โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มักนุส มันส์เคอ

ดัชนี มักนุส มันส์เคอ

น์ริช มักนุส มันส์เคอ (Heinrich Magnus Manske) เป็นเจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์อาวุโสที่สถาบันเวลล์คัมทรัสต์แซงเจอร์ ในเคมบริดจ์ สหราชอาณาจักร และเป็นนักพัฒนาซอฟต์แวร์รุ่นแรกของซอฟต์แวร์มีเดียวิก.

27 ความสัมพันธ์: ชาวเยอรมันฟลิคเกอร์การหาลำดับดีเอ็นเอการนำเสนอภาพข้อมูลภาษาพีเอชพีภาษาเพิร์ลมหาวิทยาลัยโคโลญมายเอสคิวเอลมาลาเรียมูลนิธิวิกิมีเดียมีเดียวิกิรัฐนอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลินวิกิพีเดียวิกิมีเดียคอมมอนส์วิกิสนเทศสัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนูอณูชีววิทยาจิมมี เวลส์คอมมอนส์ปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสประเทศเยอรมนีตะวันตกนักพัฒนาซอฟต์แวร์นูพีเดียแลร์รี แซงเจอร์โคโลญเคมบริดจ์เนเจอร์ (วารสาร)

ชาวเยอรมัน

วเยอรมัน (die Deutschen) ชื่อ กลุ่มคนเผ่าพันธุ์ โปรโต-เจอรมานิก ซึ่งมีถิ่นกำเนิดบริเวณจัตแลนด์และบริเวณอเลมันเนียซึ่งก็คือประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน ซึ่งสมัยก่อนชนชาติพวกนี้ถูกเรียกว่าชาวติวตันและชาวก๊อธปัจจุบันมีประชากรโดยรวม160ล้านคน ชาวเยอรมันจัดว่าเป็นเผ่าพันธุ์เดียวกันกับพวกชาวสแกนดิเนเวีย ชาวอังกฤษและชาวดัตช์ซึ่งจัดว่าเป็นพวกตระกูลเจอร์มานิก.

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและชาวเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ฟลิคเกอร์

ฟลิคเกอร์ ฟลิคเกอร์ (Flickr) เป็น เว็บไซต์สำหรับเก็บรูปภาพดิจิตัล โดยอัปโหลดจากผู้ใช้งาน และสามารถแบ่งปันให้ผู้อื่นดูได้ บริการของฟลิคเกอร์เป็นที่นิยมสำหรับผู้ที่ใช้เขียนบล็อก เนื่องจากสามารถนำรูปจากฟลิคเกอร์มาใช้ในบล็อกได้โดยตรง โดยเนื่องจากความสามารถในการแท็กเขียนคำอธิบายรูป และค้นหาตามชื่อที่เขียนโดยผู้ใช้งาน นอกจากผู้ใช้จะสามารถอัปโหลดไฟล์ภาพจากในเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว ยังสามารถอัปโหลดภาพโดยตรงจากโทรศัพท์มือถือ (Nokia Nseries) บางรุ่น ขึ้น Flickr ได้โดยตรงอีกด้ว.

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและฟลิคเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

การหาลำดับดีเอ็นเอ

การหาลำดับ DNA คือกระบวนการที่ทำขึ้นเพื่อหาลำดับของนิวคลีโอไทด์ในโมเลกุล DNA อย่างแม่นยำ ได้แก่ A(adenine) G(guanine) C(cytosine) และ T(thymine) ปัจจุบันมีการพัฒนาเทคนิกที่ทำให้การหาลำดับ DNA ทำได้อย่างรวดเร็ว นำไปสู่การพัฒนาองค์ความรู้ทางชีววิทยาและการแพทย์อย่างรวดเร็วก้าวกระโดด หมวดหมู่:อณูชีววิทยา หมวดหมู่:เทคโนโลยีชีวภาพ หมวดหมู่:ดีเอ็นเอ.

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและการหาลำดับดีเอ็นเอ · ดูเพิ่มเติม »

การนำเสนอภาพข้อมูล

การนำเสนอภาพข้อมูล วิกิพีเดียที่เป็นส่วนหนึ่งของเวิลด์ไวด์เว็บ การนำเสนอภาพข้อมูล หรือ การนำเสนอข้อมูลเชิงกราฟิก เป็นการศึกษาด้านนำเสนอข้อมูลจากภาพ หมายถึง "(การแสดง)ข้อมูลที่ถูกทำให้เป็นนามธรรมนามในลักษณะแบบแผนอย่างใดอย่างหนึ่ง รวมถึงแสดงคุณลักษณะหรือตัวแปรของหน่วยของข้อมูล"Michael Friendly (2008).

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและการนำเสนอภาพข้อมูล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพีเอชพี

ีเอชพี (PHP) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ในลักษณะเซิร์ฟเวอร์-ไซด์ สคริปต์ โดยลิขสิทธิ์อยู่ในลักษณะโอเพนซอร์ส ภาษาพีเอชพีใช้สำหรับจัดทำเว็บไซต์ และแสดงผลออกมาในรูปแบบ HTML โดยมีรากฐานโครงสร้างคำสั่งมาจากภาษา ภาษาซี ภาษาจาวา และ ภาษาเพิร์ล ซึ่ง ภาษาพีเอชพี นั้นง่ายต่อการเรียนรู้ ซึ่งเป้าหมายหลักของภาษานี้ คือให้นักพัฒนาเว็บไซต์สามารถเขียน เว็บเพจ ที่มีการตอบโต้ได้อย่างรวดเร็ว.

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและภาษาพีเอชพี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเพิร์ล

right ภาษาเพิร์ล (Perl) (ย่อมาจาก Practical Extraction and Report Language) เป็นภาษาโปรแกรมแบบไดนามิก พัฒนาโดยนายแลร์รี วอลล์ (Larry Wall) ในปี ค.ศ. 1987 เพื่อใช้งานกับระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ภาษาเพิร์ล นั้นถูกออกแบบมาให้ใช้งานได้ง่าย โครงสร้างของภาษาจึงไม่ซับซ้อน มีลักษณะคล้ายกับภาษาซี นอกจากนี้เพิร์ลยังได้แนวคิดบางอย่างมาจากเชลล์สคริปต์, ภาษา AWK, sed และ Lisp ปัจจุบันเวอร์ชันล่าสุดคือ 5.18.0.

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและภาษาเพิร์ล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยโคโลญ

มหาวิทยาลัยโคโลญ (Universität zu Köln; University of Cologne) เป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่แห่งหนึ่งของยุโรป และเป็นมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในเยอรมนี ตั้งอยู่ที่เมืองโคโลญ ประเทศเยอรมนี ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1388 ก่อนจะปิดตัวลงในปี..

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและมหาวิทยาลัยโคโลญ · ดูเพิ่มเติม »

มายเอสคิวเอล

MySQL (มายเอสคิวแอล) เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Management System) โดยใช้ภาษา SQL แม้ว่า MySQL เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส แต่แตกต่างจากซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สทั่วไป โดยมีการพัฒนาภายใต้บริษัท MySQL AB ในประเทศสวีเดน โดยจัดการ MySQL ทั้งในแบบที่ให้ใช้ฟรี และแบบที่ใช้ในเชิงธุรกิจ เมื่อปี..

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและมายเอสคิวเอล · ดูเพิ่มเติม »

มาลาเรีย

มาลาเรีย (malaria) หรือไข้จับสั่น ไข้ป่า ไข้ป้าง ไข้ร้อนเย็นหรือไข้ดอกสัก เป็นโรคติดเชื้อของมนุษย์และสัตว์อื่นที่มียุงเป็นพาหะ มีสาเหตุจากปรสิตโปรโตซัว (จุลินทรีย์เซลล์เดียวประเภทหนึ่ง) ในสกุล Plasmodium (พลาสโมเดียม) อาการทั่วไปคือ มีไข้ อ่อนเพลีย อาเจียนและปวดศีรษะ ในรายที่รุนแรงอาจทำให้ตัวเหลือง ชัก โคม่าหรือเสียชีวิตได้ โรคมาลาเรียส่งผ่านโดยการกัดของยุงเพศเมียในสกุล Anopheles (ยุงก้นปล่อง) และปกติอาการเริ่ม 10 ถึง 15 วันหลังถูกกัด หากไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม บุคคลอาจมีอาการของโรคในอีกหลายเดือนให้หลัง ในผู้ที่เพิ่งรอดจากการติดเชื้อ การติดเชื้อซ้ำมักมีอาการเบากว่า การต้านทานบางส่วนนี้จะหายไปในเวลาเป็นเดือนหรือปีหากบุคคลไม่ได้สัมผัสมาลาเรียอย่างต่อเนื่อง เมื่อถูกยุง Anopheles เพศเมียกัดจะนำเชื้อปรสิตจากน้ำลายของยุงเข้าสู่เลือดของบุคคล ปรสิตจะไปตับซึ่งจะเจริญเติบโตและสืบพันธุ์ มนุษย์สามารถติดเชื้อและส่งต่อ Plasmodium ห้าสปีชีส์ ผู้เสียชีวิตส่วนมากเกิดจากเชื้อ P. falciparum เพราะ P. vivax, P. ovale และ P. malariae โดยทั่วไปก่อให้เกิดมาลาเรียแบบที่รุนแรงน้อยกว่า สปีชีส์รับจากสัตว์ P. knowlesi พบมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การวินิจฉัยมาลาเรียตรงแบบทำโดยการตรวจเลือดด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยใช้ฟิล์มเลือดหรือการวินิจฉัยชนิดรวดเร็ว (rapid diagnostic test) ที่อาศัยแอนติเจน มีการพัฒนาวิธีซึ่งใช้ปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสเพื่อตรวจจับดีเอ็นเอของปรสิต แต่ยังไม่มีใช้แพร่หลายในพื้นที่ซึ่งมีโรคมาลาเรียทั่วไปเนื่องจากราคาแพงและซับซ้อน ความเสี่ยงของโรคลดได้โดยการป้องกันไม่ให้ถูกยุงกัด โดยใช้มุ้งหรือสารขับไล่แมลง หรือด้วยมาตรการควบคุมยุง เช่น การฉีดพ่นยาฆ่าแมลงหรือการระบายน้ำนิ่ง มียารักษาโรคหลายชนิดที่ป้องกันมาลาเรียในผู้ที่เดินทางไปยังบริเวณที่พบโรคมาลาเรียทั่วไป แนะนำให้ใช้ยารักษาโรคซัลฟาด็อกซีน/ไพริเมธามีนบางครั้งในทารกและหลังไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ในบริเวณซึ่งมีโรคมาลาเรียอัตราสูง โรคมาลาเรียยังไม่มีวัคซีน แต่กำลังพัฒนา การรักษาโรคมาลาเรียที่แนะนำ คือ การใช้ยาต้านมาลาเรียหลายชนิดร่วมกันซึ่งรวมอาร์ตีมิซินิน ยาชนิดที่สองอาจเป็นเมโฟลควิน ลูมีแฟนทรีนหรือซัลฟาด็อกซีน/ไพริเมธามีน อาจใช้ควินินร่วมกับด็อกซีไซคลินได้หากไม่มีอาร์ติมิซินิน แนะนำว่าในพื้นที่ซึ่งมีโรคมาลาเรียทั่วไป ให้ยืนยันโรคมาลาเรียหากเป็นไปได้ก่อนเริ่มการรักษาเนื่องจากความกังวลว่ามีการดื้อยาเพิ่มขึ้น มีการพัฒนาการดื้อยาในปรสิตต่อยาต้านมาลาเรียหลายชนิด เช่น P. falciparum ซึ่งดื้อต่อคลอโรควินได้แพร่ไปยังพื้นที่ซึ่งมีการระบาดมากที่สุด และการดื้อยาอาร์ทีมิซินินเป็นปัญหาในบางพื้นที่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โรคนี้แพร่หลายในเขตร้อนและอบอุ่นซึ่งอยู่เป็นแถบกว้างรอบเส้นศูนย์สูตร ซึ่งรวมพื้นที่แอฟริกาใต้สะฮารา ทวีปเอเชียและละตินอเมริกาบริเวณกว้าง โรคมาลาเรียมักสัมพันธ์กับความยากจนและยังอาจเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ในทวีปแอฟริกา มีการประเมินว่ามีการสูญเสีย 12,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปีเนื่องจากค่าใช้จ่ายสาธารณสุขเพิ่มขึ้น เสียความสามารถการทำงาน และผลเสียต่อการท่องเที่ยว องค์การอนามัยโลกประเมินว่ามีผู้ป่วย 198 ล้านคน ใน..

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและมาลาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิวิกิมีเดีย

ริษัทมูลนิธิวิกิมีเดีย (Wikimedia Foundation, Inc.; WMF) หรือ วิกิมีเดีย เป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรและองค์กรการกุศลสัญชาติอเมริกัน มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย ส่วนใหญ่เป็นที่รู้จักจากการเข้าร่วมในขบวนการวิกิมีเดีย และเป็นเจ้าของชื่อโดเมนอินเทอร์เน็ตของโครงการส่วนใหญ่ของขบวนการ เช่น วิกิพีเดีย มูลนิธินี้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2546 โดยจิมมี เวลส์ เพื่อให้เป็นหนทางหนึ่งในการหาเงินทุนให้แก่วิกิพีเดียและโครงการพี่น้องด้วยวิธีการที่ไม่แสวงหาผลกำไร ณ พ.ศ. 2558 มูลนิธิมีพนักงานกว่า 280 คน และมีรายได้ประจำปีเกินกว่า 75 ล้านดอลลาร์สหรัฐ คริสโตเฟอร์ เฮนเนอร์ (Christophe Henner) ได้เป็นประธานคณะกรรมการบริษัท ส่วนแคทเทอรีน มาเฮอร์ (Katherine Maher) ได้เป็นกรรมการบริหารตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2559.

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและมูลนิธิวิกิมีเดีย · ดูเพิ่มเติม »

มีเดียวิกิ

มีเดียวิกิ (MediaWiki) คือซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการจัดการข้อมูลในการทำเว็บไซต์ เป็นที่รู้จักดีในฐานะซอฟต์แวร์หลักสำหรับโครงการวิกิพีเดีย และโครงการในวิกิมีเดีย การทำงานของมีเดียวิกิโดยทำงานบนเซิร์ฟเวอร์เป็นหลัก โดยทำงานกับภาษาพีเอชพี และ MySQL โครงการวิกิพีเดียและโครงการอื่นในมูลนิธิวิกิมีเดีย ที่ปัจจุบันใช้งานมีเดียวิกิ ระยะ 3 ภายใต้ลิขสิทธิ์แบบ GFDL โดยซอฟต์แวร์ ถูกใช้ภายใต้ GPL.

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและมีเดียวิกิ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลิน

นอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลิน (Nordrhein-Westfalen) หรือ นอร์ทไรน์-เวสต์ฟาเลีย (North Rhine-Westphalia) ตัวย่อ NRW หมายถึง ดินแดนฝั่งตะวันตกทางตอนเหนือของแม่น้ำไรน์ เป็นรัฐที่ใหญ่ที่สุดในเยอรมนี มีประชากรกว่า 18 ล้านคน และสัดส่วนในรายได้ประชาชาติของรัฐคิดเป็นร้อยละ 22 ของรายได้ประชาชาติในเยอรมนี เมืองหลวงของรัฐได้แก่ เมืองดึสเซลดอร์ฟ เมืองสำคัญของรัฐ เช่น โคโลญ เกลเซนเคียร์เชิน เมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐ ได้แก่ บอนน์ ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าของประเทศเยอรมนีตะวันตก และอาเคิน เมืองมรดกโลก.

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและรัฐนอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลิน · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดีย

วิกิพีเดีย (Wikipedia, หรือ) เป็นสารานุกรมเนื้อหาเสรีหลายภาษาบนเว็บไซต์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงผลกำไร เนื้อหากว่า 35 ล้านบทความ (เฉพาะวิกิพีเดียภาษาอังกฤษมีเนื้อหากว่า 4.9 ล้านบทความ) เกิดขึ้นจากการร่วมเขียนของอาสาสมัครทั่วโลก ทุกคนที่สามารถเข้าถึงวิกิพีเดียสามารถร่วมแก้ไขได้แทบทุกบทความได้อย่างเสรี โดยมีผู้เขียนประจำราว 100,000 คน จนถึงเดือนเมษายน..

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและวิกิพีเดีย · ดูเพิ่มเติม »

วิกิมีเดียคอมมอนส์

ลโก้ของวิกิมีเดียคอมมอนส์ วิกิมีเดียคอมมอนส์ เป็นหนึ่งในโครงการของ มูลนิธิวิกิมีเดีย โดยจัดเก็บเนื้อหาที่เป็นรูปภาพ ไฟล์เสียง ไฟล์วิดีโอEndres, Joe, "Wiki websites wealth of information".

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและวิกิมีเดียคอมมอนส์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกิสนเทศ

วิกิสนเทศ (Wikidata) เป็นหนึ่งในโครงการของมูลนิธิวิกิมีเดีย ออกแบบมาเพื่อทำหน้าที่เป็นแหล่งข้อมูลร่วมกันสำหรับข้อมูลบางประเภท เช่น วันเกิด เป็นข้อมูลที่ตรวจสอบแล้ว และสามารถใช้ได้ในโครงการอื่น ๆ ของมูลนิธิวิกิมีเดีย เช่น วิกิพีเดีย การใช้ข้อมูลร่วมกันเช่นนี้คล้ายกับการที่วิกิมีเดียคอมมอนส์เป็นที่รวมไฟล์สื่อสำหรับโครงการอื่นในวิกิมีเดี.

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและวิกิสนเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู

รื่องหมายการค้าของกนู สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู หรือ กนูจีพีแอล หรือ จีพีแอล (GNU General Public License, GNU GPL, GPL) เป็นสัญญาอนุญาตสำหรับซอฟต์แวร์เสรี ที่ได้รับความนิยมสูงที่สุดในปัจจุบัน ฉบับแรกสุดเขียนโดย ริชาร์ด สตอลล์แมน เริ่มต้นใช้กับโครงการกนู ในปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991).

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและสัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู · ดูเพิ่มเติม »

อณูชีววิทยา

อณูชีววิทยา หรือ ชีววิทยาระดับโมเลกุล (molecular biology) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง และการทำงานของหน่วยพันธุกรรม ในระดับโมเลกุล เป็นสาขาที่คาบเกี่ยวกันระหว่างชีววิทยาและเคมี โดยเฉพาะสาขาพันธุศาสตร์และชีวเคมี อณูชีววิทยามุ่งเน้นศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างระบบต่างๆภายในเซลล์ ซึ่งรวมถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างการสังเคราะห์ ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ และ โปรตีน และรวมถึงว่าขบวนการเหล่านี้ถูกควบคุมอย่างไร.

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและอณูชีววิทยา · ดูเพิ่มเติม »

จิมมี เวลส์

มมี ดอนอล "จิมโบ" เวลส์ (Jimmy Donal "Jimbo" Wales) เกิดวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2509 เป็นผู้ประกอบการด้านอินเทอร์เน็ตชาวอเมริกัน และเป็นผู้ก่อตั้งวิกิพีเดีย ซึ่งเป็นสารานุกรมเนื้อหาเสรีบนอินเทอร์เน็ตที่เปิดให้ทุกคนร่วมมือกันแก้ไขได้.

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและจิมมี เวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

คอมมอนส์

อมมอนส์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและคอมมอนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรส

ั้นตอนการทำ PCR ปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรส (Polymerase chain reaction; ตัวย่อ: PCR) เป็นกระบวนการสังเคราะห์ชิ้นส่วนดีเอ็นเอในหลอดทดลอง ซึ่งกระบวนการนี้เลียนแบบกระบวนการสังเคราะห์ดีเอ็นเอในสิ่งมีชีวิต ผู้คิดค้นเทคนิคพีซีอาร์ คือ Kary Mullis พีซีอาร์ประกอบไปด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนีตะวันตก

ประเทศเยอรมนีตะวันตก (West Germany) เป็นคำเรียกอย่างไม่เป็นทางการของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในช่วงปี..

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและประเทศเยอรมนีตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

นักพัฒนาซอฟต์แวร์

ซึ่งในกลุ่มนี้อาจรวมถึงโปรแกรมเมอร์ฟรีแลนซ.

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและนักพัฒนาซอฟต์แวร์ · ดูเพิ่มเติม »

นูพีเดีย

ัญลักษณ์นูพีเดีย นูพีเดีย (Nupedia) เป็นสารานุกรมออนไลน์ก่อตั้งโดย จิมมี เวลส์ ผู้ก่อตั้งวิกิพีเดีย เนื้อหาของนูพีเดียถูกเขียนโดยผู้เชี่ยวชาญจากแต่ละสาขา โดยเปิดใช้งานครั้งแรกเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2543 แต่ได้ปิดตัวลงเมื่อ กันยายน พ.ศ. 2546 โดยโอนเนื้อหาทั้งหมดย้ายมาในโครงการวิกิพีเดีย ซึ่งทำให้นูพีเดียได้ชื่อว่าเป็นวิกิพีเดียรุ่นแรก ข้อมูลของนูพีเดียได้มีการถูกตรวจสอบความถูกต้องและหลักภาษาค่อนข้างสูง ถึงแม้ว่านูพีเดียจะเป็นต้นฉบับของวิกิพีเดีย แต่ซอฟต์แวร์ที่ใช้แตกต่างกัน โดยใช้ซอฟต์แวร์ชื่อ นูปโค้ด (NupeCode) ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์เสรีที่ใช้สำหรับโครงการเขียนหนังสือซึ่งมีระบบตรวจทาน (peer-review) แต่ปัญหาในการเชื่อมโยงที่ยากลำบาก ซอฟต์แวร์มีเดียวิกิจึงถูกเลือกมาใช้แทนที่ซอฟต์แวร์เดิม ซีเน็ตได้จัดให้นูพีเดียเป็นเว็บไซต์ยอดเยี่ยมที่ถูกปิดตัวลง.

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและนูพีเดีย · ดูเพิ่มเติม »

แลร์รี แซงเจอร์

แลร์รี แซงเจอร์ ลอว์เรนซ์ มาร์ก "แลร์รี" แซงเจอร์ (Lawrence Mark "Larry" Sanger) (16 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 —) เคยเป็นผู้จัดเตรียมสารานุกรมออนไลน์หลายเว็บไซต์ รู้จักกันดีในฐานะหนึ่งในผู้ก่อตั้งวิกิพีเดีย แลร์รี แซงเจอร์ เกิดที่เมือง เบลเลวิว รัฐวอชิงตัน และโตที่เมือง แองโคเรจ รัฐอะแลสกา ได้รับปริญญาตรีสาขาปรัชญาที่ มหาวิทยาลัยรีด และปริญญาเอกในสาขาเดิมที่ มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตต หัวข้อวิทยานิพนธ์ปริญญาตรีของเขาชื่อ Descartes' methods and their theoretical background และวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของเขานั้นกล่าวถึง Epistemic Circularity: An Essay on the Problem of Meta-Justification ในวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2549 แลร์รีประกาศจะเริ่มโครงการเว็บไซต์สารานุกรมตัวใหม่แยกตัวออกมาจากวิกิพีเดียในชื่อว่า ซิติเซนเดียม.

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและแลร์รี แซงเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โคโลญ

ลญ (Cologne) หรือ เคิลน์ (Köln) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับสี่ของประเทศเยอรมนี รองจากเบอร์ลิน ฮัมบวร์ค และมิวนิก และเป็นเมืองใหญ่ที่สุดของรัฐนอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลิน โคโลญเป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของเยอรมนี สร้างโดยชาวโรมัน มีประวัติศาสตร์ย้อนไปถึง ค.ศ. ​50 เมืองโคโลญตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำไรน์ มีอาสนวิหารโคโลญซึ่งเป็นโบสถ์ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกที่มีชื่อเสียง มหาวิทยาลัยโคโลญเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในทวีปยุโรป และเป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศ ตัวเมืองมีพื้นที่ 405.15 ตารางกิโลเมตร มีประชากรนับเฉพาะที่อาศัยในเขตเมือง 998,105 คน (ข้อมูลปี ค.ศ. 2009).

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและโคโลญ · ดูเพิ่มเติม »

เคมบริดจ์

มบริดจ์ (Cambridge) เป็นเมืองมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ในอังกฤษ สหราชอาณาจักร และเป็นศูนย์กลางการปกครองของเคมบริดจ์เชียร์ เมืองอยู่ห่างจากลอนดอนไปทางเหนือ-ตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ 80 กม. และห้อมล้อมไปด้วยเมืองและหมู่บ้านขนาดเล็กจำนวนหนึ่ง เมืองนี้ยังเป็นหัวใจของศูนย์เทคโนโลยีชั้นสูง ที่รู้จักกันในชื่อ ซิลิคอนเฟน (Silicon Fen) และเป็นส่วนสำคัญของเขตอุตสาหกรรมความรู้ ออกซ์ฟอร์ด-เคมบริดจ์อาร์ก (Oxford-Cambridge Arc) เมืองเคมบริดจ์เป็นที่รู้จักมากที่สุดจากการเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ จากการสำรวจสำมะโนประชากร เมื่อปี ค.ศ. 2001 มีประชากร 108,863 คน (รวมนักเรียน 22,153 คน).

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เนเจอร์ (วารสาร)

วารสาร''เนเจอร์''ฉบับแรก วันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1869 เนเจอร์ เป็นวารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: มักนุส มันส์เคอและเนเจอร์ (วารสาร) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

มักนุส มุนซเค

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »