123 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดตามวาระ เนื่องจากสมาชิกประเภทที่ 1 สิ้นสุดสมาชิก.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8 (26 กุมภาพันธ์ - 16 กันยายน พ.ศ. 2500) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 283 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 160 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 160 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เข้ายึดอำนาจการปกครองประเทศ เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2500.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9 (15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 283 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 160 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 160 คน อยู่ในตำแหน่ง 5 ปี (ตามกฎหมายกำหนด) สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เข้ายึดอำนาจการปกครองประเทศ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย โล่สถาพรพิพิธ

มชาย โล่สถาพรพิพิธ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นประธานคณะกรรมาธิการตำรวจ ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสมชาย โล่สถาพรพิพิธ · ดูเพิ่มเติม »

สมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล

นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล (เกิด 24 เมษายน พ.ศ. 2502) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง 4 สมั.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล · ดูเพิ่มเติม »

สาทิตย์ วงศ์หนองเตย

ทิตย์ วงศ์หนองเตย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังหลายสมั.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสาทิตย์ วงศ์หนองเตย · ดูเพิ่มเติม »

สุกิจ อัถโถปกรณ์

นายแพทย์ สุกิจ อัถโถปกรณ์ (เกิด 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2496) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง 3 สมั.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและสุกิจ อัถโถปกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกันตัง

กันตัง เป็นอำเภอเก่าแก่อำเภอหนึ่งในจังหวัดตรัง คำว่า "กันตัง" สันนิษฐานว่าเป็นคำในภาษามลายู.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและอำเภอกันตัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอย่านตาขาว

อำเภอย่านตาขาว เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตรัง.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและอำเภอย่านตาขาว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอรัษฎา

อำเภอรัษฎา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตรัง.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและอำเภอรัษฎา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังวิเศษ

อำเภอวังวิเศษ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตรัง.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและอำเภอวังวิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสิเกา

อำเภอสิเกา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตรัง สิเกา อำเภอเล็กๆ อำเภอหนึ่ง อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดตรัง เมืองแห่งความสงบและธรรมชาติที่บริสุทธิ์ ที่มาของชื่อเมือง"สิเกา"นี้ หลายคนคงตีความไปต่างๆ นาๆ บ้างก็ว่ามีกงสี(บ้านพักชาวสวนยาง)เก่า เคยตั้งอยู่บริเวณนี้ บ้างก็ว่าคนจีนฮกเกี้ยนที่เคยอพยพมาจากสิงคโปร์และปีนังเข้ามาอยู่เรียกพื้นที่นี้ว่า"สี่เก้า" ต่อมาเพี้ยนเป็นสิเกา ซึ่งอย่างไรก็ตาม ที่มาของชื่อสิเกาที่น่าเชื่อถือ และได้รับการยอมรับมากที่สุดคือ คำว่า "สิเกา" เพี้ยนมาจากคำว่ากงสีเก่า เนื่องจากได้มีชาวจีนปีนัง ฮกเกี้ยน และประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาอาศัยประกอบอาชีพตัดไม้ขาย ต่อมาได้ตั้งโรงงานแปรรูปไม้ขึ้นที่ริมคลองสิเกา เพื่อนำไม้ คบ น้ำมันยาง ไม้ไผ่ และถ่านไม้โกงกางไปจำหน่ายยังต่างประเทศ และบรรทุกสินค้าอื่นๆ จากต่างประเทศเข้ามาจำหน่ายในอำเภอสิเกา ในยุคนั้นจึงมีผู้คนอาศัยอย่างหนาแน่น ต่อมาปริมาณไม้ลดลง ชาวจีนจึงเลิกกิจการกลับประเทศจีน บ้างก็ย้ายไปตั้งรกรากใหม่ ในตลาดทับเที่ยง(เทศบาลนครตรัง) บ้างก็เปลี่ยนไปทำไร่พริกไทย สวนยางพารา สวนมะพร้าว บ้างก็มีลูกเมียตั้งรกรากอยู่ที่ตำบลบ่อหิน (ตัวอำเภอปัจจุบัน) แต่ตัวโรงงานแปรรูปไม้หรือสถานที่ตั้งโรงงานยังมีอยู่ ชาวบ้านพากันเรียกว่า "กงสีเก่า" ต่อมานานวันเข้าก็เพี้ยนเป็น"สีเก่า" ผลสุดท้ายด้วยความเคยชินของสำเนียงใต้จึงได้เรียกเป็น"สิเกา หรืออีกแนวคิดหนึ่งก็คือที่ตั้งอำเภอนี้อยู่ใกล้ภูเขาสี่ลูก จึงเรียกหมู่บ้านนี้ว่า "บ้านสี่เขา" ต่อมาเพี้ยนเป็น"สีเกา" และ "สิเกา" ตามลำดับ อำเภอสิเกา ได้รับการสถาปนาเป็นอำเภอ ขึ้นต่อจากเมืองกันตัง(เมืองตรังในขณะนั้น) เมื่อปี..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและอำเภอสิเกา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหาดสำราญ

อำเภอหาดสำราญ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตรัง.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและอำเภอหาดสำราญ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอห้วยยอด

อำเภอห้วยยอด เป็นอำเภอเก่าแก่อำเภอหนึ่งในจังหวัดตรัง ที่มีชื่อเรียกว่า "ห้วยยอด" เนื่องมาจากภูมิประเทศของอำเภอห้วยยอด โดยคำว่า "ห้วย" หมายถึง ลำห้วยต่าง ๆ ซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำตรัง อันเป็นแม่น้ำสายหลักของจังหวัดที่พาดผ่านพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของอำเภอ ส่วนคำว่า "ยอด" หมายถึง ยอดเขาที่เรียงรายตลอดแนวทางด้านทิศตะวันออกของอำเภอ ซึ่งเรียกว่า ภูเขาบรรทัด โดยพื้นที่ห้วยน้ำและยอดเขาสลับกันไปมา จึงได้เรียกว่าห้วยยอดมาจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและอำเภอห้วยยอด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปะเหลียน

ปะเหลียน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตรัง.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและอำเภอปะเหลียน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนาโยง

นาโยง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตรัง เมื่อก่อนอำเภอนาโยงเป็นที่นาแปลงใหญ่ เรียกว่า "นาหลวง" หรือ "นาสามบึ้ง" และได้ตั้งเป็น กิ่งอำเภอนาโยง เมื่อวันที่ 1 เมษายน..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและอำเภอนาโยง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองตรัง

มืองตรัง ในอดีตเคยเป็นเมืองท่าค้าขายกับต่างประเทศ เป็นเมืองแรกที่มีต้นยางพารา โดยพระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) ได้นำพันธุ์มาจากมาเลเซียมาปลูกเป็นแห่งแรกของภาคใต้ เมื่อปี พ.ศ. 2442 และถือเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธคิดเป็นร้อยละ 93 นับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 5 และอื่น ๆ ร้อยละ 2.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

จัง จริงจิตร

ัง จริงจิตร เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง (ส.ส.ตรัง) คนแรก เกิดเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและจัง จริงจิตร · ดูเพิ่มเติม »

ทวี สุระบาล

นายทวี สุระบาล (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2491) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง 6 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและทวี สุระบาล · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤศจิกายน

วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังและ15 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยจากจังหวัดตรังเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดตรัง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »