โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วิกิพีเดีย

ดัชนี วิกิพีเดีย

วิกิพีเดีย (Wikipedia, หรือ) เป็นสารานุกรมเนื้อหาเสรีหลายภาษาบนเว็บไซต์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงผลกำไร เนื้อหากว่า 35 ล้านบทความ (เฉพาะวิกิพีเดียภาษาอังกฤษมีเนื้อหากว่า 4.9 ล้านบทความ) เกิดขึ้นจากการร่วมเขียนของอาสาสมัครทั่วโลก ทุกคนที่สามารถเข้าถึงวิกิพีเดียสามารถร่วมแก้ไขได้แทบทุกบทความได้อย่างเสรี โดยมีผู้เขียนประจำราว 100,000 คน จนถึงเดือนเมษายน..

136 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษบรรณาธิการบริหารบล็อกบุคคลสาธารณะบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์พ.ศ. 2544พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พจนานุกรมกอปปีเลฟต์การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเองการหลั่งน้ำอสุจิการใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2551กูเกิลภาษาพีเอชพีภาษาอังกฤษแบบบริติชภาษาอังกฤษแบบอเมริกันภาษาจาวาภาษาถิ่นภาษาเพิร์ลมหาวิทยาลัยมินนิโซตามหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดมหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอนมหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินมายสเปซมายเอสคิวเอลมาดริดมิเรอร์ไซต์มุฮัมมัดมูลนิธิวิกิมีเดียมูลนิธิซอฟต์แวร์เสรีมีเดียวิกิยูทูบระบบไฟล์เซตตะไบต์รัฐฟลอริดารัฐแคลิฟอร์เนียริชาร์ด สตอลล์แมนลิขสิทธิ์ลิงก์ลินุกซ์ลูซีนวัฒนธรรมประชานิยมวิกิวิกิพจนานุกรมวิกิพีเดียภาษาฝรั่งเศสวิกิพีเดียภาษาสเปนวิกิพีเดียภาษาอังกฤษวิกิพีเดียภาษาดัตช์...วิกิพีเดียภาษาไทยวิกิพีเดียภาษาเยอรมันวิกิมีเดียคอมมอนส์วิกิวิทยาลัยวิกิคำคมวิกิตำราวิทยาลัยดาร์ตมัธวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544สกอร์เปียนส์สมาคมคอมพิวเตอร์เอซีเอ็มสหรัฐสัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนูสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์สัญญาอนุญาตเอกสารเสรีของกนูสารานุกรมสารานุกรมบริตานิกาสารานุกรมหย่งเล่อสำนักงานสอบสวนกลางสงครามกลางเมืองอเมริกาสแลชดอตสแปมอะแพชี เว็บเซิร์ฟเวอร์อับราฮัม ลินคอล์นอัมสเตอร์ดัมอินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ตบอตอูบุนตูองค์การทรัพย์สินทางปัญญาแห่งโลกองค์การไม่แสวงหาผลกำไรอเล็กซาจิมมี เวลส์ข้อมูลเมทาดิกก์ดีมอซครีเอทีฟคอมมอนส์คลังปัญญาไทยคาบาลคุณ (บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์)ตัวแบบโอเพนซอร์ซซอฟต์แวร์ซานฟรานซิสโกซิติเซนเดียมประเทศมอริเชียสประเทศออสเตรียประเทศจีนประเทศเกาหลีใต้ประเทศเนเธอร์แลนด์นูพีเดียแลร์รี แซงเจอร์แหล่งปฐมภูมิแอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)โบมิสโลลิคอนโจรกรรมทางวรรณกรรมโซลโนลไมโครซอฟท์ไอพอดไอโฟนไทม์ไซเบอร์สเปซไป่ตู้ไป่เคอเฟซบุ๊กเกรียนเวียนนาเว็บ 2.0เว็บท่าเว็บไซต์เว็บเบราว์เซอร์เว็บเชิงความหมายเสิร์ชเอนจินเอนซีโกลเปเดียลีเบรอูนีเบร์ซัลเอนเอสปาญอลเฮฟวีเมทัลเดอะวอลล์สตรีทเจอร์นัลเดอะนิวยอร์กไทมส์เซิร์ฟเวอร์เนื้อหาเสรีเนื้อหาเปิดเนเจอร์ (วารสาร)14 ธันวาคม15 มกราคม21 เมษายน26 มกราคม26 ตุลาคม31 กรกฎาคม4 มกราคม ขยายดัชนี (86 มากกว่า) »

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

บรรณาธิการบริหาร

บรรณาธิการบริหาร (executive editor) หรือ บรรณาธิการใหญ่ (editor in chief) เป็นบรรณาธิการหลักของสิ่งตีพิมพ์หนึ่ง ๆ โดยเป็นผู้รับผิดชอบสูงสุดในด้านการดำเนินการและนโยบาย นอกเหนือจากนั้น บรรณาธิการบริหารยังต้องมอบหมายหน้าที่ให้แก่เจ้าหน้าที่เช่นเดียวกับรักษาเวลาที่จะทำให้งานออกมาเสร็จทันเวลา บรรณาธิการบริหารมักใช้กับหนังสือพิมพ์ นิตยสาร หนังสือรุ่น และรายการข่าวทางโทรทัศน์ และยังสามารถหมายความถึงวารสารวิชาการ โดยบรรณาธิการจะเป็นผู้ตัดสินใจว่าต้นฉบับที่ส่งเข้ามานั้นต้นฉบับใดจะได้รับการตีพิมพ์เป็นบทความในวารสาร การตัดสินใจดังกล่าวเกิดขึ้นหลังจากได้รับข้อมูลจากผู้ทบทวน ซึ่งได้รับเลือกตามทักษะความชำนาญในแต่ละด้าน หมวดหมู่:บรรณาธิการ หมวดหมู่:อาชีพ.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและบรรณาธิการบริหาร · ดูเพิ่มเติม »

บล็อก

ล็อก (blog) เป็นคำรวมมาจากคำว่า เว็บล็อก (weblog) เป็นรูปแบบเว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ซึ่งถูกเขียนขึ้นในลำดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุดไว้แรกสุด บล็อกโดยปกติจะประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงก์ ซึ่งบางครั้งจะรวมสื่อต่างๆ ไม่ว่า เพลง หรือวิดีโอ ในหลายรูปแบบได้ จุดที่แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะเปิดให้ผู้เข้ามาอ่านข้อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็นคนเขียน ซึ่งทำให้ผู้เขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดยทันที คำว่า "บล็อก" ยังใช้เป็นคำกริยาได้ซึ่งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผู้ที่เขียนบล็อกเป็นอาชีพก็จะถูกเรียกว่า "บล็อกเกอร์" บล็อกเป็นเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาหลากหลายขึ้นอยู่กับเจ้าของบล็อก โดยสามารถใช้เป็นเครื่องมือสื่อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ในหลายด้านไม่ว่า อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรือข่าวปัจจุบัน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่องส่วนตัวหรือจะเรียกว่าไดอารีออนไลน์ ซึ่งไดอารีออนไลน์นี่เองเป็นจุดเริ่มต้นของการใช้บล็อกในปัจจุบัน นอกจากนี้ตามบริษัทเอกชนหลายแห่งได้มีการจัดทำบล็อกของทางบริษัทขึ้น เพื่อเสนอแนวความเห็นใหม่ใหักับลูกค้า โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับข่าวสั้น และได้รับการตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้าไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ เว็บค้นหาบล็อกเทคโนราที ได้อ้างไว้ว่าปัจจุบันในอินเทอร์เน็ต มีบล็อกมากกว่า 112 ล้านบล็อกทั่วโลก.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและบล็อก · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลสาธารณะ

ลสาธารณะ (public figure) เป็นศัพท์ทางกฎหมายซึ่งใช้ในบริบทของความผิดฐานหมิ่นประมาท (การโฆษณาหมิ่นประมาทและการกล่าวหมิ่นประมาท) เช่นเดียวกันกับการล่วงละเมิดสิทธิส่วนบุคคล บุคคลสาธารณะ อย่างเช่น นักการเมือง ผู้มีชื่อเสียง หรือผู้นำธุรกิจ ไม่สามารถฟ้องร้องข้อความผิด ๆ ที่เป็นโทษได้ ยกเว้นจะมีหลักฐานชี้ว่านักเขียนหรือผู้ตีพิมพ์นั้นกระทำโดยมีเจตนามุ่งร้าย (รู้ถึงความผิดหรือไม่ใส่ใจต่อข้อเท็จจริงอย่างประมาทเลินเล่อ) ภาระการพิสูจน์ในความผิดฐานหมิ่นประมาทจะมีสูงกว่าในคดีของบุคคลสาธารณะ บุคคลสาธารณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่อยู่ในตำแหน่งสูงยิ่งขึ้นไปนั้น ถือเป็นบุคคลตัวอย่าง ที่ถือว่ามีอิทธิพลอย่างลึกซึ้งต่อพฤติกรรม วิถีชีวิต และวัฒนธรรมของประชากรทั่วไป.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและบุคคลสาธารณะ · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: วิกิพีเดียและบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรม

นานุกรม พจนานุกรม เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทหนึ่ง โดยทั่วไป หมายถึง หนังสือที่รวบรวบคำศัพท์ในวงศัพท์ที่กำหนด และนิยามความหมายเอาไว้ เพื่อใช้เป็นที่ค้นหาความหมายของคำ โดยมีการเรียงลำดับคำศัพท์ตามตัวอักษร ตามเสียง หรือตามลำดับอื่นๆ ที่เหมาะสมสอดคล้องกับการใช้พจนานุกรมนั้นๆ พจนานุกรมยังมีนัยถึงหนังสือที่ให้รายละเอียด ครอบคลุมวงศัพท์ที่กว้าง ขณะที่หนังสือรวบรวมและอธิบายคำศัพท์ในวงแคบและมีจำนวนจำกัด มักจะเรียกว่า ปทานุกรม อย่างไรก็ตาม คำว่าปทานุกรมและพจนานุกรมอาจใช้สลับกันได้ คำว่า พจนานุกรม เป็นการคิดคำขึ้น จาก พจน (คำพูด) และ อนุกรม (ลำดับ ระเบียบ ชั้น) รวมกันด้วยวิธีสมาส เป็น “พจนานุกรม” หมายถึง หนังสือที่รวบรวมและเรียงลำดับคำ(พูด) เอาไว้ อย่างไรก็ตาม คำว่า “พจนานุกรม” เป็นการสร้างขึ้นมาเพื่อแปลศัพท์ dictionary ในภาษาอังกฤษนั่นเอง.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและพจนานุกรม · ดูเพิ่มเติม »

กอปปีเลฟต์

ตัวอักษร c หันหลังกลับ สัญลักษณ์ของ copyleft เครื่องหมายลิขสิทธิ์ กอปปีเลฟต์ (Copyleft) หมายถึงกลุ่มของสัญญาอนุญาตของสิ่งต่าง ๆ รวมทั้ง ซอฟต์แวร์ เอกสาร เพลง งานศิลปะ โดยอ้างอิงกฎหมายลิขสิทธิ์เป็นแนวเปรียบเทียบ ในการจำกัดสิทธิในการคัดลอกงานและเผยแพร่งาน โดยสัญญาอนุญาตกลุ่ม copyleft มอบเสรีภาพให้ทุกคนสามารถคัดลอก ดัดแปลง ปรับปรุง และจำหน่ายงานได้ โดยมีเงื่อนไขว่าต้องยังคงรักษาเสรีภาพเดียวกันนี้ในงานที่ดัดแปลงแก้ไขมาจากงานดังกล่าว อาจจะมองได้ว่าลักษณะพิเศษของ copyleft คือการที่เจ้าของลิขสิทธิ์ยอมสละสิทธิบางอย่าง (ที่ได้รับการคุ้มครอง) ภายใต้กฎหมายลิขสิทธิ์แต่ไม่ทั้งหมด แทนที่เจ้าของลิขสิทธิ์จะปล่อยงานของเขาออกมาภายในพื้นที่สาธารณะโดยสมบูรณ์ (นั่นคือไม่สงวนสิทธิ์ใด ๆ) copyleft จะให้เจ้าของสามารถกำหนดข้อจำกัดหรือเงื่อนไขทางด้านลิขสิทธิ์บางประการ สำหรับผู้ที่ต้องการมีส่วนร่วมในงานอันมีลิขสิทธิ์นี้ โดยถ้าผู้นั้นไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขนี้แล้ว จะถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ เงื่อนไขเพื่อที่จะไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ภายใต้ copyleft นี้ ได้แก่ การที่ผู้ที่ใช้สอยผลงานจะต้องรักษาสิทธิภายใต้ copyleft นี้ไว้ดังเดิมอย่างถาวร ด้วยเหตุนี้ สัญญาอนุญาต copyleft จึงถูกเรียกว่าเป็น สัญญาอนุญาตต่างตอบแทน (reciprocal licenses) สัญลักษณ์ของ copyleft เป็นตัวอักษร c หันหลังกลับ (ɔ) โดยไม่ได้มีความหมายอะไรเป็นพิเศษนอกจากการตรงกันข้ามกับ copyright โดยล้อกับอีกความหมายหนึ่งของคำว่า right ที่แปลว่า ขวา ในภาษาไทย ยังไม่มีคำที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปสำหรับ copyleft สมเกียรติ ตั้งนโม นักวิชาการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ใช้ว่า "ลิขซ้าย" คงการล้อ ขวา-ซ้าย ไว้หน้าแรก มีข้อความ "ลิขซ้าย 2548, 2549, 2550: สมเกียรติ ตั้งนโม" ส่วน สมชาย ปรีชาศิลปกุล อาจารย์นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ใช้คำว่า "นิรสิทธิ์" หมายถึง ระบบที่ไม่มีหรือไม่ให้สิทธิคุ้มครอง, ประชาไท, 5 เม..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและกอปปีเลฟต์ · ดูเพิ่มเติม »

การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง

การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง หรือ อัตกาม (masturbation) หรือที่มักเรียกว่าการช่วยตัวเอง คือการกระตุ้นอวัยวะเพศของตนเองเพื่อให้เกิดอารมณ์ทางเพศหรือความพอใจอื่น ๆ ปกติจะทำจนถึงความเสียวสุดยอดทางเพศ การกระตุ้นอาจใช้มือ นิ้วมือ วัตถุในชีวิตประจำวัน เซ็กซ์ทอย หรือหลายอย่างร่วมกัน การสำเร็จความใคร่ร่วมกัน (กระตุ้นทางเพศด้วยตนเองร่วมกับผู้อื่น) สามารถแทนการสอดใส่ได้ จากการศึกษาพบว่าการสำเร็จความใคร่ด้วยตนเองพบมากในมนุษย์ทุกเพศ และทุกวัย กิจกรรมการสำเร็จความใคร่นับว่ามีประโยชน์ทางการแพทย์และจิตวิทยา ยังไม่มีความสัมพันธ์เหตุภาพระหว่างการสำเร็จความใคร่กับความผิดปกติทางจิตหรือทางร่างกายใด ๆ มีการพรรณนาถึงการสำเร็จความใคร่ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และมีการพูดถึงและอภิปรายถึงในงานเขียนยุคแรก ๆ ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 นักเทววิทยาและหมอชาวยุโรปมองว่า "น่าเกลียด" "น่าตำหนิ" และ "น่ากลัว" แต่ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ข้อห้ามดังกล่าวเริ่มลดความสำคัญลง มีการอภิปรายและพรรณนาถึงการสำเร็จความใคร่ในงานศิลปะ ดนตรีสมัยนิยม โทรทัศน์ ภาพยนตร์ และวรรณกรรม ในปัจจุบัน ศาสนาต่าง ๆ มีมุมมองต่อการสำเร็จความใคร่ที่แตกต่างกัน บางศาสนามองว่าเป็นกิจกรรมที่เป็นภัยต่อจิตใจ บางศาสนามองว่าไม่เป็นภัยดังกล่าว และบางศาสนามองต่างกันตามสถานการณ์ การสำเร็จความใคร่ในทางกฎหมายมีความแตกต่างตามช่วงประวัติศาสตร์ และการสำเร็จความใคร่ในที่สาธารณะในหลายประเทศนับเป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย ในโลกตะวันตก การช่วยตัวเองคนเดียวหรือกับคู่รักนับถือเป็นเรื่องปกติและนับเป็นส่วนหนึ่งของการมีความสุขทางเพศ การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเองยังถูกพบในสัตว์หลายสายพันธุ์ทั้งในถิ่นที่อยู่และในกรงขัง.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและการสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง · ดูเพิ่มเติม »

การหลั่งน้ำอสุจิ

ต่อเนื่อง การหลั่งน้ำอสุจิ (http://commons.wikimedia.org/wiki/Image:Ejaculation_educational_ani_short.gif วิดีโอวนซ้ำ) การหลั่งน้ำอสุจิ (ejaculation) คือการหลั่งน้ำอสุจิออกจากองคชาต มักเกิดพร้อมกับการถึงจุดสุดยอดทางเพศ ถือเป็นด่านสุดท้ายและเป็นเป้าหมายทางธรรมชาติของการเร้าอารมณ์ทางเพศการเร้าอารมณ์ทางเพศ (sexual stimulation) เป็นตัวกระตุ้นอะไรก็ได้ รวมทั้งสัมผัสทางกาย ที่เพิ่มและรักษาอารมณ์เพศ ซึ่งอาจนำไปสู่การหลั่งน้ำอสุจิและ/หรือจุดสุดยอดทางเพศในที่สุด ถึงแม้ว่าอารมณ์เพศอาจเกิดขึ้นได้โดยไม่ต้องอาศัยการกระตุ้น แต่จะถึงจุดสุดยอดทางเพศได้ ปกติต้องมีการกระตุ้นทางเพศ และเป็นสิ่งที่จำเป็นในการให้เกิดปฏิสนธิ (คือการตั้งครรภ์) การหลั่งอาจเกิดขึ้นได้เพราะโรคในต่อมลูกหมาก แม้จะเป็นกรณีที่หายาก และบางครั้งอาจเกิดขึ้นเองในขณะหลับ (เป็นการหลั่งในช่วงกลางคืน หรือที่เรียกว่า ฝันเปียก) มีภาวะหลายอย่างที่ทำให้ไม่สามารถหลั่งน้ำอสุจิ (เช่นอวัยวะเพศชายไม่แข็งตัว) หรือที่ทำให้เกิดมีความเจ็บปวดไม่รู้สึกสบายเมื่อมีการหลั่งน้ำอ.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและการหลั่งน้ำอสุจิ · ดูเพิ่มเติม »

การใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบ

การใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบ (fair use) เป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายลิขสิทธิ์สหรัฐอเมริกา ที่อนุญาตให้การอ้างถึง หรือการนำเนื้อหาที่มีลิขสิทธิ์ไปประกอบในงานของผู้อื่น สามารถทำได้บนเงื่อนไขบางประการ คำว่า "ใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบ" นี้เป็นเรื่องเฉพาะของสหรัฐอเมริกา แม้ในประเทศอื่นอาจจะมีหลักการที่คล้าย ๆ กันอยู่บ้างก็ตาม ซึ่งใช้งานโดยชอบธรรมไม่มีผลตามกฎหมายในประเทศไทย การใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบ เป็นหลักการที่อนุญาตให้ใช้เนื้อหาที่มีลิขสิทธิ์โดยไม่ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ ตัวอย่างการใช้งาน เช่น ใช้ในการวิจารณ์ เสิร์ชเอนจิน การล้อเลียน การรายงานข่าว งานวิจัย การเรียนการสอน การเก็บงานเอกสาร เป็นต้น การใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบ ประกอบด้วย การใช้โลโก้หรือสัญลักษณ์ทางการค้า หรือการนำภาพส่วนใดส่วนหนึ่งของภาพยนตร์ หรือปกหนังสือไปใช้งานในความละเอียดต่ำหรือมีขนาดเล็ก โดยไม่ทำให้ก่อให้เกิดความเสียหายของสินค้า หรือทำให้สินค้านั้นขาดรายได้.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและการใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบ · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2551

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริก..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

กูเกิล

กูเกิล (Google Inc.) (และ) เป็นบริษัทมหาชนอเมริกัน มีรายได้หลักจากการโฆษณาออนไลน์ที่ปรากฏในเสิร์ชเอนจินของกูเกิล อีเมล แผนที่ออนไลน์ ซอฟต์แวร์จัดการด้านสำนักงาน เครือข่ายออนไลน์ และวิดีโอออนไลน์ รวมถึงการขายอุปกรณ์ช่วยในการค้นหา กูเกิลสำนักงานใหญ่ที่รู้จักในชื่อกูเกิลเพล็กซ์ตั้งอยู่ที่เมืองเมาน์เทนวิว รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยมีพนักงาน 16,805 คน (31 ธันวาคม 2550) โดยกูเกิลเป็นบริษัทอเมริกันที่ใหญ่ที่สุดที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของดัชนีดาวโจนส์ (ข้อมูล 31 ตุลาคม พ.ศ. 2550) กูเกิลก่อตั้งโดย แลร์รี เพจ และ เซอร์เกย์ บริน ขณะที่ทั้งคู่กำลังศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ซึ่งภายหลังทั้งคู่ได้ก่อตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2541 ในโรงจอดรถของเพื่อนที่ เมืองเมนโลพาร์ก ในรัฐแคลิฟอร์เนีย และมีการเสนอขายหุ้นใหม่แก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก เมื่อ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2547 เพิ่มมูลค่าของบริษัท 1.67 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และหลังจากนั้นทางกูเกิลได้มีการขยายตัวตลอดเวลาจากการพัฒนาซอฟต์แวร์ใหม่และการซื้อกิจการอื่นรวมเข้ามา เช่น กูเกิล ดีปไมด์ รวมถึงก่อตั้งบริษัทลูกอย่างกูเกิล เอกซ์กูเกิลได้ถูกจัดอันดับให้เป็นบริษัทที่น่าทำงานมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาโดยนิตยสารฟอร์จูน"." นิตยสารฟอร์จูน 22 มกราคม พ.ศ. 2550 เรียกข้อมูลวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2551 ซึ่งมีคติพจน์ประจำบริษัทคือ Don't be evil อย่างไรก็ตามทางบริษัทได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ในด้านการละเมิดข้อมูลส่วนตัว การละเมิดลิขสิทธิ์ และการเซ็นเซอร์ในหลายส่วน วันที่ 10 สิงหาคม..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและกูเกิล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพีเอชพี

ีเอชพี (PHP) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ในลักษณะเซิร์ฟเวอร์-ไซด์ สคริปต์ โดยลิขสิทธิ์อยู่ในลักษณะโอเพนซอร์ส ภาษาพีเอชพีใช้สำหรับจัดทำเว็บไซต์ และแสดงผลออกมาในรูปแบบ HTML โดยมีรากฐานโครงสร้างคำสั่งมาจากภาษา ภาษาซี ภาษาจาวา และ ภาษาเพิร์ล ซึ่ง ภาษาพีเอชพี นั้นง่ายต่อการเรียนรู้ ซึ่งเป้าหมายหลักของภาษานี้ คือให้นักพัฒนาเว็บไซต์สามารถเขียน เว็บเพจ ที่มีการตอบโต้ได้อย่างรวดเร็ว.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและภาษาพีเอชพี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษแบบบริติช

ภาษาอังกฤษแบบบริติช (British English, BrE) เป็นคำที่ใช้แยกแยะรูปแบบของภาษาอังกฤษที่ใช้ในหมู่เกาะบริเตน (British Isles) และที่ใช้ในภูมิภาคอื่น ๆ คำว่า "ภาษาอังกฤษแบบบริติช" นี้ ยังหมายรวมถึงภาษาถิ่นย่อยทั้งหมดของภาษาอังกฤษ ทั้งที่ใช้ในหมู่เกาะบริเตนทั้งหมด (รวมสกอตแลนด์ ไอร์แลนด์ และเวลส์ด้วย) คำนี้มักจะนิยมใช้เป็นพิเศษในหมู่ชาวอเมริกัน (รวมทั้งนักภาษาศาสตร์และนักเขียนพจนานุกรม) ส่วนชาวอังกฤษนั้น ปกติแล้วจะใช้คำว่า "ภาษาอังกฤษมาตรฐาน" (Standard English) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า "ภาษาอังกฤษ" (English) เท่านั้น ความแตกต่างเด่นที่สุดของภาษาอังกฤษแบบบริติชกับภาษาอังกฤษแบบอเมริกันคือ แบบบริติชจะออกเสียงคำอย่างตรงตัว a จะออกเป็น อา ตรง ๆ ไม่ออกว่า แอ อย่างแบบอเมริกัน เสียง t จะเน้นมาก และชาวสหราชอาณาจักรจะไม่นิยมการออกเสียงตัว r ท้ายคำ ถึงออกก็เพียงออกไปนิดเดียว นอกจากนั้นอังกฤษแบบบริติชจะออกเสียงลงคอดั่งเช่นภาษาเยอรมันและภาษาฝรั่งเศส เช่นคำว่า schedule ซึ่งภาษาอังกฤษแบบบริติชจะมีออกเสียงลงคอตรงท่อน sche ซึ่งเป็นเสียงควบระหว่าง ซ กับ ค หมวดหมู่:ภาษาอังกฤษ หมวดหมู่:ภาษาถิ่น.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและภาษาอังกฤษแบบบริติช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน

ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน (American English, AmE) เป็นกลุ่มของภาษาถิ่นของภาษาอังกฤษที่ใช้ในสหรัฐอเมริกาเป็นส่วนใหญ่ ประมาณสองในสามของเจ้าของภาษาอังกฤษอาศัยอยู่ในสหรัฐ พจนานุกรมเล่มแรกของภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน เขียนโดยโนอาห์ เว็บสเตอร์ ในปี ค.ศ. 1828 แสดงถึงข้อแตกต่างระหว่างภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน และอังกฤษดั้งเดิมที่มาจากบริเตน ข้อแตกต่างที่เว็บสเตอร์เขียนรวมถึง การสะกดคำ เช่นคำว่า center แทนคำว่า centre และ color แทน colour และการอ่านออกเสียงต่าง ๆ ตัวอย่างคำศัพท์หลายคำที่มีต้นกำเนิดมาจากภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน ซึ่งได้แก่ OK (โอเค), blizzard (บลิซซาร์ด) และ teenager (วัยรุ่น) หมวดหมู่:ภาษาอังกฤษ หมวดหมู่:สหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ภาษาถิ่น.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจาวา

ลโก้ของภาษาจาวา ภาษาจาวา (Java programming language) เป็นภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming) พัฒนาโดย เจมส์ กอสลิง และวิศวกรคนอื่นๆ ที่ ซัน ไมโครซิสเต็มส์ ภาษาจาวาถูกพัฒนาขึ้นในปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) โดยเป็นส่วนหนึ่งของ โครงการกรีน (the Green Project) และสำเร็จออกสู่สาธารณะในปี พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) ซึ่งภาษานี้มีจุดประสงค์เพื่อใช้แทนภาษาซีพลัสพลัส (C++) โดยรูปแบบที่เพิ่มเติมขึ้นคล้ายกับภาษาอ็อบเจกต์ทีฟซี (Objective-C) แต่เดิมภาษานี้เรียกว่า ภาษาโอ๊ก (Oak) ซึ่งตั้งชื่อตามต้นโอ๊กใกล้ที่ทำงานของ เจมส์ กอสลิง แต่ว่ามีปัญหาทางลิขสิทธิ์ จึงเปลี่ยนไปใช้ชื่อ "จาวา" ซึ่งเป็นชื่อกาแฟแทน และแม้ว่าจะมีชื่อคล้ายกัน แต่ภาษาจาวาไม่มีความเกี่ยวข้องใด ๆ กับภาษาจาวาสคริปต์ (JavaScript) ปัจจุบันมาตรฐานของภาษาจาวาดูแลโดย Java Community Process ซึ่งเป็นกระบวนการอย่างเป็นทางการ ที่อนุญาตให้ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกำหนดความสามารถในจาวาแพลตฟอร์มได้.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและภาษาจาวา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาถิ่น

ษาถิ่น หรือ สำเนียง คือ ภาษาเฉพาะของท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งที่มีรูปลักษณะเฉพาะตัวทั้งถ้อยคำและสำเนียงเป็นต้น เช่น ในแต่ละภาคของประเทศไทยมีภาษาถิ่นประจำภาคนั้น ดังนี้ ภาคเหนือมีภาษาถิ่นพายัพเช่น ปิ๊กบ้าน ภาคอีสานมีภาษาถิ่นอีสานเช่น เมื่อบ้าน ภาคใต้มีภาษาถิ่นใต้เช่น หลบเริน (แผลงมาจาก "กลับเรือน") และภาคกลางมีภาษาไทยกลางเช่น กลับบ้าน เป็นต้น ทั้งนี้ ทุกภาษาถิ่นในประเทศไทยคงใช้คำศัพท์และไวยากรณ์ที่สอดคล้องกัน แต่มักจะแตกต่างกันในเรื่องของวรรณยุกต์ ถ้อยคำ และสำเนียง เป็นต้น ซึ่งนับเป็นเอกลักษณ์ของภาษาถิ่นนั้น หากพื้นที่ของผู้ใช้ภาษานั้นกว้างก็จะมีภาษาถิ่นหลากหลาย และมีภาษาถิ่นย่อย ๆ ลงไปอีก ซึ่งภาษาถิ่นนั้นมักเป็นเรื่องของภาษาพูดหรือภาษาท่าทาง มากกว่า การกำหนดภาษาหลักหรือภาษาถิ่นนั้น นักภาษาศาสตร์จะพิจารณาคุณลักษณะในเชิงภาษาเท่านั้น ตัวอย่างเช่น ภาษาไทย และภาษาลาวถือว่าต่างก็เป็นภาษาถิ่นของกันและกัน (อาจนับภาษาใดภาษาหนึ่งเป็นภาษาหลักก็ได้ โดยไม่มีนัยสำคัญทางภาษาศาสตร์) แต่เนื่องจากภาษาถิ่นทั้งสองอยู่ในพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของสองประเทศ โดยทั่วไปจึงถือว่าเป็นคนละภาษา;แนวคิดในการจำแนกภาษาถิ่นนั้น มักพิจารณาจาก.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและภาษาถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเพิร์ล

right ภาษาเพิร์ล (Perl) (ย่อมาจาก Practical Extraction and Report Language) เป็นภาษาโปรแกรมแบบไดนามิก พัฒนาโดยนายแลร์รี วอลล์ (Larry Wall) ในปี ค.ศ. 1987 เพื่อใช้งานกับระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ภาษาเพิร์ล นั้นถูกออกแบบมาให้ใช้งานได้ง่าย โครงสร้างของภาษาจึงไม่ซับซ้อน มีลักษณะคล้ายกับภาษาซี นอกจากนี้เพิร์ลยังได้แนวคิดบางอย่างมาจากเชลล์สคริปต์, ภาษา AWK, sed และ Lisp ปัจจุบันเวอร์ชันล่าสุดคือ 5.18.0.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและภาษาเพิร์ล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมินนิโซตา

ัณฑ์ศิลปะไวส์แมน ในมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมินนิโซตา ทวินซิตีส์ (University of Minnesota, Twin Cities) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐในสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2394 (ค.ศ. 1851) โดยมีแคมปัสอยู่ในสองเมืองที่ติดกัน คือเมืองเซนต์พอลและมินนิแอโพลิส ในรัฐมินนิโซตา ซึ่งเป็นที่มาของชื่อทวินซิตีส์ โดยมีรถโดยสารรับส่งนักศึกษาของมหาวิทยาลัยระหว่างสองแคมปัส ในปัจจุบัน (ปี พ.ศ. 2548 เทอมฤดูใบไม้ร่วง) มหาวิทยาลัยมินนิโซตามีนักศึกษา 51,175 คน มากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ รองลงมาจากมหาวิทยาลัยแอริโซนาสเตต มหาวิทยาลัยมินนิโซตามีชื่อเสียงในด้านวิชาการหลายด้าน รวมถึงด้านวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งคณะวิศวกรรมเคมี ได้ถูกจัดเป็นอันดับ 1 ของสหรัฐอเมริกาโดยนิตยสารยูเอสนิวส์ นอกจากนี้ยังมีวิศวกรรมเครื่องกลที่อยู่อันดับที่ 8 และคณะอื่นที่ติดอันดับต้น ๆ ของประเทศ ได้แก่ ภูมิศาสตร์ จิตวิทยา เศรษฐศาสตร์ และบริหารธุรกิจ (เอ็มบีเอ) ในด้านกีฬามหาวิทยาลัยอยู่ในกลุ่มบิ๊กเทน.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและมหาวิทยาลัยมินนิโซตา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University อ่านว่า ฮารฺเวิรฺด) มหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกาได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลก แห่งหนึ่งและเป็นหนึ่งมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา โดยก่อตั้งเมื่อปี 8 กันยายน พ.ศ. 2179 (ค.ศ. 1636) มีอายุครบ 370 ปีใน พ.ศ. 2549 ฮาร์วาร์ดเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยในกลุ่มไอวีลีก โดยในปี..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน

อาคารเรียนคณะวิทยาการคอมพิวเตอร์ แอนดรูว์ คาร์เนกี ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยเทคนิคคาร์เนกี มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน (Carnegie Mellon University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ในเมืองพิตซ์เบิร์ก รัฐเพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2510 โดยสถาบันเทคโนโลยีคาร์เนกี และสถาบันวิจัยอุตสาหกรรมเมลลอน คาร์เนกีเมลลอนรู้จักในชื่อมหาวิทยาลัยชั้นนำแห่งหนึ่งในโลกในด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และการแสดง บุคลากรจากคาร์เนกีเมลลอนได้รับรางวัลโนเบล 13 รางวัล รางวัลทัวริง 8 รางวัล รางวัลเอมมี 7 รางวัล รางวัลออสการ์ 3 รางวัล และ รางวัลโทนี 4 รางวัล.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและมหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสติน

น้ำพุอีสต์มอลล์ และหอนาฬิกามหาวิทยาลัยเทกซัส มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสติน (The University of Texas at Austin) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาลตั้งอยู่ที่เมืองออสติน ใน รัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2426 (ค.ศ. 1883) เป็นหนึ่งในระบบของมหาวิทยาลัยเทกซัสที่มีด้วยกันทั้งหมด 9 วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทกซัสได้ชื่อว่าเป็นมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาที่มีนักศึกษามากที่สุด ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2548) มีนักศึกษามากกว่า 50,000 คน และอาจารย์และเจ้าหน้าที่มากกว่า 20,000 คน มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสติน ในปี..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและมหาวิทยาลัยเทกซัส ออสติน · ดูเพิ่มเติม »

มายสเปซ

มายสเปซ (MySpace) เป็นเว็บไซต์ในรูปแบบของเครือข่ายชุมชนออนไลน์ ชื่อดังเว็บหนึ่ง ให้บริการทำเว็บส่วนตัว บล็อก การเก็บ ภาพ วิดีโอ ดนตรี และเชื่อมโยงเข้ากับกลุ่มคนอื่น มายสเปซมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ เบเวอร์ลีย์ฮิลส์ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา มายสเปซก่อตั้งเมื่อ สิงหาคม พ.ศ. 2546 โดย ทอม แอนเดอร์สัน และ คริสโตเฟอร์ เดอโวล์ฟ ในปัจจุบัน มายสเปซมีพนักงานกว่า 300 คน และในตัวเว็บไซต์มีผู้ลงทะเบียนมากกว่า 100 ล้านคน และมีผู้ลงทะเบียนใหม่ประมาณ 200,000 คนต่อวัน.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและมายสเปซ · ดูเพิ่มเติม »

มายเอสคิวเอล

MySQL (มายเอสคิวแอล) เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Management System) โดยใช้ภาษา SQL แม้ว่า MySQL เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส แต่แตกต่างจากซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สทั่วไป โดยมีการพัฒนาภายใต้บริษัท MySQL AB ในประเทศสวีเดน โดยจัดการ MySQL ทั้งในแบบที่ให้ใช้ฟรี และแบบที่ใช้ในเชิงธุรกิจ เมื่อปี..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและมายเอสคิวเอล · ดูเพิ่มเติม »

มาดริด

มาดริด (Madrid) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศสเปน มีประชากรอาศัยในตัวเมืองประมาณ 3.2 ล้านคน(ตัวเลขเมื่อปี 2005) และประชากรในเขตเมืองทั้งหมดประมาณ 6 ล้านคน (ตัวเลขเมื่อปี 2006) มาดริดยังเป็นเมืองหลวงของจังหวัดมาดริดด้ว.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและมาดริด · ดูเพิ่มเติม »

มิเรอร์ไซต์

มิเรอร์ไซต์ (mirror site) ในอินเทอร์เน็ต คือไซต์ที่แสดงข้อมูล หรือเก็บข้อมูลแบบเดียวกันกับไซต์หลักของมัน มีหน้าที่เพื่อแบ่งเบาภาระการทำงานของไซต์หลัก อาจจะเป็นส่วนหนึ่งของไซต์หลัก หรือเป็นส่วนหนึ่งของไซต์อื่นก็ได้.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและมิเรอร์ไซต์ · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด

นบีมุฮัมมัด หรือ มุหัมมัด หรือ พระมะหะหมัด (محمد แปลว่า ผู้ได้รับการสรรเสริญ) เป็นนบีคนสุดท้ายของศาสนาอิสลาม ที่อัลลอฮ์ทรงแต่งตั้ง ท่านมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกหลายชื่อ เช่น มุสตอฟา, ฏอฮา, ยาซีน และ อะฮฺมั.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและมุฮัมมัด · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิวิกิมีเดีย

ริษัทมูลนิธิวิกิมีเดีย (Wikimedia Foundation, Inc.; WMF) หรือ วิกิมีเดีย เป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรและองค์กรการกุศลสัญชาติอเมริกัน มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย ส่วนใหญ่เป็นที่รู้จักจากการเข้าร่วมในขบวนการวิกิมีเดีย และเป็นเจ้าของชื่อโดเมนอินเทอร์เน็ตของโครงการส่วนใหญ่ของขบวนการ เช่น วิกิพีเดีย มูลนิธินี้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2546 โดยจิมมี เวลส์ เพื่อให้เป็นหนทางหนึ่งในการหาเงินทุนให้แก่วิกิพีเดียและโครงการพี่น้องด้วยวิธีการที่ไม่แสวงหาผลกำไร ณ พ.ศ. 2558 มูลนิธิมีพนักงานกว่า 280 คน และมีรายได้ประจำปีเกินกว่า 75 ล้านดอลลาร์สหรัฐ คริสโตเฟอร์ เฮนเนอร์ (Christophe Henner) ได้เป็นประธานคณะกรรมการบริษัท ส่วนแคทเทอรีน มาเฮอร์ (Katherine Maher) ได้เป็นกรรมการบริหารตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2559.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและมูลนิธิวิกิมีเดีย · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี

300px มูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี (Free Software Foundation, ชื่อย่อ: FSF) เป็นองค์กรไม่แสวงหากำไรที่ก่อตั้งโดย ริชาร์ด สตอลล์แมน เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985) เพื่อสนับสนุนแนวทางซอฟต์แวร์เสรี มีจุดประสงค์ต้องการให้สามารถเผยแพร่และแก้ไขซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ได้โดยปราศจากข้อจำกัดใดๆ มูลนิธินี้จดทะเบียนในรัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งจนถึงราวกลางคริสต์ทศวรรษที่ 1990 ทุนส่วนใหญ่ของมูลนิธินำไปใช้จากนักพัฒนามาเขียนซอฟต์แวร์เสรีสำหรับโครงการกนู แต่นับจากกลางคริสต์ทศวรรษที่ 1990 เป็นต้นมา พนักงานและอาสาสมัครของมูลนิธิส่วนใหญ่ทำงานด้านกฎหมาย และปัญหาทางโครงสร้างของแนวทางซอฟต์แวร์เสรีและชุมชนของซอฟต์แวร์เสรี เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมาย คอมพิวเตอร์ของมูลนิธิทุกเครื่องใช้แต่ซอฟต์แวร์เสรีเท่านั้น.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและมูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี · ดูเพิ่มเติม »

มีเดียวิกิ

มีเดียวิกิ (MediaWiki) คือซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการจัดการข้อมูลในการทำเว็บไซต์ เป็นที่รู้จักดีในฐานะซอฟต์แวร์หลักสำหรับโครงการวิกิพีเดีย และโครงการในวิกิมีเดีย การทำงานของมีเดียวิกิโดยทำงานบนเซิร์ฟเวอร์เป็นหลัก โดยทำงานกับภาษาพีเอชพี และ MySQL โครงการวิกิพีเดียและโครงการอื่นในมูลนิธิวิกิมีเดีย ที่ปัจจุบันใช้งานมีเดียวิกิ ระยะ 3 ภายใต้ลิขสิทธิ์แบบ GFDL โดยซอฟต์แวร์ ถูกใช้ภายใต้ GPL.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและมีเดียวิกิ · ดูเพิ่มเติม »

ยูทูบ

ูทูบ ตามสำเนียงอเมริกัน หรือ ยูทิวบ์ ตามสำเนียงบริเตน (YouTube) เป็นเว็บไซต์เผยแพร่วิดีโอโดยมีสำนักงานอยู่ที่แซนบรูโน แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เว็ปไซต์ดังกล่าวถูกสร้างขึ้นมาจากอดีตพนักงาน 3 คนในบริษัทเพย์แพล อันประกอบด้วยแชด เฮอร์ลีย์ สตีฟ เชน และยาวีด คาริม ในเดือนกุมภาพันธ์ 2548 ในเดือนพฤศจิกายน 2549 ยูทูบถูกกูเกิลซื้อไปในราคา 1.65 พันล้านเหรียญสหรัฐ ยูทูบเป็นหนึ่งในบริษัทย่อยของกูเกิล เว็บไซต์ยังสามารถให้ผู้ใช้งานสามารถอัปโหลด ดู หรือแบ่งปันวิดีโอได้.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและยูทูบ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบไฟล์เซตตะไบต์

ระบบไฟล์เซตตะไบต์ หรือ แซดเอฟเอส (Zettabyte File System: ZFS) เป็นระบบไฟล์ที่พัฒนาโดยบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์เพื่อใช้กับระบบปฏิบัติการ Solaris ความสามารถที่โดดเด่นของ ZFS คือสามารถเก็บข้อมูลจำนวนมหาศาล และความสามารถด้านเสถียรภาพของระบบไฟล์อื่นๆ เช่น RAID-Z, snapshot, copy-on-write ZFS ถูกพัฒนาขึ้นเป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส โดยมีสัญญาอนุญาตแบบ Common Development and Distribution License (CDDL).

ใหม่!!: วิกิพีเดียและระบบไฟล์เซตตะไบต์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐฟลอริดา

รัฐฟลอริดา (Florida, เป็นรัฐที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ สหรัฐอเมริกา ทิศตะวันตกติดต่อกับอ่าวเม็กซิโก ทิศเหนือติดต่อกับรัฐอะลาบามา และรัฐจอร์เจีย ทิศตะวันออกติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศใต้ติดต่อกับช่องแคบฟลอริดา รัฐฟลอริดาเป็นรัฐที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 22 มีประชากรมากเป็นอันดับ 3 และหนาแน่นมากเป็นอันดับ 8 ในสหรัฐอเมริกา แจ็กสันวิลล์เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในรัฐฟลอริดา และมีพื้นที่มากที่สุดในสหรัฐอเมริกาแผ่นดินใหญ่ มีเขตเมืองไมแอมี (Miami metropolitan area) เป็นเขตเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 8 ในสหรัฐอเมริกา และมีแทลลาแฮสซีเป็นเมืองหลวงของรัฐ รัฐฟลอริดาเป็นที่รู้จักกันในนาม ซันไชน์สเตต (Sunshine State) คำว่า "ฟลอริดา" เป็นภาษาสเปนซึ่งหมายถึง "ที่ซึ่งอุดมไปด้วยดอกไม้" ชื่อของแหลมฟลอริดาตั้งชื่อโดยควน ปอนเซ เด เลออง (Juan Ponce de León) ซึ่งมาเทียบที่ชายฝั่งเมื่อ 2 เมษายน พ.ศ. 2056 (ค.ศ. 1513) ในช่วงเทศกาล "ปัสกวาโฟลรีดา" (Pascua Florida) หรือช่วงเทศกาลอีสเตอร์ของชาวสเปน วันปัสกวาโฟลรีดาจัดขึ้นในวันที่ 2 เมษายนของทุกปี และยังเป็นวันหยุดราชการด้วย ฟลอริดาเป็นหนึ่งในเจ็ดรัฐที่ไม่เก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรม.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและรัฐฟลอริดา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐแคลิฟอร์เนีย

รัฐแคลิฟอร์เนีย (California,, แคลึฟอรฺนยะ) เป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาและมีพื้นที่ใหญ่สุดเป็นอันดับสาม ตั้งอยู่บนชายฝั่งตะวันตก (ติดมหาสมุทรแปซิฟิก) ของสหรัฐอเมริกา มีชายแดนติดกับรัฐแอริโซนา รัฐเนวาดาและรัฐออริกอน และมีชายแดนระหว่างประเทศติดต่อกับรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียของประเทศเม็กซิโก เมืองหลวงรัฐ คือ แซคราเมนโต ลอสแอนเจลิสเป็นนครที่มีประชากรมากที่สุดของรัฐแคลิฟอร์เนีย และเป็นนครใหญ่สุดอันดับสองของประเทศรองจากนครนิวยอร์ก รัฐแคลิฟอร์เนียยังมีเคาน์ตีที่มีประชากรที่สุดของประเทศ คือ ลอสแอนเจลิสเคาน์ตี และมีพื้นที่มากที่สุด คือ แซนเบอร์นาร์ดีโนเคาน์ตี ภูมิศาสตร์หลากหลายของรัฐแคลิฟอร์เนียมีตั้งแต่ชายฝั่งแปซิฟิกทางทิศตะวันตกถึงเทือกเขาเซียร์ราเนวาดาทางทิศตะวันออก และตั้งแต่ป่าเรดวูด–สนดักลาสทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจนถึงทะเลทรายโมฮาวีทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เซ็นทรัลแวลลี พื้นที่เกษตรกรรมหลัก กินพื้นที่ตอนกลางส่วนใหญ่ของรัฐ แม้รัฐแคลิฟอร์เนียจะขึ้นชื่อด้านภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนอบอุ่น แต่ขนาดที่ใหญ่หมายความว่าภูมิอากาศมีหลากหลายตั้งแต่ป่าฝนเขตอบอุ่นชื้นทางทิศเหนือ ถึงทะเลทรายแห้งแล้งด้านใน ตลอดจนแบบแอลป์หิมะในเขตภูเขา ทีแรกพื้นที่รัฐแคลิฟอร์เนียปัจจุบันมีชนเผ่าอเมริกันพื้นเมืองตั้งถิ่นฐานอยู่ก่อนมีการสำรวจของชาวยุโรปจำนวนหนึ่งระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ต่อมาจักรวรรดิสเปนอ้างสิทธิ์เป็นส่วนหนึ่งของอัลตาแคลิฟอร์เนียในอาณานิคมนิวสเปน พื้นที่ดังกล่าวกลายเป็นส่วนหนึ่งของเม็กซิโกใน..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและรัฐแคลิฟอร์เนีย · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด สตอลล์แมน

ริชาร์ด สตอลล์แทน ผู้พูดรับเชิญในงานวิกิเมเนีย ริชาร์ด แมธธิว สตอลล์แมน (Richard Matthew Stallman, RMS; เกิดเมื่อ 16 มีนาคม ค.ศ. 1953) เป็นผู้ก่อตั้ง โครงการกนู และ มูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี ซอฟต์แวร์เสรีที่เขาได้เป็นผู้เริ่มเขียนตั้งแต่สมัยแรก ๆ ได้แก่ GNU Emacs, GNU C Compiler และ GNU Debugger ซึ่งปัจจุบันนี้ก็ยังนิยมใช้กันอยู่แพร่หลาย เขาผู้ริเริ่มแนวคิด Copyleft และเป็นผู้ร่าง "สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู" GNU General Public License (GPL) ขึ้นมา และสัญญานี้ได้กลายเป็นบรรทัดฐานของสัญญาอนุญาตให้งานซอฟต์แวร์เสรีจำนวนมาก ริชาร์ด สตอลล์แมน เข้ารับการศึกษาจากเอ็มไอที แต่ได้ลาออกขณะที่ศึกษาและย้ายมาทำงานที่ เอ็มไอทีแล็บ โดยทำหน้าที่พัฒนาโปรแกรม ในระหว่างที่ทำงาน เขามีความคิดอุดมคติที่จะพัฒนาระบบปฏิบัติการในระบบที่ใกล้เคียงกับระบบยูนิกซ์ ให้ใช้งานได้เสรีสำหรับทุกคน โดยได้ร่วมโครงการกับแฮกเกอร์หลายคน ซึ่งในขณะที่พัฒนาเคอร์เนลและยังไม่สำเร็จนั้น ได้พบว่า ลีนุส ทอร์วัลส์ นักศึกษามหาวิทยาลัยชาวฟินแลนด์ได้พัฒนาเคอร์เนล ลินุกซ์เป็นผลสำเร็จขึ้นในเวลาหกเดือน สตอลล์แมนจึงได้ติดต่อกับลีนุส และรับอาสาทำหน้าที่จัดการระบบสัญญาอนุญาตเสรี GPL ให้กับทางระบบลินุกซ.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและริชาร์ด สตอลล์แมน · ดูเพิ่มเติม »

ลิขสิทธิ์

ลิขสิทธิ์เป็นสิทธิทางกฎหมายที่กฎหมายของประเทศหนึ่ง ๆ สร้างขึ้นซึ่งให้สิทธิแต่ผู้เดียว (exclusive right) แก่ผู้สร้างสรรค์งานต้นฉบับในการใช้และการขบ บ ซึ่งปกติมีเวลาจำกัด สิทธิแต่ผู้เดียวนี้มิได้เด็ดขาด แต่ถูกจำกัดโดยข้อจำกัดและข้อยกเว้นของกฎหมายลิขสิทธิ์ ซึ่งรวมถึงการใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบธรรม ลิขสิทธิ์เป็นทรัพย์สินทางปัญญารูปแบบหนึ่ง ซึ่งใช้ได้กับการนำเสนองานสร้างสรรค์ใด ๆ ลิขสิทธิ์มักแบ่งกันในหมู่ผู้ประพันธ์หลายคน ซึ่งแต่ละคนถือชุดสิทธิในการใช้หรืออนุญาตให้ใช้ (license) งานนั้น ซึ่งบุคคลเหล่านี้เรียกว่า ผู้ทรงสิทธิ (rightsholder) สิทธิเหล่านี้มักรวมการทำซ้ำ การควบคุมเนืองานดัดแปลง การจำหน่าย การแสดงสาธารณะ และ "สิทธิทางศีลธรรม" เช่น การแสดงที่มา (attribution) ลิขสิทธิ์ถือเป็นสิทธิอาณาเขต หมายความว่า สิทธินี้ไม่ขยายเกินอาณาเขตของเขตอำนาจหนึ่ง ๆ แม้ว่ากฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศต่าง ๆ มีการปรับให้เป็นมาตรฐานผ่านความตกลงลิขสิทธิ์ระหว่างประเทศก็ตาม แต่กฎหมายลิขสิทธิ์ก็แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ ตรงแบบ ระยะเวลาของลิขสิทธิ์ คือ ชีวิตของผู้ประพันธ์บวก 50 ถึง 100 ปี (คือ ลิขสิทธิ์จะหมดอายุ 50 ถึง 100 ปีหลังผู้ประพันธ์เสียชีวิต ขึ้นอยู่กับเขตอำนาจ) บางประเทศต้องมีข้อกำหนดลิขสิทธิ์ (copyright formality) เพื่อสถาปนาลิขสิทธิ์ แต่ประเทศส่วนใหญ่ยอมรับลิขสิทธิ์ในงานเสร็จสมบูรณ์ทุกงานโดยไม่ต้องขึ้นทะเบียนอย่างเป็นทางการ โดยทั่วไป ลิขสิทธิ์บังคับแบบกฎหมายแพ่ง แต่บางเขตอำนาจมีการใช้โทษทางอาญาด้ว.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและลิขสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ลิงก์

ลิงก์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและลิงก์ · ดูเพิ่มเติม »

ลินุกซ์

ลินุกซ์ (Linux) และรู้จักในชื่อ กะนู/ลินุกซ์ (GNU/Linux) โดยทั่วไปเป็นคำที่ใช้ในความหมายที่หมายถึงระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ โดยใช้ลินุกซ์ เคอร์เนล เป็นศูนย์กลางทำงานร่วมกับไลบรารีและเครื่องมืออื่น ลินุกซ์เป็นตัวอย่างหนึ่งในฐานะซอฟต์แวร์เสรี และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สที่ประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียง ทุกคนสามารถดูหรือนำโค้ดของลินุกซ์ไปใช้งาน, แก้ไข, และแจกจ่ายได้อย่างเสรี ลินุกซ์นิยมจำหน่ายหรือแจกฟรีในลักษณะเป็นแพคเกจ โดยผู้จัดทำจะรวมซอฟต์แวร์สำหรับใช้งานในด้านอื่นเป็นชุดเข้าด้วยกัน เริ่มแรกของของลินุกซ์พัฒนาและใช้งานในเฉพาะกลุ่มผู้ที่สนใจ ซึ่งในปัจจุบันลินุกซ์ได้รับความนิยมเนื่องมาจากระบบการทำงานที่เป็นอิสระ ปลอดภัย เชื่อถือได้ และราคาต่ำ จึงได้มีการพัฒนาจากองค์กรต่าง ๆ เช่น ไอบีเอ็ม ฮิวเลตต์-แพคการ์ด และโนเวลล์ ใช้สำหรับในระบบเซิร์ฟเวอร์และพีซี เริ่มแรกลินุกซ์พัฒนาสำหรับใช้กับเครื่อง อินเทล 386 ไมโครโพรเซสเซอร์ หลังจากที่ได้รับความนิยมปัจจุบัน ลินุกซ์ได้พัฒนารับรองการใช้งานของระบบสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ในระบบต่าง ๆ รวมถึงในโทรศัพท์มือถือ และกล้องวิดีโอ ลินุกซ์มีสัญญาอนุญาตแบบ GPL ซึ่งเป็นสัญญาอนุญาตที่กำหนดให้ผู้ที่นำโค้ดไปใช้ต้องใช้สัญญาอนุญาตแบบเดิมต่อคือใช้สัญญาอนุญาต GPL เช่นเดียวกัน ซึ่งลักษณะสัญญาอนุญาตแบบนี้เรียกว่า copyleft.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและลินุกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ลูซีน

ลูซีน (Lucene) เป็นซอฟต์แวร์เสรีและซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สสำหรับใช้เป็นส่วนต่อประสานโปรแกรมประยุกต์ในการค้นคืนสารสนเทศ แต่เดิมลูซีนถูกเขียนขึ้นโดยใช้ภาษาจาวา โดย Doug Cutting ซึ่งสนับสนุนโดยมูลนิธิซอฟต์แวร์อาแพชี และเผยแพร่โดยใช้สัญญาอนุญาตซอฟต์แวร์อาแพชี ลูซีนถูกย้ายไปเขียนขึ้นด้วยภาษาอื่น ๆ นอกจากภาษาจาวาด้วย ได้แก่ ภาษาเพิร์ล ภาษาซีชาร์ป ภาษาซีพลัสพลัส ภาษาไพทอน ภาษารูบี้ และภาษาพีเอชพี ลูซีนเหมาะกับการใช้งานใดที่ต้องการการสร้างดัชนีข้อความอย่างเต็มรูปแบบ (Full-text indexing) และความสามารถในการค้นคืนข้อความแบบเต็มรูปแบบ (Full-text searching) ลูซีนได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในการนำไปใช้สร้างเครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูลสำหรับอินเทอร์เน็ต หรือ ภายในองค์กร หรือ เฉพาะในเว็บไซต์เดียว ซึ่งบางครั้งก็มีผู้เข้าใจผิดว่าลูซีนเป็นเครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูลเต็มรูปแบบ ที่มีเครื่องมือรวบรวมเว็บเพจ (Web crawler) และโปรแกรมแจงโครงสร้างภาษา HTML ด้วย ทั้งนี้โปรแกรมที่ใช้งานลูซีนจะต้องมีมีเครื่องมือรวบรวมเว็บเพจ (Web crawler) และโปรแกรมแจงโครงสร้างภาษา HTML โดยแยกออกจากลูซีน สิ่งที่อยู่ในแก่นของสถาปัตยกรรมเชิงตรรกะของลูซีนคือแนวคิดว่าเอกสารประกอบไปด้วยเขตข้อมูลของข้อความ ซึ่งทำให้ส่วนต่อประสานโปรแกรมประยุกต์ของลูซีนยืดหยุ่นพอที่จะไม่ขึ้นอยู่กับรูปแบบไฟล์ ข้อความจากไฟล์ในรูปแบบ PDF HTML เอกสารไมโครซอฟท์เวิร์ด และรูปแบบอื่น ๆ อีกมากมายสามารถนำมาสร้างดัชนีได้ตราบเท่าที่สามารถสกัดข้อความจากเอกสารได้.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและลูซีน · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรมประชานิยม

วัฒนธรรมประชานิยม (popular culture หรือ pop culture) หมายถึง วัฒนธรรมที่เป็นที่นิยมของผู้คนในสมัยนั้น เกิดจากการสื่อสารของบุคคล ความต้องการของวัฒนธรรมในจังหวะช่วงเวลานั้น ซึ่งเกิดขึ้นทุกวันและแสดงเป็นภาพลักษณ์ออกมา ซึ่งสามารถรวมได้ถึงทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นการทำอาหาร การแต่งกาย สื่อมวลชน กีฬา หรือวรรณกรรม วัฒนธรรมประชานิยมมักมีลักษณะตรงข้ามกับวัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมประชานิยมคือทุกสิ่งทุกอย่างที่เป็นความคิด มุมมอง ทัศนคติ ภาพลักษณ์ การเลียนแบบ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เชื่อกันอย่างไม่เป็นทางการว่าเป็นสิ่งที่ชื่นชอบของสังคมในท่ามกลางวัฒนธรรมกระแสหลัก ส่วนหนึ่งในวัฒนธรรมสมัยนิยม เช่น เพลงป็อปหรือเพลงสมัยนิยมที่จะเน้นในลักษณะตามความชอบของคนในสมัยนั้น เพลงป็อปในญี่ปุ่นจะเรียกว่า เจ-ป็อป.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและวัฒนธรรมประชานิยม · ดูเพิ่มเติม »

วิกิ

วิกิ หรือ วิกี (wiki) คือลักษณะของเว็บไซต์แบบหนึ่งที่อนุญาตให้ผู้ใช้ เพิ่มและแก้ไขเนื้อหาได้โดยง่าย ซึ่งบางครั้งไม่จำเป็นต้องมีการลงทะเบียนเพื่อแก้ไข ด้วยความง่ายในการแก้ไขและโต้ตอบ วิกิเว็บไซต์มักจะถูกนำมาใช้ในการร่วมเขียนบทความ คำว่า "วิกิ" นี่ยังสามารถหมายถึงวิกิซอฟต์แวร์ซึ่งเป็นตัวซอฟต์แวร์รองรับการทำงานระบบนี้ หรือยังสามารถหมายถึงตัวเว็บไซต์เองที่นำระบบนี้มาใช้งาน ระบบวิกิที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ วิกิพีเดีย วิกิจะแตกต่างจากระบบการจัดการเนื้อหาอื่น ในส่วนของการโต้ตอบ ซึ่งเห็นได้จากระบบของกระดานสนทนาออนไลน์หรือบล็อก จะอนุญาตให้ผู้อื่นโต้ตอบโดยการส่งข้อความต่อท้าย และไม่สามารถมีส่วนร่วมในส่วนของเนื้อหาหลักได้.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและวิกิ · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพจนานุกรม

ัญลักษณ์ของวิกิพจนานุกรม วิกิพจนานุกรม เป็นโครงการหนึ่งในโครงการของมูลนิธิวิกิมีเดีย ใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า "วิกชันนารี" (Wiktionary) โดยมีเป้าหมายรวบรวมคำศัพท์ วลี หรือประโยค จากทั่วมุมโลก โดยมีการแปลความหมายของคำหรือประโยคนั้นๆ และแปลในหลายๆ ภาษา เปรียบเสมือนดิกชันนารีทุกภาษาในเว็บเดียวกัน การทำงานของโปรแกรมคล้ายคลึงกับวิกิพีเดีย โดยที่ใครก็ได้สามารถเขียนและแก้ไข ข้อความภายในเว็บ และโปรแกรมรับรองตัวอักษรของทุกภาษาโดยใช้รหัส Unicode วิกิพจนานุกรมใช้ซอฟต์แวร์ มีเดียวิกิซึ่งเป็นซอฟต์แวร์เดียวกันกับวิกิพีเดีย ตัวอย่าง คำว่า ฉันรักคุณ ในวิกิพจนานุกรม.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและวิกิพจนานุกรม · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาฝรั่งเศส

วิกิพีเดียภาษาฝรั่งเศส (Wikipédia francophone, Wikipédia en français) เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาฝรั่งเศส เริ่มสร้างเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2544 โดยปัจจุบันมีบทความมากกว่า 1,700,000 บทความ (มกราคม 2559) วิกิพีเดียภาษาฝรั่งเศสเป็นวิกิพีเดียที่มีจำนวนบทความมากที่สุดในตระกูลภาษาโรมานซ.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและวิกิพีเดียภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาสเปน

วิกิพีเดียภาษาสเปน (Wikipedia en español) เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาสเปน เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2544 ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษาสเปนมีบทความมากกว่า 1,200,000 บทความ (มกราคม 2559).

ใหม่!!: วิกิพีเดียและวิกิพีเดียภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ

วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาอังกฤษ เริ่มสร้างเมื่อ 15 มกราคม..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาดัตช์

วิกิพีเดียภาษาดัตช์ (Nederlandstalige Wikipedia) เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาดัตช์ เริ่มสร้างเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2544 ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษาดัตช์มีบทความมากกว่า 1,800,000 บทความ (มกราคม 2559).

ใหม่!!: วิกิพีเดียและวิกิพีเดียภาษาดัตช์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาไทย

วิกิพีเดียภาษาไทย เป็นรุ่นภาษาไทยของวิกิพีเดีย สารานุกรมออนไลน์เสรี เริ่มเขียนเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและวิกิพีเดียภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาเยอรมัน

วิกิพีเดียภาษาเยอรมัน เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาเยอรมัน เริ่มสร้างเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2544 วิกิพีเดียภาษาเยอรมันเป็นวิกิพีเดียที่มีจำนวนบทความมากเป็นอันดับสองรองจากภาษาอังกฤษ มีบทความมากกว่า 2,014,836 บทความ (30 ธันวาคม 2559) of German Wikipedia (English).

ใหม่!!: วิกิพีเดียและวิกิพีเดียภาษาเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

วิกิมีเดียคอมมอนส์

ลโก้ของวิกิมีเดียคอมมอนส์ วิกิมีเดียคอมมอนส์ เป็นหนึ่งในโครงการของ มูลนิธิวิกิมีเดีย โดยจัดเก็บเนื้อหาที่เป็นรูปภาพ ไฟล์เสียง ไฟล์วิดีโอEndres, Joe, "Wiki websites wealth of information".

ใหม่!!: วิกิพีเดียและวิกิมีเดียคอมมอนส์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกิวิทยาลัย

วิกิวิทยาลัย วิกิวิทยาลัย (Wikiversity) เป็นโครงการหนึ่งของมูลนิธิวิกิมีเดีย โดยมีเป้าหมายรวบรวมความรู้ต่าง ๆ คล้ายมหาวิทยาลัย โดยวิกิวิทยาลัยยังไม่มีแบบภาษาไทย วิกิวิทยาลัยใช้ซอฟต์แวร์มีเดียวิกิซึ่งเป็นซอฟต์แวร์เดียวกันกับวิกิพีเดีย และเผยแพร่ภายใต้ GFDL และ CC-BY-SA.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและวิกิวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

วิกิคำคม

ัญลักษณ์ของวิกิคำคม วิกิคำคม เป็นโครงการหนึ่งในโครงการของมูลนิธิวิกิมีเดีย ใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า วิกิโควต (Wikiquote) โดยมีเป้าหมายรวบรวมคำคมจากบุคคลสำคัญ คำสุภาษิตและคำพังเพยจากทั่วมุมโลก โดยในวิกิคำคมจะมีการใช้งานทั้งหมดเป็นภาษาไทย ซึ่งข้อความบางส่วนดัดแปลง หรือแปลความมาจากวิกิคำคมในภาษาอื่น วิกิคำคมใช้ซอฟต์แวร์ มีเดียวิกิซึ่งเป็นซอฟต์แวร์เดียวกันกับวิกิพีเดี.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและวิกิคำคม · ดูเพิ่มเติม »

วิกิตำรา

ัญลักษณ์ของวิกิตำรา วิกิตำรา เป็นโครงการหนึ่งในโครงการของมูลนิธิวิกิมีเดีย ใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า วิกิบุ๊กส์ (Wikibooks) โดยมีเป้าหมายรวบรวมคู่มือ หนังสือตำรา คู่มือ วิธีทำ และตำราอาหารจากทั่วมุมโลก โดยภาษาในวิกิตำราไทยทั้งหมดจะเป็นภาษาไทย ซึ่งข้อความบางส่วนดัดแปลง หรือแปลความมาจากวิกิตำราในภาษาอื่น วิกิตำราใช้ซอฟต์แวร์ มีเดียวิกิซึ่งเป็นซอฟต์แวร์เดียวกันกับวิกิพีเดี.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและวิกิตำรา · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยดาร์ตมัธ

ตึกเบเกอร์ มหาวิทยาลัยดาร์ตมัธ วิทยาลัยดาร์ตมัธ (Dartmouth College) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในไอวีลีกในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมือง แฮนโอเวอร์ ในรัฐนิวแฮมป์เชียร์ และเป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาที่ก่อตั้งก่อนช่วงการปฏิวัติอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2312 (ค.ศ. 1769) โดยเงินทุนก่อตั้งมหาวิทยาลัยส่วนหนึ่งมาจากชาวอินเดียนแดงเผ่าโมฮีแกน โดยในปัจจุบัน (พ.ศ. 2548) มีนักศึกษาประมาณ 5,600 คน มหาวิทยาลัยดาร์ตมัธมีชื่อเสียงในด้านแพทยศาสตร์ และบริหารธุรกิจ (ประจำปี 2552 ได้ถูกจัดอันดับโดยนิตยสารฟอร์บว่า ในด้านบริหารธุรกิจเป็นอันดับสองของประเท.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและวิทยาลัยดาร์ตมัธ · ดูเพิ่มเติม »

วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544

หตุวินาศกรรม 11 กันยายน..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

สกอร์เปียนส์

กอร์เปียนส์ (Scorpions) วงดนตรีแนวเฮฟวี่เมทัลแห่งเยอรมัน ก่อตั้งวงที่เมืองฮันโนเวอร์ในปี..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและสกอร์เปียนส์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมคอมพิวเตอร์เอซีเอ็ม

มาคมคอมพิวเตอร์เอซีเอ็ม (Association for Computing Machinery: ACM) คือ สมาคมระหว่างประเทศทางด้านคอมพิวเตอร์ ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและสมาคมคอมพิวเตอร์เอซีเอ็ม · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: วิกิพีเดียและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู

รื่องหมายการค้าของกนู สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู หรือ กนูจีพีแอล หรือ จีพีแอล (GNU General Public License, GNU GPL, GPL) เป็นสัญญาอนุญาตสำหรับซอฟต์แวร์เสรี ที่ได้รับความนิยมสูงที่สุดในปัจจุบัน ฉบับแรกสุดเขียนโดย ริชาร์ด สตอลล์แมน เริ่มต้นใช้กับโครงการกนู ในปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991).

ใหม่!!: วิกิพีเดียและสัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู · ดูเพิ่มเติม »

สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์

ัญลักษณ์ครีเอทีฟคอมมอนส์ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ เป็นสัญญาอนุญาตทางลิขสิทธิ์จำนวนหนึ่ง ประกาศใช้เมื่อ 16 ธันวาคม ค.ศ. 2002 โดยครีเอทีฟคอมมอนส์ ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรในสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 2001.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ · ดูเพิ่มเติม »

สัญญาอนุญาตเอกสารเสรีของกนู

รื่องหมายการค้าของกนู สัญญาอนุญาตเอกสารเสรีของกนู (ย่อว่า GFDL) เป็นลักษณะสัญญาอนุญาตชนิดหนึ่งที่พัฒนาโดยมูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี (Free Software Foundation) สำหรับโครงการกนู สัญญาอนุญาตเอกสารเสรีของกนู ในปัจจุบันเป็นรุ่น 1.3 และเป็นสัญญาอนุญาตควบคู่กับสัญญาอนุญาต GPL เนื้อหาสัญญาทั้งหมดสามารถดูได้ที่เว็บไซต์ของกนู สัญญาอนุญาตเอกสารเสรีของกนู มีลักษณะเปิดกว้าง หรือเรียกว่า copyleft โดยให้ผู้อื่นสามารถนำข้อมูลส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือทั้งหมดไปใช้ได้ฟรีโดยมีเงื่อนไขว่า ผลงานที่สร้างใหม่ต้องใช้สัญญาอนุญาตเอกสารเสรีของกนู เช่นกัน ผลงานที่สร้างใหม่นั้นสามารถใช้ในเชิงพาณิชย์ได้ แต่ถ้ามีการขายเป็นจำนวนมากจะมีเงื่อนไขอื่นเพิ่มเติมเข้ามา สัญญาอนุญาตเอกสารเสรีของกนู ครอบคลุมสำหรับ คู่มือคอมพิวเตอร์ ตำรา และแหล่งอ้างอิงอื่นทั้งในการเรียนการสอนและการทำงาน วิกิพีเดีย และโครงการอื่นของมูลนิธิวิกิมีเดีย เป็นแหล่งข้อมูลที่ใหญ่ที่สุดของสื่ออื่นที่อยู่ภายใต้สัญญาอนุญาตเอกสารเสรีของกนู.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและสัญญาอนุญาตเอกสารเสรีของกนู · ดูเพิ่มเติม »

สารานุกรม

ษณาสารานุกรมบริเตนนิกา ฉบับ ค.ศ. 1913 สารานุกรม คือเรื่องคัดย่อที่ถูกเขียนขึ้นสำหรับการรวบรวมความรู้จากทุกสาขาวิชาหรือจากสาขาวิชาหนึ่งสารานุกรมแบ่งออกเป็นบทความหรือรายการที่มักเรียงตามตัวอักษรของชื่อบทความ และบางทีอาจแบ่งเป็นหมวดหมู่ตามแก่นเรื่อง แต่ละบทความในสารานุกรมมักยาวและละเอียดกว่าในพจนานุกรม กล่าวได้ว่าบทความในสารานุกรมเน้นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหัวข้อนั้น ๆ ต่างกับพจนานุกรมที่มักเน้นเกี่ยวกับข้อมูลทางภาษาศาสตร์เกี่ยวกับคำศัพท์ เช่น ความหมาย การอ่าน การใช้ และรูปแบบตามหลักไวยากรณ์Béjoint, Henri (2000).

ใหม่!!: วิกิพีเดียและสารานุกรม · ดูเพิ่มเติม »

สารานุกรมบริตานิกา

รานุกรมบริตานิกา (Encyclopædia Britannica) เป็นสารานุกรมภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์โดยบริษัท Encyclopædia Britannica, Inc.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและสารานุกรมบริตานิกา · ดูเพิ่มเติม »

สารานุกรมหย่งเล่อ

รานุกรมหย่งเล่อ (1403) สารานุกรมหย่งเล่อ เป็นสารานุกรมที่รวบรวมศาสตร์แขนงต่าง ๆ โปรดให้จัดทำขึ้นโดยจักรพรรดิหย่งเล่อแห่งราชวงศ์หมิง ใน..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและสารานุกรมหย่งเล่อ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานสอบสวนกลาง

ำนักงานสอบสวนกลาง ย่อว่า เอฟบีไอ ชื่อเดิม สำนักงานสอบสวน ย่อว่า บีโอไอ (Bureau of Investigation: BOI) เป็นหน่วยงานด้านข่าวกรองและความมั่นคงภายในของสหรัฐ และเป็นหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายในระดับกลางของสหรัฐ ปฏิบัติหน้าที่ภายในเขตอำนาจของกระทรวงยุติธรรมสหรัฐ ทั้งเป็นสมาชิกของประชาคมข่าวกรองสหรัฐ รายงานตรงต่อทั้งอัยการสูงสุดสหรัฐและผู้อำนวยการข่าวกรองแห่งชาติ อนึ่ง เอฟบีไอยังเป็นองค์การหลักของสหรัฐในการต่อต้านการก่อการร้าย การต่อต้านข่าวกรอง และการสืบสวนอาชญากรรม โดยมีเขตอำนาจเหนือการละเมิดกฎหมายในกลุ่มอาชญากรรมกลางกว่า 200 กลุ่ม แม้ว่าหน้าที่หลายอย่างของเอฟบีไอจะมีเอกลักษณ์เฉพาะ กิจกรรมของเอฟบีไอในการสนับสนุนงานด้านความมั่นคงแห่งชาตินั้นเทียบได้กับบทบาทของหน่วยงานเอ็มไอไฟฟ์ (MI5) ของบริเตน และเอฟเอสบี (FSB) ของรัสเซีย แต่ไม่เหมือนกับสำนักข่าวกรองกลาง (ซีไอเอ) เพราะซีไอเอไม่มีอำนาจบังคับใช้กฎหมาย และเน้นการรวบรวมข่าวกรองจากต่างประเทศ ขณะที่เอฟบีไอเป็นหน่วยงานภายในประเทศ โดยมีสำนักงานภาคสนาม (field office) 56 แห่งในนครหลักทั่วสหรัฐ ทั้งสำนักงานประจำ (resident office) อีก 400 แห่งในนครเล็กและท้องที่อื่นทั่วประเทศ ที่สำนักงานภาคสนาม เจ้าหน้าที่ระดับอาวุโสจะทำหน้าที่เป็นผู้แทนผู้อำนวยการข่าวกรองแห่งชาติไปพร้อมกันด้วย แม้จะเน้นเรื่องภายในประเทศ เอฟบีไอก็ยังมีเขตบริการระหว่างประเทศ (international footprint) ที่สำคัญอยู่หนึ่งเขต ทำหน้าที่บริหารสำนักงานนิติกรทูต (Legal Attache office) 60 แห่ง กับสำนักงานย่อย (sub-office) อีก 15 แห่ง ซึ่งอยู่ในสถานทูตและกงสุลสหรัฐทั่วโลก สำนักงานต่างแดนเหล่านี้มีขึ้นเพื่อประสานงานกับหน่วยงานราชการด้านความมั่นคงในต่างประเทศเป็นหลัก และโดยปรกติแล้วจะไม่ปฏิบัติการฝ่ายเดียวภายในประเทศที่ตั้งสำนักงาน อนึ่ง เอฟบีไอยังสามารถดำเนินกิจกรรมลับในต่างประเทศ ซึ่งก็ได้ปฏิบัติในบางครั้ง ในทำนองเดียวกับที่ซีไอเอมีหน้าที่จำกัดในประเทศ กิจกรรมดังกล่าวโดยทั่วไปแล้วต้องอาศัยความร่วมมือกับหน่วยงานรัฐหลายหน่วยงาน เอฟบีไอก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและสำนักงานสอบสวนกลาง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองอเมริกา

งครามกลางเมืองอเมริกา (American Civil War) เป็นสงครามกลางเมืองซึ่งเกิดขึ้นในสหรัฐระหว่างปี 1861 ถึง 1865 สืบเนื่องจากข้อโต้แย้งยืดเยื้อเกี่ยวกับทาส ระหว่างฝ่ายหนึ่งเป็นกลุ่มชาตินิยมสหภาพซึ่งประกาศความภักดีต่อรัฐธรรมนูญสหรัฐ กับกลุ่มแบ่งแยกดินแดนสมาพันธรัฐซึ่งสนับสนุนสิทธของรัฐในการขยายทาสอีกฝ่ายหนึ่ง ในบรรดา 34 รัฐของสหรัฐในเดือนกุมภาพันธ์ 1861 เจ็ดรัฐทาสในภาคใต้ประกาศแยกตัวออกจากสหรัฐเพื่อตั้งเป็นสมาพันธรัฐอเมริกา หรือ "ฝ่ายใต้" สมาพันธรัฐเติบโตจนมี 11 รัฐทาส รัฐบาลสหรัฐไม่เคยรับรองทางการทูตซึ่งสมาพันธรัฐ เช่นเดียวกับประเทศอื่นทุกประเทศ (แม้สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสจะให้สถานภาพคู่สงคราม) รัฐที่ยังภักดีต่อสหรัฐ (รวมทั้งรัฐชายแดนซึ่งทาสชอบด้วยกฎหมาย) เรียก "สหภาพ" หรือ "ฝ่ายเหนือ" สงครามเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 12 เมษายน..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและสงครามกลางเมืองอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

สแลชดอต

Slashdot (สแลชดอต) หรือมักนิยมเขียนในรูปตัวย่อ "/." เป็นเว็บไซต์ข่าวสารด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ, วิทยาการ, นิยายวิทยาศาสตร์ และสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยเปิดโอกาสให้ผู้อ่านมีส่วนร่วมโดยการส่งข่าวมายังเว็บไซต์ได้ ผู้อ่านสามารถแสดงความคิดเห็นของตัวเองต่อท้ายข่าวได้ ซึ่ง Slashdot ถือเป็นเว็บไซต์แรกที่ให้บริการความคิดเห็นในลักษณะนี้ ชื่อ Slashdot ถูกตั้งขึ้นเพื่อต้องการทำให้ผู้อ่านออกเสียงสับสน เมื่ออ่าน URL ของ Slashdot เป็นภาษาอังกฤษว่า "h-t-t-p-colon-slash-slash-slashdot-dot-org" Slashdot ตั้งขึ้นเมื่อเดือนสิงหาคม..​ 1997 โดย Rob Malda หรือรู้จักในนาม "CmdrTaco" ปัจจุบันมีบริษัท SourceForge Inc.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและสแลชดอต · ดูเพิ่มเติม »

สแปม

แปม (spam) คือชื่อเรียกของการส่งข้อความที่ผู้รับไม่ได้ร้องขอ ผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยส่วนมากจะทำให้เกิดความไม่พอใจต่อผู้รับข้อความ สแปมที่พบเห็นได้บ่อยได้แก่ การส่งสแปมผ่านทางอีเมล ในการโฆษณาชวนเชื่อ หรือโฆษณาขายของ โดยการส่งอีเมลที่เราไม่ต้องการ จากที่ใดก็ได้ในโลก โดยที่เราไม่รู้เลยว่าผู้ที่ส่งมาให้นั้นเป็นใคร หรือเป็นการแอบอ้างหรือไม่ เนื่องจากปัจจุบันมีการส่งสแปมที่สามารถปลอมชื่อและอีเมลผู้ส่งได้ จุดประสงค์คือ ผู้ส่งส่วนใหญ่ต้องการที่จะโฆษณา สินค้าหรือบริการต่าง ๆ ของบริษัทของตนเอง ซึ่งเป็นประเภทหนึ่งของเมลขยะซึ่งนอกจากจะทำให้ผู้รับรำคาญใจและเสียเวลาในการกำจัดข้อความเหล่านี้แล้ว สแปมยังทำให้ประสิทธิภาพการขนส่งข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตลดลงด้วย สแปมในรูปแบบอื่นนอกจากอีเมลสแปมได้แก่ เมสเซนเจอร์สแปม นิวส์กรุ๊ปสแปม บล็อกสแปม และเอสเอ็มเอสสแปม การส่งสแปมเริ่มแพร่หลายเนื่องจากค่าใช้จ่ายในการส่งข้อความผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ มีค่าใช้จ่ายน้อยมากเมื่อเทียบการการส่งข้อความชักชวนทางอื่น เช่นทางจดหมาย หรือการโฆษณาทางสื่อต่างๆ ทำให้ผู้ส่งประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข้อความเชิญชวน และในขณะเดียวกันกฎหมายเกี่ยวกับระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องกับสแปมยังไม่ครอบคลุม จนกระทั่งเริ่มมีใช้ครั้งแรกปี พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) ในประเทศสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและสแปม · ดูเพิ่มเติม »

อะแพชี เว็บเซิร์ฟเวอร์

อะพาเช่ เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Apache HTTP Server) คือซอฟต์แวร์สำหรับเปิดให้บริการเซิร์ฟเวอร์บนโพรโทคอล HTTP โดยสามารถทำงานได้บนหลายระบบปฏิบัติการ ที่มาของชื่อ Apache มาจากกลุ่มคนที่ช่วยสร้างแพตช์ไฟล์สำหรับโครงการ NCSA httpd 1.3 ซึ่งกลายมาเป็นที่มาของชื่อ A PAtCHy server และในอีกความหมายหนึ่งยังกล่าวถึงเผ่าอะแพชีหรืออาปาเช่ ซึ่งเป็นเผ่าอินเดียนแดงที่มีความสามารถในการรบสูง.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและอะแพชี เว็บเซิร์ฟเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อับราฮัม ลินคอล์น

อับราฮัม ลินคอล์น (Abraham Lincoln) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 16 ของสหรัฐอเมริกา ลินคอล์นเข้าดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาตั้งแต่เดือนมีนาคม..1861 จนกระทั่งถูกลอบสังหารเมื่อเดือนเมษายน..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและอับราฮัม ลินคอล์น · ดูเพิ่มเติม »

อัมสเตอร์ดัม

อัมสเตอร์ดัม (Amsterdam) เป็นเมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำอัมสเติล (Amstel) เริ่มก่อตั้งประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 12 ปัจจุบันเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเนเธอร์แลนด์ มีประชากรในเขตตัวเมืองประมาณ 742,000 คน แต่ถ้านับรวมประชากรในเขตเมืองโดยรอบทั้งหมด จะมีประมาณ 1.5 ล้านคน (ข้อมูลปี ค.ศ. 2005) อัมสเตอร์ดัมเป็นเมืองศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญแห่งหนึ่งของทวีปยุโรป โดยเฉพาะช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ซึ่งเป็นช่วงยุคทองของเนเธอร์แลนด์ ถึงแม้อัมสเตอร์ดัมจะเป็นเมืองหลวงของประเทศ แต่ศูนย์กลางของหน่วยงานรัฐบาลนั้นอยู่ที่เฮก.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและอัมสเตอร์ดัม · ดูเพิ่มเติม »

อินเทอร์เน็ต

วิถีการจัดเส้นทางผ่านส่วนหนึ่งของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลาย ๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล (protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลาย ๆ ทาง อาทิ อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและอินเทอร์เน็ต · ดูเพิ่มเติม »

อินเทอร์เน็ตบอต

บอต (bot) หรือ อินเทอร์เน็ตบอต (Internet bot) คือโปรแกรมอัตโนมัติสำหรับทำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งบอตย่อมาจากคำว่าโรบอต (robot) แปลว่าหุ่นยนต์ บอตที่นิยมใช้ในอินเทอร์เน็ต สำหรับการเก็บข้อมูลจากเว็บเพจ เรียก เว็บครอว์เลอร์ (web crawler) หรือ สไปเดอร์ (spider) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลของเว็บนั้นมาทำการวิเคราะห์ เช่น กูเกิลบอต (GoogleBot) เก็บข้อมูลจากเว็บต่างๆ แล้วมาทำดัชนีของเว็บเพื่อใช้ในเสิร์ชเอนจิน บอตในไออาร์ซีหรือในเมสเซนเจอร์ เป็นโปรแกรมอัตโนมัติที่ตอบคำถามของผู้ใช้ต่างๆ โดยบอตประเภทนี้จะนำคำถามของผู้ใช้มาประมวลผลตามเงื่อนไข และเมื่อพบคำตอบที่น่าจะเกี่ยวข้องจะส่งคำตอบกลับไป หรือถ้าไม่พบคำตอบจะส่งข้อความว่า ไม่เข้าใจในคำถามให้ถามคำถามใหม่ บอตประเภทนี้สามารถตอบคำถามได้หลายประเภท รวมถึงการค้นหา ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ รายงานสภาพภูมิอากาศปัจจุบัน ผลการแข่งขันกีฬา เป็นต้น หมวดหมู่:บอต.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและอินเทอร์เน็ตบอต · ดูเพิ่มเติม »

อูบุนตู

อูบุนตู (Ubuntu) เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่เป็นระบบปฏิบัติการแบบเปิดซึ่งมีพื้นฐานบนลินุกซ์ดิสทริบิวชันที่พัฒนาต่อมาจากเดเบียน การพัฒนาสนับสนุนโดยบริษัท Canonical Ltd ซึ่งเป็นบริษัทของนายมาร์ก ชัทเทิลเวิร์ธ ชื่อของดิสทริบิวชันนั้นมาจากคำในภาษาซูลู และภาษาโคซา (ภาษาในแอฟริกาใต้) ว่า Ubuntu ซึ่งมีความหมายในภาษาอังกฤษคือ "humanity towards others" อูบุนตูต่างจากเดเบียนตรงที่ออกรุ่นใหม่ทุก 6 เดือน และแต่ละรุ่นจะมีระยะเวลาในการสนับสนุนเป็นเวลา 18 เดือน รุ่นปัจจุบันของ Ubuntu คือ 18.04 LTS ซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่รวมมาใน อูบุนตูนั้นเป็นซอฟต์แวร์เสรีเกือบทั้งหมด(มีบางส่วนที่เป็นลิขสิทธิ์ เช่น ไดรเวอร์โดยจุดมุ่งหมายหลักของ อูบุนตูคือเป็นระบบปฏิบัติการสำหรับคนทั่วไป ที่มีโปรแกรมทันสมัย และมีเสถียรภาพในระดับที่ยอมรับได้.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและอูบุนตู · ดูเพิ่มเติม »

องค์การทรัพย์สินทางปัญญาแห่งโลก

ำนักงานกลางขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาแห่งโลกในเจนีวา องค์การทรัพย์สินทางปัญญาแห่งโลก (Organisation Mondiale de la Propriété Intelectuelle หรือ OMPI, World Intellectual Property Organization หรือ WIPO) เป็นหนึ่งในองค์การเฉพาะทางของสหประชาชาติ องค์การได้รับการก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและองค์การทรัพย์สินทางปัญญาแห่งโลก · ดูเพิ่มเติม »

องค์การไม่แสวงหาผลกำไร

องค์การไม่แสวงหาผลกำไร (nonprofit organisation หรือย่อว่า NPO) เป็นชื่อเรียกองค์การที่มีจุดมุ่งหมายสนับสนุนกลุ่มที่มีความคิดเห็นพ้องกัน โดยเนื้อหาจะแตกต่างตั้งแต่ ศิลปะ การกุศล การศึกษา การเมือง ศาสนา งานวิจัย และจุดมุ่งหมายในด้านอื่น ๆ โดยการทำงานทั้งหมดไม่มีจุดประสงค์ในเชิงพาณิชย์ ไม่หาผลประโยชน์เข้าสู่องค์การ แต่มีรายได้จากค่าลงทะเบียน ค่าบำรุงจากสมาชิก หรือเงินหรือทรัพย์สินอื่นใดที่ได้มาจากการบริจาคหรือจากการให้โดยเสน่หา หมวดหมู่:อภิธานศัพท์โทรทัศน์.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและองค์การไม่แสวงหาผลกำไร · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซา

right อเล็กซาอินเทอร์เน็ต (Alexa Internet) เป็นเว็บไซต์ที่แสดงข้อมูลสถิติของแหล่งข้อมูลอื่นและจัดอันดับเว็บไซต์คนนิยม ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ แอมะซอน.คอม ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2539 โดย บรูว์สเตอร์ เคล และ บรูซ กิลเลียต และสนับสนุนโดย เจคอบ ซาฟรา โดยจะให้เป็นเว็บในเชิงพาณิชย์ของ Archive.org ในปี พ.ศ. 2542 แอมะซอนได้ซื้ออเล็กซาเป็นจำนวนหุ้นในมูลค่า 250 ล้านดอลลาร์สหรัฐ อเล็กซาแตกต่างจากเว็บอื่น โดยจัดอันดับเว็บไซต์ผ่านตามความสัมพันธ์ของเว็บไซต์ผ่านทางบอตและเครื่องมือต่างๆ โดยเจ้าของเว็บไซต์ไม่จำเป็นต้องติดตั้งโปรแกรมเสริมเพื่อส่งข้อมูลให้.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและอเล็กซา · ดูเพิ่มเติม »

จิมมี เวลส์

มมี ดอนอล "จิมโบ" เวลส์ (Jimmy Donal "Jimbo" Wales) เกิดวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2509 เป็นผู้ประกอบการด้านอินเทอร์เน็ตชาวอเมริกัน และเป็นผู้ก่อตั้งวิกิพีเดีย ซึ่งเป็นสารานุกรมเนื้อหาเสรีบนอินเทอร์เน็ตที่เปิดให้ทุกคนร่วมมือกันแก้ไขได้.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและจิมมี เวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ข้อมูลเมทา

้อมูลเมทา(metadata) หมายถึง ข้อมูลหรือสารสนเทศที่ถูกจัดทำขึ้นอย่างมีโครงสร้างเพื่อใช้ในการบรรยายทรัพยากรสารสนเทศ ในด้านลักษณะเนื้อหา และบริบทที่เกี่ยวข้องซึ่งได้แก่ลักษณะทางกายภาพและการผลิตทรัพยากรสารสนเทศ ตลอดจนความสัมพันธ์ (Relation) ระหว่างองค์ประกอบที่ใช้ในการบรรยายทรัพยากรสารสนเทศ  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตอบสนองการทำงาน คือ การสืบค้น และการบริหารจัดการ ซึ่งประกอบไปด้วยการกำหนดสิทธิในการใช้ การกำหนดความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา การสงวนรักษ.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและข้อมูลเมทา · ดูเพิ่มเติม »

ดิกก์

กก์ (Digg) เป็นเว็บไซต์ที่เน้นข่าวเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ โดยผสม social bookmarking บล็อก และการเชื่อมโยงเนื้อหาเว็บ เข้าด้วยกัน และมีการกรองคัดเลือกเนื้อหาในลักษณะการร่วมลงคะแนนที่ทุกคนเท่าเทียมกัน (ไม่มีลำดับชั้น) เนื้อหาข่าวและเว็บไซต์จะถูกส่งเข้ามาโดยผู้ใช้ จากนั้นจะถูกเลื่อนให้ไปแสดงที่หน้าแรกผ่านระบบการจัดอันดับโดยผู้ใช้ ซึ่งแตกต่างจากระบบการกรองคัดเลือกเนื้อหาในเว็บไซต์อื่น ๆ จำนวนมากใช้อยู.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและดิกก์ · ดูเพิ่มเติม »

ดีมอซ

alt.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและดีมอซ · ดูเพิ่มเติม »

ครีเอทีฟคอมมอนส์

รีเอทีฟคอมมอนส์ ครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons: CC) เป็นองค์กรไม่แสวงกำไรที่สนับสนุนการใช้เนื้อหาโดยไม่ถูกจำกัดจากสัญญาอนุญาต สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์จะเอื้อให้มีการใช้สื่อทั้งทางภาพ เสียง ข้อมูล โดยการแบ่งแยกสัญญาอนุญาตย่อยออกสำหรับการแจกจ่ายและการใช้ข้อมูล โดยการอ้างอิงถึงเจ้าของลิขสิทธิ์เดิม ครีเอทีฟคอมมอนส์ก่อตั้งโดย ลอว์เรนซ์ เลสสิก ซึ่งปัจจุบันบริหารงานโดย โจอิจิ อิโต (จอย อิโต).

ใหม่!!: วิกิพีเดียและครีเอทีฟคอมมอนส์ · ดูเพิ่มเติม »

คลังปัญญาไทย

ลังปัญญาไทย เป็นเว็บไซต์สร้างสารานุกรมออนไลน์ ที่ผู้อ่านสามารถร่วมเขียนเนื้อหาได้ โดยจะเป็นโครงการพัฒนาแหล่งความรู้ภาษาไทย โดยอาศัยสื่ออินเทอร์เน็ต เปิดตัวทางสื่อมวลชนในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โดยในวันเปิดตัวนั้น ถึงแม้ว่าหน้าเว็บแรกของคลังปัญญาไทยประกาศว่ามีส่วนสารานุกรมต่อยอด แต่ยังไม่มีการเปิดใช้งานในส่วนของสารานุกรมต่อยอด (ส่วนวิกิ) โดยข้อมูลหลักเก็บไว้ในส่วนเนื้อหาที่ไม่อนุญาตให้ผู้อื่นแก้ไขตามที่ออกมาในข่าว และต่อมาในวันที่ 4..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและคลังปัญญาไทย · ดูเพิ่มเติม »

คาบาล

ล (Cabal) หมายถึงกลุ่มคนที่มากกว่าสองคนขึ้นไปที่มักจะทำการเผยแพร่ทัศนคติความคิดเห็นหรือผลประโยชน์ส่วนตัวในศาสนสถาน, รัฐ หรือ ประชาคม ที่มักจะทำโดยการหว่านล้อม.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและคาบาล · ดูเพิ่มเติม »

คุณ (บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์)

"คุณ" หรือ "ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลก" หรือ "พวกคุณทุกคน" (You) ถูกเลือกให้เป็นบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ ประจำปี..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและคุณ (บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์) · ดูเพิ่มเติม »

ตัวแบบโอเพนซอร์ซ

ตัวแบบโอเพนซอร์ซ (open-source model) เป็นตัวแบบการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบกระจายอำนาจที่สนับสนุนให้มีการร่วมมือกันอย่างเสรีLevine, Sheen S., & Prietula, M. J. (2013).

ใหม่!!: วิกิพีเดียและตัวแบบโอเพนซอร์ซ · ดูเพิ่มเติม »

ซอฟต์แวร์

OpenOffice.org Writer ซอฟต์แวร์ (software) หรือ ส่วนชุดคำสั่ง หรือบางครั้งมีการสะกดว่า ซอฟ‌ท์แวร์ เป็นส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ซอฟต์แวร์นั้นนอกจากจะสามารถใช้งานบนคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ยังสามารถใช้งานบนเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์อื่น เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือหุ่นยนต์ในโรงงาน หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ คำว่า "ซอฟต์แวร์" ใช้ครั้งแรกโดย จอห์น ดับเบิลยู. เทอร์กีย์ (John W. Turkey) ในปี พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) โดยแนวคิดของซอฟต์แวร์ปรากฏครั้งแรกในเรียงความของแอลัน ทัวริง บิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ กล่าวกันว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชิ้นแรกของโลกเขียนโดยเอดา ไบรอน เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับเครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) ของชาร์ลส แ.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและซอฟต์แวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซานฟรานซิสโก

ซานฟรานซิสโก หรือ แซนแฟรนซิสโก (San Francisco) คือเมืองในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา มีประชากร ประมาณ 808,976 คน ซึ่งเป็นเมืองที่มีความหนาแน่นประชากรเป็นอันดับสองของประเทศ เมืองซานฟรานซิสโกตั้งอยู่บริเวณอ่าวซานฟรานซิสโก ชาวยุโรปกลุ่มแรกที่มาตั้งรกรากในซานฟรานซิสโกคือชาวสเปน โดยในปี ค.ศ. 1776 เมืองมีชื่อว่า เซนต์ฟรานซิส (St. Francis) ในภายหลังจากช่วงยุคตื่นทองในปี ค.ศ. 1848 ทำให้ประชากรในซานฟรานซิสโกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และเมืองเติบโตอย่างมาก ถึงแม้ว่าซานฟรานซิสโกจะประสบปัญหา แผ่นดินไหวและไฟไหม้ขนาดใหญ่ในช่วงปี..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและซานฟรานซิสโก · ดูเพิ่มเติม »

ซิติเซนเดียม

ซิติเซนเดียม (Citizendium) เป็นโครงการรวบรวมความรู้จากทั่วโลก มีลักษณะคล้ายสารานุกรมออนไลน์วิกิพีเดีย เริ่มโครงการโดย แลร์รี แซงเจอร์ หนึ่งในผู้ก่อตั้งวิกิพีเดีย ลักษณะการทำงานของเว็บจะทำงานโดยการควบคุมโดยผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขา โดยนำข้อมูลจากวิกิพีเดียภายใต้ลิขสิทธิ์ของ GFDL มาดัดแปลงและแก้ไขโดยผู้เชี่ยวชาญ ข้อแตกต่างของซิติเซนเดียมที่แยกตัวมาจากวิกิพีเดียอย่างเด่นชัดคือ ลักษณะการแก้ไข โดยผู้ใช้ที่จะแก้ไขต้องลงทะเบียนทุกคน และต้องระบุชื่อและนามสกุลจริงรวมถึงความสามารถและความเชี่ยวชาญจริงไป ข้อมูลของซิติเซนเดียมจะนำมาจากวิกิพีเดียทั้งหมดโดยข้อมูลที่มีการแก้ไขโดยผู้เชี่ยวชาญจะถูกแยกไว้ส่วนหนึ่งต่างหาก ในขณะเดียวกันข้อมูลที่ไม่มีการแก้ไขเป็นระยะเวลาหนึ่งจะถูกลบออก และนำข้อมูลล่าสุดจากวิกิพีเดียมาใส่แทนที่ โครงการนี้ได้ประกาศมาเมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2549 ในงาน วิซาร์ดออฟโอเอส 4 (Wizards of OS 4) ในเบอร์ลิน โดยวันที่เปิดตัวของเว็บไซต์นี้ยังไม่มีการระบุ ณ วันที่ 9 มีนาคม..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและซิติเซนเดียม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอริเชียส

มอริเชียส (Mauritius) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐมอริเชียส (Republic of Mauritius) คือประเทศที่เป็นเกาะนอกชายฝั่งแอฟริกาในมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ ประมาณ 900 กิโลเมตร (560 ไมล์) และทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดียประมาณ 3,943 กิโลเมตร (2,450 ไมล์) นอกจากตัวเกาะมอริเชียสแล้ว สาธารณรัฐมอริเชียสประกอบด้วยเกาะเซนต์แบรนดอน เกาะรอดรีกส์ และหมู่เกาะอากาเลกา มอริเชียสเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะแมสการีน มีเกาะเรอูนียงของฝรั่งเศส ตั้งอยู่ห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 200 กิโลเมตร (125 ไมล์).

ใหม่!!: วิกิพีเดียและประเทศมอริเชียส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรีย

ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและประเทศออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์

นเธอร์แลนด์ (Nederland เนเดอร์ลอนต์; Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า "ฮอลแลนด์" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่มีพื้นที่ต่ำ โดย 20% ของพื้นที่อยู่ และ 21% ของประชากรอาศัยอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล และ 50% ของพื้นที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกินหนึ่งเมตร ซึ่งลักษณะเด่นนี้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ในภาษาดัตช์ อังกฤษและภาษาอื่นของยุโรปอีกหลายภาษา ชื่อประเทศหมายถึง "แผ่นดินต่ำ" หรือ "กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ" พื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการสกัดพีต (peat) อย่างกว้างขวางและมีการควบคุมไม่ดีหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวต่ำลงหลายเมตร แม้ในพื้นที่น้ำท่วมถึง การสกัดพีตยังดำเนินต่อไปโดยการขุดลอกพื้นที่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เริ่มมีการฟื้นสภาพที่ดินและปัจจุบันมีการสงวนพื้นที่โพลเดอร์ (polder) ขนาดใหญ่ด้วยระบบการระบายน้ำที่ซับซ้อนซึ่งมีทั้งพนัง คลองและสถานีสูบ พื้นที่เกือบ 17% ของประเทศเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการถมทะเล พื้นที่บริเวณกว้างของเนเธอร์แลนด์เกิดจากชะวากทะเลของแม่น้ำสำคัญของทวีปยุโรปสามสายและลำน้ำแตกสาขาเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไรน์–เมิซ–ซเกลดะ (Rhine–Meuse–Scheldt delta) พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ ยกเว้นเนินเขาทางตะวันออกเฉียงใต้และเทือกเขาเตี้ย ๆ หลายเทือกทางตอนกลาง ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป จี-10 นาโต้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) องค์การการค้าโลก และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพเศรษฐกิจไตรภาคีเบเนลักซ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นที่ตั้งขององค์การห้ามอาวุธเคมี และศาลระหว่างประเทศห้าศาล ได้แก่ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียและคณะตุลาการพิเศษสำหรับเลบานอน สี่ศาลแรกตั้งอยู่ในกรุงเฮก เช่นเดียวกับยูโรโปล สำนักข่าวกรองอาชญากรรมของสหภาพยุโรป และยูโรจัสต์ สำนักความร่วมมือทางตุลาการ ทำให้กรุงเฮกได้รับสมญาว่า "เมืองหลวงกฎหมายโลก" ประเทศเนเธอร์แลนด์ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมอิงตลาด โดยอยู่ในอันดับที่ 17 จาก 177 ประเทศในดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2554 เป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับที่ 10 ของโลก ในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน OECD จัดให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศ "ที่มีความสุขที่สุด" ในโลก ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการครองชีพที่สูง.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและประเทศเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

นูพีเดีย

ัญลักษณ์นูพีเดีย นูพีเดีย (Nupedia) เป็นสารานุกรมออนไลน์ก่อตั้งโดย จิมมี เวลส์ ผู้ก่อตั้งวิกิพีเดีย เนื้อหาของนูพีเดียถูกเขียนโดยผู้เชี่ยวชาญจากแต่ละสาขา โดยเปิดใช้งานครั้งแรกเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2543 แต่ได้ปิดตัวลงเมื่อ กันยายน พ.ศ. 2546 โดยโอนเนื้อหาทั้งหมดย้ายมาในโครงการวิกิพีเดีย ซึ่งทำให้นูพีเดียได้ชื่อว่าเป็นวิกิพีเดียรุ่นแรก ข้อมูลของนูพีเดียได้มีการถูกตรวจสอบความถูกต้องและหลักภาษาค่อนข้างสูง ถึงแม้ว่านูพีเดียจะเป็นต้นฉบับของวิกิพีเดีย แต่ซอฟต์แวร์ที่ใช้แตกต่างกัน โดยใช้ซอฟต์แวร์ชื่อ นูปโค้ด (NupeCode) ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์เสรีที่ใช้สำหรับโครงการเขียนหนังสือซึ่งมีระบบตรวจทาน (peer-review) แต่ปัญหาในการเชื่อมโยงที่ยากลำบาก ซอฟต์แวร์มีเดียวิกิจึงถูกเลือกมาใช้แทนที่ซอฟต์แวร์เดิม ซีเน็ตได้จัดให้นูพีเดียเป็นเว็บไซต์ยอดเยี่ยมที่ถูกปิดตัวลง.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและนูพีเดีย · ดูเพิ่มเติม »

แลร์รี แซงเจอร์

แลร์รี แซงเจอร์ ลอว์เรนซ์ มาร์ก "แลร์รี" แซงเจอร์ (Lawrence Mark "Larry" Sanger) (16 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 —) เคยเป็นผู้จัดเตรียมสารานุกรมออนไลน์หลายเว็บไซต์ รู้จักกันดีในฐานะหนึ่งในผู้ก่อตั้งวิกิพีเดีย แลร์รี แซงเจอร์ เกิดที่เมือง เบลเลวิว รัฐวอชิงตัน และโตที่เมือง แองโคเรจ รัฐอะแลสกา ได้รับปริญญาตรีสาขาปรัชญาที่ มหาวิทยาลัยรีด และปริญญาเอกในสาขาเดิมที่ มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตต หัวข้อวิทยานิพนธ์ปริญญาตรีของเขาชื่อ Descartes' methods and their theoretical background และวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของเขานั้นกล่าวถึง Epistemic Circularity: An Essay on the Problem of Meta-Justification ในวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2549 แลร์รีประกาศจะเริ่มโครงการเว็บไซต์สารานุกรมตัวใหม่แยกตัวออกมาจากวิกิพีเดียในชื่อว่า ซิติเซนเดียม.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและแลร์รี แซงเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แหล่งปฐมภูมิ

แหล่งปฐมภูมิ ในการศึกษาประวัติศาสตร์เป็นสาขาวิชาการ คือ สิ่งประดิษฐ์ เอกสาร บันทึกหรือแหล่งสารสนเทศอื่นที่ถูกสร้างขึ้นในช่วงเวลาที่กำลังศึกษา ทำหน้าที่เป็นแหล่งสารสนเทศต้นฉบับเกี่ยวกับหัวข้อนั้น นิยามคล้ายกันยังใช้ในบรรณารักษศาสตร์ และสาขาวิชาการอื่น ในวารสารศาสตร์ แหล่งปฐมภูมิสามารถเป็นบุคคลที่มีความรู้สถานการณ์โดยตรง หรือเอกสารที่สร้างโดยบุคคลดังกล่าว หมวดหมู่:วิทยาการสารสนเทศ หมวดหมู่:บรรณารักษศาสตร์ หมวดหมู่:การวิจัย.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและแหล่งปฐมภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

แอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)

ซัมซุง กาแลคซี โน้ต แอนดรอยด์ (Android) เป็นระบบปฏิบัติการที่มีพื้นฐานอยู่บนลินุกซ์ ในอดีตถูกออกแบบมาสำหรับอุปกรณ์ที่ใช้จอสัมผัส เช่นสมาร์ตโฟน และแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันได้แพร่ไปยังอุปกรณ์หลายชนิดเพราะเป็นมาตรฐานเปิด เช่น Nikon S800C กล้องดิจิตอลระบบแอนดรอยด์ หม้อหุงข้าว Panasonic ระบบแอนดรอยด์ และ Smart TV ระบบแอนดรอยด์ รวมถึงกล่องเสียบต่อ TV ทำให้สามารถใช้ระบบแอนดรอยด์ได้ด้วย Android Wear นาฬิกาข้อมือระบบแอนดรอด์ เป็นต้น ถูกคิดค้นและพัฒนาโดยบริษัท แอนดรอยด์ (Android, Inc.) ซึ่งต่อมา กูเกิล ได้ทำการซื้อต่อบริษัทในปี..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและแอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ) · ดูเพิ่มเติม »

โบมิส

มิส เป็นบริษัทดอตคอม ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและโบมิส · ดูเพิ่มเติม »

โลลิคอน

ื่อแบบโลลิคอนมักแสดงความไร้เดียงสาของเด็กๆในรูปแบบที่คิดได้หลายแง่ โลลิคอน เป็นศัพท์สแลงมาจากคำว่า โลลิตาคอมเพล็กซ์ (Lolita complex) ประโยคนี้อ้างอิงมาจากหนังสือชื่อ โลลิตา ของ วลาดิมีร์ นาโบคอฟ มีเนื้อหาเกี่ยวกับชายที่อายุสูงกว่ามาก มีความรู้สึกเสน่หากับเด็กผู้หญิงอายุเพียง 12 ปี ในประเทศญี่ปุ่นคำๆนี้จะใช้แทนพฤติกรรม ของผู้ที่มีอายุสูงกว่ามาก ที่มีความรู้สึกเสน่หา หรือมีความรู้สึกส่วนตัวเป็นพิเศษ กับเด็กที่อายุราวๆ 10-20 ปี หรือต่ำกว่านั้นในบางกรณี ส่วนนอกประเทศญี่ปุ่นนั้น คำนี้มักหมายถึงประเภทของการ์ตูน หรือ อะนิเมะ ซึ่งตัวละครที่เป็นเด็กผู้หญิง จะสามารถแสดงออกถึงท่าทางที่เซ็กซี่เกินวัย พวกโลลิคอน มักถูกกล่าวหาว่าเป็นพวกที่ส่งเสริมการล่วงละเมิดทางเพศกับเด็ก และในหลายประเทศ มีความพยายาม ที่จะออกบทบัญญัติกำหนด ความผิดของพฤติกรรมโลลิคอน ว่าเป็นความผิดต่อเด็ก ซึ่งหมายรวมไปถึงรูปภาพ วิดีโอ วัตถุหรือพฤติกรรมอันหนึ่งอันใด ที่แสดงให้เห็นว่าละเมิดทางเพศ อย่างร้ายแรงต่อเด็ก แต่ฝ่ายโลลิคอนก็โต้แย้งว่า การที่ตัดสินว่าผู้มีพฤติกรรมโลลิคอน เป็นความผิดร้ายแรงนั้น เป็นการสรุปที่อ่อนด้อยทางความคิด เพราะฝ่ายโลลิคอนเองมีเสรีภาพ ที่จะแสดงออกทางความคิด หรือพฤติกรรมที่ไม่ก่อให้เกิด ความเสียหาย การปิดกั้นสิ่งเหล่านี้ จะเป็นการเพิ่มอัตราความเสี่ยงต่อเด็กเสียมากกว่า อันเนื่องมาจากผู้ที่มีความผิดปกติทางจิตประเภทเพโดฟิเลีย (pedophilia) นี้ถูกปิดกั้นแม้พฤติกรรมการแสดงออกทางเพศผ่านทางการวาดเขียนการ์ตูน หรือเกมแอนิเมชัน.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและโลลิคอน · ดูเพิ่มเติม »

โจรกรรมทางวรรณกรรม

รกรรมทางวรรณกรรม หรือ การลอกเลียนวรรณกรรม (plagiarism) หมายถึง การลอกงานเขียน ความคิดหรืองานสร้างสรรค์ดั้งเดิมทั้งหมดหรือบางส่วนที่เหมือนหรือเกือบเหมือนงานดั้งเดิมของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นงานดั้งเดิมของตนเอง ในวงวิชาการ โจรกรรมทางวรรณกรรมโดยนิสิตนักศึกษา อาจารย์หรือนักวิจัยถือเป็น “ความไม่สุจริตทางวิชาการ” (en:academic dishonesty) หรือ “การฉ้อฉลทางวิชาการ” (en:academic fraud) และผู้กระทำผิดจะต้องถูกตำหนิทางวิชาการ (academic censure) โจรกรรมทางวรรณกรรมในงานสื่อสารมวลชนถือเป็นละเมิดจรรยาบรรณทางวารสารศาสตร์ (en:journalistic ethics) นักข่าวที่ถูกจับได้โดยทั่วไปจะถูกลงโทษทางวินัยตั้งแต่พักงานถึงการถูกให้ออกจากงาน สำหรับบุคคลทั่วไปที่ถูกจับได้ว่าทำโจรกรรมทางวรรณกรรมทางวิชาการหรือทางงานหนังสือพิมพ์มักอ้างว่าได้กระทำลงไปโดยไม่ได้ตั้งใจ โดยลืมใส่อ้างอิง หรือใส่คำประกาศกิตติคุณ (en:citation) ที่เหมาะสมไว้ ปัญหาโจรกรรมทางวรรณกรรมเป็นปัญหาที่เกิดมานานนับศตวรรษมาแล้วซึ่งเป็นแบบรูปเล่ม การพัฒนาทางอินเทอร์เน็ตที่บทความปรากฏในรูปของอีเล็กทรอนิกส์ ทำให้งานคัดลอกทำได้เพียง “ลอก” ข้อความในเว็บมา “ใส่” ไว้ในอีกเว็บหนึ่งอย่างง่ายดายที่เรียกว่า “การคัดลอก-แปะ” (en:copying and pasting) โจรกรรมทางวรรณกรรมต่างกับการละเมิดลิขสิทธิ์แม้ทั้งสองคำนี้ใช้กับพฤติกรรมที่คล้าย ๆ กัน เพียงแต่เน้นการละเมิดที่ต่างมุมกัน การละเมิดลิขสิทธิ์เป็นการละเมิดสิทธิ์ด้วยการไม่บอกกล่าวกับผู้ถือลิขสิทธิ์ แต่ขณะเดียวกัน ในอีกด้านหนึ่งโจรกรรมทางวรรณกรรมเกี่ยวข้องกับการสร้างชื่อเสียงให้ตนเองของผู้กระทำด้วยการแอบอ้างว่าตนเป็นผู้เขียน.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและโจรกรรมทางวรรณกรรม · ดูเพิ่มเติม »

โซล

ซล (ซออุล) ชื่ออย่างเป็นทางการ นครพิเศษโซล เป็นเมืองหลวงและมหานครที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเกาหลีใต้ มีประชากรประมาณ 10 ล้านคน เป็นปริมณฑลที่ใหญ่ มีประชากรประมาณ 25 ล้านคนซึ่งเป็นบริเวณที่อยู่อาศัยซึ่งประกอบด้วยบริเวณมหานครอินช็อนและจังหวัดคย็องกี เกือบหนึ่งในสี่ของประชากรชาวเกาหลีใต้อาศัยอยู่ในโซลและชาวต่างชาติอีกประมาณ 275, 000 คน นครโซลได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ระดับหลายเหตุการณ์ โดยการใช้ความพยายามอย่างมากที่จะเพิ่มอิทธิพลในฐานะประเทศที่เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมนานาชาติมากเป็นอันดับที่ 5 ในปี 2553 โซลได้รับการโหวตให้เป็นเป้าหมายยอดนิยมในการท่องเที่ยวจากนักท่องเที่ยวชาวจีน, ญี่ปุ่นและไทย 3 ปีต่อเนื่องกันในปี 2554 สถานีรถไฟโซลเป็นสถานีปลายทางหลักของรถไฟความเร็วสูงเคทีเอ๊กซ์และสถานีรถไฟใต้ดินโซลยังเป็นสถานีที่มีผู้ใช้งานมากเป็นอับดับที่สองของโลกโดยมีลักษณะเป็นสายวงรอบที่ยาวที่สุดและและมีเส้นทางรถไฟไต้ดินจนสุดสายที่ยาวเป็นอับดับที่สองของโลก โซลนั้นได้รวมระบบขนส่งมวลชนเข้ากับเมืองอินช็อนและจังหวัดคย็องกี โดยสามารถให้ผู้โดยสารสามารถใช้บริการรถโดยสารประจำทางหรือรถไฟไต้ดินได้อย่างอิสระโดยใช้บัตรที-มันนี่และเชื่อมต่อโดยทางเอเร็กซ์เพื่อไปยังท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน ซึ่งถูกจัดเป็นสนามบินยอดเยี่ยมตั้งแต่ปี 2548 โดยสภาการท่าอากาศยานนานาชาติ โซลเคยเป็นเจ้าภาพเอเชียนเกมส์ 1986, โอลิมปิกฤดูร้อน 1988, ฟุตบอลโลก 2002 และการประชุมสุดยอด จี-20 2010 โซลได้ชื่อว่าเป็นเมืองแห่งการออกแบบในปี 2553 โดยสมาคมออกแบบอุตสาหกรรมนานาชาต.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและโซล · ดูเพิ่มเติม »

โนล

นล (Knol) เป็นสารานุกรมออนไลน์ ให้บริการโดยกูเกิล มีเนื้อหาหลากหลายทั้งด้านวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ประวัติศาสตร์ และบันเทิง บทความแต่ละชิ้นดูแลโดยผู้เขียนหลัก กูเกิลประกาศโครงการนี้ต่อสาธารณะครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ชื่อ knol ย่อมาจาก "unit of knowledge" (หน่วยความรู้) บีบีซีรายงานว่า ผู้เชี่ยวชาญหลายคนเห็นว่าโนลเป็นความพยายามของกูเกิลที่จะแข่งกับวิกิพีเดีย โนลมีพื้นฐานเป็น เว็บ 2.0 ในแต่ละบทความจะมีผู้รับผิดชอบหลักหนึ่งคน ผู้ใช้อื่นที่จะมาร่วมแก้ไขจะต้องได้รับอนุญาตจากผู้รับผิดชอบหลัก โดยอาจจะมีการให้คะแนนบทความโดยผู้อ่าน และในหัวข้อเดียวกันอาจจะมีหลายบทความก็ได้ ปัจจุบัน เว็บไซต์ปิดตัวลงแล้ว ในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและโนล · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครซอฟท์

มโครซอฟท์ (Microsoft) เป็นหนึ่งในบริษัทผู้ผลิตและพัฒนาซอฟต์แวร์รายใหญ่ของโลก มีฐานการผลิตอยู่ที่เมืองเรดมอนด์ รัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา โดยผลิตภัณฑ์ของไมโครซอฟท์ที่มีกำลังการตลาดมากที่สุดคือ ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และ ไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ จุดเริ่มต้นของบริษัทคือการพัฒนาและออกจำหน่ายตัวแปลภาษาเบสิก สำหรับเครื่องแอทแอร์ 8800 หลังจากนี้น ไมโครซอฟท์เริ่มมีอิทธิพลต่อผู้ใช้คอมพิวเตอร์ภายในบ้าน โดยการออกระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ดอสเมื่อช่วงกลางยุค 1980 ในสายการผลิตของไมโครซอฟท์ วินโดวส์ โดยได้รับความนิยมจากผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี นักวิจารณ์ผู้หนึ่งกล่าวถึงเป้าหมายแรกของไมโครซอฟท์ว่า ไมโครซอฟท์ได้เริ่มครอบงำตลาดซอฟต์แวร์อื่นๆ โดยไมโครซอฟท์มีกิจการอื่นๆ ของตัวเองเช่น MSNBC (ดำเนินธุรกิจเคเบิลทีวี), เอ็มเอสเอ็น (ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต),และเอ็นคาร์ทาร์ (ดำเนินธุรกิจสารานุกรมออนไลน์) บริษัทยังดำเนินกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์อีกด้วย เช่น เมาส์ และอุปกรณ์ความบันเทิงต่าง ๆ เช่น Xbox, Xbox 360, Xbox One, ซูน และ เอ็มเอสเอ็น ทีวี.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและไมโครซอฟท์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอพอด

รุ่นต่างๆของไอพอด สัญลักษณ์ของอุปกรณ์ที่ทำขึ้นสำหรับไอพอด ไอพอด (iPod) เป็นชื่อของเครื่องฟังเพลงพกพาของบริษัทแอปเปิล คอมพิวเตอร์ ไอพอดใช้ฮาร์ดดิสก์ในการเก็บข้อมูล แต่ในรุ่นไอพอดชัฟเฟิล ไอพอดนาโน และ ไอพอดทัช จะใช้หน่วยความจำแบบแฟลช ไอพอดสามารถใช้เก็บข้อมูลสำหรับแลกเปลี่ยนระหว่างคอมพิวเตอร์ได้ (ขึ้นอยู่กับขนาดของหน่วยความจำในแต่ละรุ่น) แนวคิดของเครื่องฟังเพลงพกพาคิดค้นขึ้นโดยนายเคน แครมเมอร์ เมื่อเขาอายุ 23 ปี เครื่องฟังเพลงพกพาเครื่องแรกที่เขาประดิษฐ์ใช้ชื่อว่า ไอเอกซ์ไอ มีขนาดประมาณบัตรเครดิต สามารถบันทึกเพลงในหน่วยความจำได้ประมาณ 3 นาที 30 วินาที เมื่อพ.ศ. 2531 ลิขสิทธิ์ของไอเอกซ์ไอหมดลง ต้องใช้เงินจำนวน 3.6 ล้านบาทเพื่อต่อสิขสิทธิ์ใน 120 ประเทศ แต่เขาไม่สามารถหาเงินจำนวนนั้นได้ สิขสิทธิ์ไอเอกซ์ไอจึงขาด ทำให้ไอเอกซ์ไอกลายเป็นสาธารณสมบัติในที่สุด ไอพอดรุ่นแรกได้รับการตั้งชื่อใหม่ว่า ไอพอดคลาสสิก (iPod classic) เพื่อแบ่งแยกกับไอพอดรุ่นใหม.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและไอพอด · ดูเพิ่มเติม »

ไอโฟน

อโฟน (iPhone) เป็นโทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตและมัลติมีเดีย ผลิตและจำหน่ายโดยบริษัทแอปเปิล โดยการทำงานของไอโฟนสามารถใช้งานส่งอีเมล ใช้เป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่งเอสเอ็มเอส ท่องอินเทอร์เน็ตผ่านทางซอฟต์แวร์ซาฟารี ค้นหาแผนที่ ฟังเพลง และความสามารถอื่น โดยมีอุปกรณ์หลักประกอบด้วย Wi-Fi (802.11b/g) บลูทูธ 2.0 และกล้องถ่ายภาพ 2.0-megapixel ไอโฟนรุ่นแรกมีลักษณะ 2.5G quad band GSM และ EDGE และรุ่นที่สองใช้ UMTS และ HSDPA แอปเปิลได้เปิดเผยไอโฟนรุ่นแรกโดย สตีฟ จอบส์ ในงานแม็คเวิลด์ วันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2550 และวางจำหน่ายครั้งแรกในสหรัฐอเมริกาวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ไอโฟนได้ชื่อว่าเป็นสิ่งประดิษฐ์ยอดเยี่ยมประจำปีจากนิตยสารไทม์ ประจำปี 2550 โดยมีรุ่นถัดมาคือ ไอโฟน 3G ไอโฟน 3GS ไอโฟน 4 ไอโฟน 4S ไอโฟน 5 ไอโฟน 5C ไอโฟน 5S ไอโฟน 6 ไอโฟน 6พลัส ไอโฟน 6S ไอโฟน 6Sพลัส และ ไอโฟนSE โดยApple.Inc ได้เปิดตัวไอโฟนSE ซึ่งเปิดตัวเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2559 ที่กลับไปใช้ขนาดหน้าจอเดียวกับไอโฟน 5S เนื่องจากผู้บริโภคกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่งไม่ชอบขนาดหน้าจอของไอโฟน 6, 6S, 6พลัสและ 6Sพลัส ซึ่งมีขนาดใหญ่เกินไป โดยไอโฟน SE มีสเปคเครื่องที่ดีกว่า iPhone 5S เช่น ในเรื่องของความเร็ว ที่เร็วกว่าสองถึงสามเท่า รวมทั้งปรับส่วนต่าง ๆ ให้เกือบเทียบเท่าไอโฟน 6S ต่อมาได้พัฒนาไอโฟนรุ่นต่อไปคือไอโฟน7 และไอโฟน7 พลัส ไอโฟนรุ่นล่าสุดคือ ไอโฟน8 ไอโฟน8 พลัส ไอโฟนเอ็กซ.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและไอโฟน · ดูเพิ่มเติม »

ไทม์

ปกฉบับแรกของนิตยสาร Time ไทม์ (Time หรือตามเครื่องหมายการค้าคือ TIME) เป็นนิตยสารข่าวรายสัปดาห์ของสหรัฐอเมริกา เริ่มพิมพ์ฉบับแรก โดยเป็นนิตยสารข่าวรายสัปดาห์เล่มแรกของประเทศ โดยในปัจจุบันไทม์มีจัดพิมพ์หลายแห่งทั่วโลก โดยในยุโรปใช้ชื่อว่า "ไทม์ยุโรป" (หรือที่ในอดีตเรียกว่า ไทม์แอตแลนติก) มีสำนักงานอยู่ที่ลอนดอน และออกจำหน่ายในยุโรป ตะวันออกกลาง แอฟริกา รวมถึงละตินอเมริกา ส่วนในเอเชีย ใช้ชื่อว่า "ไทม์เอเชีย" มีสำนักงานที่ฮ่องกง ขณะที่ "ไทม์แคนาดา" เป็นฉบับสัญชาติแคนาดาซึ่งจัดจำหน่ายในประเทศแคนาดา และ "ไทม์เซาท์แปซิฟิก" ซึ่งจัดจำหน่ายครอบคลุมออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และหมู่เกาะแปซิฟิก มีสำนักงานอยู่ที่ซิดนีย์ ในปัจจุบัน นิตยสารไทม์จัดการโดยบริษัทไทม์วอร์เนอร์ สำนักงานใหญ่อยู่ที่นิวยอร์ก และมีนายริชาร์ด สเตนเจล เป็นบรรณาธิการบริหาร.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

ไซเบอร์สเปซ

ซเบอร์สเปซ (Cyberspace) หรือ ปริภูมิไซเบอร์ เป็นภาวะนามธรรมเชิงอุปลักษณ์ ใช้ในด้านปรัชญา หรือ คอมพิวเตอร์ เป็นความจริงเสมือนซึ่งแทนโลกในทฤษฎีทางปรัชญาของ คารล์ ปอปเปอร์ (Karl Popper) ซึ่งรวมทั้งสิ่งต่างๆ ในคอมพิวเตอร์จนถึงระบบเครือ.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและไซเบอร์สเปซ · ดูเพิ่มเติม »

ไป่ตู้ไป่เคอ

thumbnail ไป่ตู้ไป่เคอ (แปลว่า สารานุกรมไป่ตู้) เป็นสารานุกรมออนไลน์ที่ร่วมกันเขียนในภาษาจีน จัดทำโดยไป่ตู้ เริ่มมีการสร้างขึ้นโดยการพัฒนาต่อยอดไปจากวิกิพีเดีย โดยเนื้อหาภายในได้มีนโยบายที่แตกต่างกันโดยจะไม่มีเนื้อหาที่ทำให้เกิดปัญหากับการเมืองจีน รวมถึงเรื่องลัทธิและนิกายที่ไม่ยอมรับในประเทศจีน ปัจจุบันไป่ตู้ไป่เคอมีเนื้อหามากกว่าวิกิพีเดียภาษาจีน ที่มีการถูกห้ามใช้งานหลายครั้งในประเทศจีน.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและไป่ตู้ไป่เคอ · ดูเพิ่มเติม »

เฟซบุ๊ก

ฟซบุ๊ก (Facebook) เป็นบริการเครือข่ายสังคมสัญชาติอเมริกัน สำนักงานใหญ่อยู่ที่ เมนโลพาร์ก รัฐแคลิฟอร์เนีย เฟซบุ๊กก่อตั้งเมื่อวันพุธที่ 4 กุมภาพัน..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและเฟซบุ๊ก · ดูเพิ่มเติม »

เกรียน

กรียน เป็นศัพท์สแลงแทนบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว ก่อกวน ไร้เหตุผล หรือคิดว่าตัวเองเป็นศูนย์กลางของสังคมอินเทอร์เน็ต บุคคลกลุ่มนี้จะใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผลหรือการวิเคราะห์ไตร่ตรอง นอกจากนี้ยังอาจหมายถึงบุคคลที่ชอบแสดงตัวว่ามีความรู้ ทั้งที่ในความเป็นจริงไม่มีความรู้ดังกล่าวเลย หรือมีเพียงผิวเผินเท่านั้น.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและเกรียน · ดูเพิ่มเติม »

เวียนนา

วียนนา (Vienna) หรือ วีน (Wien) เป็นเมืองหลวงของประเทศออสเตรีย และเป็นชื่อเขตการปกครองในออสเตรียด้วย เวียนนาเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในออสเตรีย เป็นศูนย์กลางทั้งเศรษฐกิจและการปกครอง มีประชากรประมาณ 1.8 ล้านคน มีแม่น้ำดานูบไหลผ่าน เวียนนายังเป็นที่ตั้งของหน่วยงานในสหประชาชาติหลายแห่ง เช่น United Nations Industrial Development Organization (UNIDO) และองค์กรระดับนานาชาติหลายแห่ง เช่น โอเปก (OPEC).

ใหม่!!: วิกิพีเดียและเวียนนา · ดูเพิ่มเติม »

เว็บ 2.0

แท็กคลาวด์ แสดงผลของเว็บ 2.0 เว็บ 2.0 มีความเชื่อมโยงกับโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ ซึ่งมีลักษณะส่งเสริมให้เกิดการแบ่งปันข้อมูล การพัฒนาในด้านแนวความคิดการออกแบบที่เน้นผู้ใช้งานเป็นศูนย์กลาง (User-centered design) และ การร่วมสร้างข้อมูลในโลกของอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ เว็บไซต์ที่ออกแบบโดยใช้หลักการของเว็บ 2.0 ทำให้กลุ่มผู้ใช้งานสามารถปฏิสัมพันธ์และร่วมมือกันในลักษณะของสื่อสังคมออนไลน์ โดยกลุ่มผู้ใช้งานเป็นผู้สร้างเนื้อหาขึ้นเอง ต่างจาก เว็บ 1.0 ที่กลุ่มผู้ใช้ถูกจำกัดบทบาทโดยทำได้แค่เพียงการเยี่ยมชม หรือดูเนื้อหาที่ผู้ใช้สนใจ สำหรับตัวอย่างของเว็บ 2.0 ได้แก่ บล็อก เครือข่ายสังคมออนไลน์ สารานุกรมเสรี วิดีโอแชริง โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ แมชอัพส์ และ โฟล์คโซโนมี คำว่า "เว็บ 2.0" เริ่มเป็นที่รู้จักในวงกว้าง หลังจากงานประชุม โอไรล์ลีย์มีเดีย เว็บ 2.0 ที่จัดขึ้นในปี 2547 คำว่า "เว็บ 2.0" นั้นเป็นคำกล่าวเรียกลักษณะของเวิลด์ไวด์เว็บในปัจจุบัน ตามลักษณะของผู้ใช้งาน โปรแกรมเมอร์และผู้ให้บริการ ซึ่งตัวเว็บ 2.0 เองนั้นไม่ได้กล่าวถึงการพัฒนาทางด้านเทคนิคแต่อย่างใด แต่เป็นคำที่กล่าวถึงลักษณะโดยรวมที่ผู้พัฒนาเว็บเปลี่ยนแปลงวิธีการออกแบบเว็บไซต์ และผู้ใช้ปลายทางเปลี่ยนแปลงบทบาทการใช้งานเว็บ ทิม เบอร์เนิร์สลี ผู้เริ่มแนวความคิด และสร้างเวิลด์ไวด์เว็บ ได้ตั้งข้อสังเกตว่า ลักษณะทางเทคนิคของเว็บ 2.0 นั้นเกิดขึ้นมานานกว่าคำว่า "เว็บ 2.0" จะถูกนำมาเรียกใช้ วิสัยทัศน์เริ่มแรกของเบอร์เนิร์ส ลี คือการสร้างสื่อที่เอื้อต่อการร่วมสรรค์สร้างของผู้ใช้งาน เป็นสื่อกลางที่ผู้ใช้งานไม่เพียงแต่รับ แต่สามารถร่วมแบ่งปันข้อมูลข่าวสารด้ว.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและเว็บ 2.0 · ดูเพิ่มเติม »

เว็บท่า

ว็บท่า (Web portal) หมายถึงเว็บที่รวบรวมลิงก์เว็บไซต์ และบทความต่างๆ โดยการจัดหมวดหมู่ให้ดูง่าย และมีหน้าที่นำพาผู้ชม ไปยังเว็บอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เว็บท่า อาจให้บริการแบบทั่วไป คือ มีเว็บครบทุกหมวดหมู่ general portal หรือบริการเฉพาะ เช่น เว็บท่าสุขภาพ (health portal) เว็บท่ามัลติมีเดีย (multimedia portal) เว็บท่าข่าว (news portal).

ใหม่!!: วิกิพีเดียและเว็บท่า · ดูเพิ่มเติม »

เว็บไซต์

หน้าหนึ่งในเว็บไซต์วิกิพีเดีย เว็บไซต์ (website, web site หรือ site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะเรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จำเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสียค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทำเว็บไซต์มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สำหรับธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บเบราว์เซอร์ เว็บไซต์แห่งแรกของโลกถูกสร้างขึ้นเมื่อ 30 เมษายน พ.ศ. 2536 โดยวิศวกรของเซิร์น.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและเว็บไซต์ · ดูเพิ่มเติม »

เว็บเบราว์เซอร์

วิลด์ไวด์เว็บ เว็บเบราว์เซอร์ตัวแรกของโลก ไม่มีข้อมูล เว็บเบราว์เซอร์ (web browser), เบราว์เซอร์ หรือ โปรแกรมค้นดูเว็บ คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ผู้ใช้สามารถดูข้อมูลและโต้ตอบกับข้อมูลสารสนเทศที่จัดเก็บในหน้าเว็บที่สร้างด้วยภาษาเฉพาะ เช่น ภาษาเอชทีเอ็มแอล ที่จัดเก็บไว้ที่เว็บเซอร์วิซหรือเว็บเซิร์ฟเวอร์หรือระบบคลังข้อมูลอื่น ๆ โดยโปรแกรมค้นดูเว็บเปรียบเสมือนเครื่องมือในการติดต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เรียกว่าเวิลด์ไวด์เว็บ เว็บเบราว์เซอร์ตัวแรกของโลกชื่อ เวิลด์ไวด์เว็บ ขณะเดียวกันเว็บเบราว์เซอร์ที่นิยมมากที่สุดในปัจจุบัน (พ.ศ. 2559) คือ กูเกิล โครม รองลงมาคือมอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ และอินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ ตามลำดั.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและเว็บเบราว์เซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เว็บเชิงความหมาย

ว็บเชิงความหมาย หรือ ซีแมนติกเว็บ (Semantic Web) คือพัฒนาการของเวิลด์ไวด์เว็บซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อมูลและการบริการบนเว็บไซต์ โดยสร้างความเป็นไปได้ที่เว็บไซต์จะสามารถเข้าใจถึงความต้องการของผู้ใช้และเครื่องมือที่ใช้บรรจุลงในสารบัญเว็บไซต์ ซึ่งมีที่มาจากเวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม เซอร์ ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี มีทัศนคติเกี่ยวกับเว็บว่าเป็นแหล่งรวมการแลกเปลี่ยนข้อมูลและความรู้ เว็บเชิงความหมายโดยแก่นแท้จะบรรจุไปด้วยเซ็ตของหลักของการออกแบบ การทำงานร่วมกัน และความหลากหลายของเทคโนโลยี พื้นฐานบางส่วนของเว็บเชิงความหมายแสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ที่จะรองรับกับเทคโนโลยีหรือสามารถนำมาใช้ได้จริงในภายภาคหน้า ส่วนอื่นของเว็บเชิงความหมายแสดงถึงลักษณะพิเศษ ซึ่งจะประกอบด้วย Resource Description Framework (RDF) ความหลากหลายของการสับเปลี่ยนของข้อมูล (เช่น RDF/XML, N3, Turtle, N-Triples) และเครื่องหมาย เช่น RDF Schema (RDFS) และ Web Ontology Language (OWL) ซึ่งสิ่งเหล่านี้มุ่งหมายเพื่อเตรียมการถึงส่วนประกอบของการจำกัดความ กำหนดการ และความรู้ที่ได้รั.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและเว็บเชิงความหมาย · ดูเพิ่มเติม »

เสิร์ชเอนจิน

ร์ชเอนจิน (search engine) หรือ โปรแกรมค้นหา คือ โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่โปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละร.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและเสิร์ชเอนจิน · ดูเพิ่มเติม »

เอนซีโกลเปเดียลีเบรอูนีเบร์ซัลเอนเอสปาญอล

ับหน้าจอของเอนซีโกลเปเดียลีเบร 1 เมษายน พ.ศ. 2549 เอนซีโกลเปเดียลีเบรอูนีเบร์ซัลเอนเอสปาญอล (Enciclopedia Libre Universal en Español) เป็นสารานุกรมวิกิภาษาสเปน ซึ่งอนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตเอกสารเสรีของกนู เว็บดังกล่าวใช้ซอฟต์แวร์มีเดียวิกิ ถือกำเนิดขึ้นโดยแยกสาขาออกมาจากวิกิพีเดียภาษาสเปน.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและเอนซีโกลเปเดียลีเบรอูนีเบร์ซัลเอนเอสปาญอล · ดูเพิ่มเติม »

เฮฟวีเมทัล

ฟวีเมทัล หรือบางครั้งเรียกย่อว่า เมทัล เป็นแนวเพลงร็อกประเภทหนึ่งที่พัฒนาในช่วงปลายทศวรรษที่ 60 และต้นทศวรรษที่ 70 ด้วยรากฐานของดนตรี บลูส์-ร็อก ฮาร์ดร็อก และ ไซเคเดลิกร็อก โดยมีหลายวงได้พัฒนาเฮฟวีเมทัล ให้มีความหนา, หนัก, ดนตรีที่เน้นกีตาร์และกลอง และลักษณะเฉพาะตัวที่มีการโซโล่กีตาร์ที่รวดเร็ว เพลงแนวเฮฟวีเมทัลได้รับความนิยมจากแฟนทั่วโลก ที่แฟนเหล่านั้นจะเรียกตัวเองว่า เมทัลเฮดส์ หรือ เฮดแบงเกอร์ และถึงแม้ว่าวงเมทัลในช่วงต้น ๆ อย่าง เล็ด เซ็พเพลิน, แบล็ค แซบบาธ และ ดีพ เพอร์เพิล จะได้รับความสนใจจากกลุ่มคนฟังหลัก แต่ก็มีบ้างที่พวกเขาจะถูกด่าทอ.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและเฮฟวีเมทัล · ดูเพิ่มเติม »

เดอะวอลล์สตรีทเจอร์นัล

ปกเดอะวอลล์สตรีทเจอร์นัลฉบับแรก 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2432 เดอะวอลล์สตรีทเจอร์นัล (The Wall Street Journal) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันระหว่างประเทศภาษาอังกฤษที่มีต้นกำเนิดในสหรัฐอเมริกา ตีพิมพ์ในนครนิวยอร์กโดยดาวโจนส์แอนด์คอมพานี ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของนิวส์คอร์ปอเรชัน เช่นเดียวกับรุ่นเอเชียและยุโรปของหนังสือพิมพ์ เดอะวอลล์สตรีทเจอร์นัลเป็นหนังสือพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกาหากคิดตามยอดจัดจำหน่าย ตามข้อมูลของสำนักงานสถิติยอดจำหน่ายสิ่งพิมพ์ (Audit Bureau of Circulations) หนังสือพิมพ์ดังกล่าวมียอดจำหน่าย 2,092,523 ฉบับ (รวม 400,000 ฉบับที่บอกรับสมาชิกออนไลน์แบบเสียค่าใช้จ่าย) จนถึงเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและเดอะวอลล์สตรีทเจอร์นัล · ดูเพิ่มเติม »

เดอะนิวยอร์กไทมส์

อะนิวยอร์กไทมส์ (The New York Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันที่ตีพิมพ์ในนครนิวยอร์กและจัดจำหน่ายไปทั่วโลก จัดการโดยบริษัทเดอะนิวยอร์กไทมส์ซึ่งตีพิมพ์หนังสือพิมพ์อื่นๆอีก 15 ฉบับ รวมถึง International Herald Tribune และ The Boston Globe ด้วย เดอะนิวยอร์กไทมส์เป็นหนังสือพิมพ์มหานครที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีฉายาว่า "Gray Lady" (สุภาพสตรีสีเทา) ก็เพราะหน้าตาและสำนวนที่ขรึมขลัง ถูกเรียกว่าเป็นหนังสือพิมพ์ที่บันทึกแห่งการณ์ต่างๆของชาติ เพราะมันมักถูกใช้เป็นแหล่งอ้างอิงที่เป็นทางการและได้รับความเชื่อถือ ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและเดอะนิวยอร์กไทมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เซิร์ฟเวอร์

รื่องเซิร์ฟเวอร์ของ วิกิมีเดีย เซิร์ฟเวอร์ (server) หรือ เครื่องบริการ หรือ เครื่องแม่ข่าย คือ เครื่องหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำงานให้บริการ ในระบบเครือข่ายแก่ลูกข่าย (ซึ่งให้บริการผู้ใช้อีกทีหนึ่ง) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์นี้ควรจะมีประสิทธิภาพสูง มีความเสถียร สามารถให้บริการแก่ผู้ใช้ได้เป็นจำนวนมาก ภายในเซิร์ฟเวอร์ให้บริการได้ด้วยโปรแกรมบริการ ซึ่งทำงานอยู่บนระบบปฏิบัติการอีก.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและเซิร์ฟเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อหาเสรี

เนื้อหาเสรี หมายถึงผลงานที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ งานศิลปะ หรือผลงานสร้างสรรค์อื่นรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งเป็นไปตามคำจำกัดความของเนื้อหาเสรี หมายความว่าเนื้อหานั้นจะต้องไม่มีข้อจำกัดทางกฎหมายที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับเสรีภาพในการนำไปใช้ แจกจ่ายสำเนา ดัดแปลง และแจกจ่ายผลงานที่ได้รับการดัดแปลงแล้ว เนื้อหาเสรีแตกต่างจาก "เนื้อหาเปิด" ตรงที่ว่าเนื้อหาเสรีสามารถดัดแปลงได้ เนื้อหาเสรีครอบคลุมผลงานทั้งหมดที่เป็นสาธารณสมบัติและยังรวมไปถึงผลงานลิขสิทธิ์ซึ่งได้รับอนุญาตและสนับสนุนเสรีภาพดังที่ได้กล่าวไปข้างต้น เนื้องจากกฎหมายลิขสิทธิ์ในหลายประเทศกำหนดให้ผู้ถือลิขสิทธิ์มีเอกสิทธิ์เหนือผลงานของตนโดยปริยาย ดังนั้นเนื้อหาที่มีลิขสิทธิ์จะต้องได้รับการประกาศอย่างชัดเจนว่าเป็นเนื้อหาเสรี ซึ่งส่วนใหญ่แล้วมักจะเป็นการอ้างอิงหรือการแทรกสัญญาอนุญาตจากภายในผลงานนั้น ถึงแม้ว่าผลงานซึ่งเป็นสาธารณสมบัติเนื่องจากลิขสิทธิ์คุ้มครองหมดอายุไปจะถือว่าเป็นเนื้อหาเสรี แต่เนื้อหานั้นก็อาจกลับมาเป็น "ไม่เสรี" อีกครั้งหนึ่งหากกฎหมายลิขสิทธิ์มีการแก้ไข.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและเนื้อหาเสรี · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อหาเปิด

นื้อหาเปิด คำนี้ตั้งขึ้นเพื่อเทียบเคียงกับ "โอเพนซอร์ส" (รหัสเปิด) เพื่ออธิบายงานสร้างสรรค์ชนิดใด ๆ ก็ตาม (รวมถึง บทความ รูปภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหว) หรืองานวิศวกรรม (เช่น ผังเครื่องจักร) ที่เผยแพร่ในรูปแบบที่อนุญาตอย่างเปิดเผยให้ทำซ้ำ ดัดแปลง สาระดังกล่าว โดยใครก็ได้ โครงการเนื้อหาเปิดที่ใหญ่ที่สุดคือ วิกิพีเดี.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและเนื้อหาเปิด · ดูเพิ่มเติม »

เนเจอร์ (วารสาร)

วารสาร''เนเจอร์''ฉบับแรก วันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1869 เนเจอร์ เป็นวารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วิกิพีเดียและเนเจอร์ (วารสาร) · ดูเพิ่มเติม »

14 ธันวาคม

วันที่ 14 ธันวาคม เป็นวันที่ 348 ของปี (วันที่ 349 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 17 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและ14 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 มกราคม

วันที่ 15 มกราคม เป็นวันที่ 15 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 350 วันในปีนั้น (351 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: วิกิพีเดียและ15 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

21 เมษายน

วันที่ 21 เมษายน เป็นวันที่ 111 ของปี (วันที่ 112 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 254 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและ21 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

26 มกราคม

วันที่ 26 มกราคม เป็นวันที่ 26 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 339 วันในปีนั้น (340 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: วิกิพีเดียและ26 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

26 ตุลาคม

วันที่ 26 ตุลาคม เป็นวันที่ 299 ของปี (วันที่ 300 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 66 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและ26 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 212 ของปี (วันที่ 213 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 153 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วิกิพีเดียและ31 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มกราคม

วันที่ 4 มกราคม เป็นวันที่ 4 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 361 วันในปีนั้น (362 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: วิกิพีเดียและ4 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Wikipedia

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »