โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ดัชนี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(มจร.) คือสถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนาชั้นสูงในรูปแบบมหาวิทยาลัย ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นเพื่อถวายแด่คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย โดยเริ่มจัดการเรียนการสอนด้านพุทธศาสตร์เป็นสาขาแรก แล้วต่อมาได้ขยายการเรียนการสอนไปยังสาขาวิชาอื่นๆ คล้ายกับรูปแบบการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ที่เริ่มต้นจากสาขาด้านศาสนาแล้วขยายไปยังสาขาอื่นอีกมายมาย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือกำเนิดจาก "มหาธาตุวิทยาลัย" ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นภายในวัดมหาธาตุฯ เมื่อปี พ.ศ. 2430 โดยเริ่มทำการสอนตั้งแต่ปี..

106 ความสัมพันธ์: บรรจบ บรรณรุจิพ.ศ. 2430พ.ศ. 2432พ.ศ. 2435พ.ศ. 2439พ.ศ. 2490พ.ศ. 2491พ.ศ. 2492พ.ศ. 2493พ.ศ. 2494พ.ศ. 2496พ.ศ. 2497พ.ศ. 2498พ.ศ. 2499พ.ศ. 2500พ.ศ. 2503พ.ศ. 2506พ.ศ. 2522พ.ศ. 2523พ.ศ. 2524พ.ศ. 2529พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2540พ.ศ. 2542พ.ศ. 2545พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2553พ.ศ. 2556พ.ศ. 2558พ.ศ. 2560พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)พระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน)พระพิมลธรรม (ช้อย ฐานทตฺโต)พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธีพระมหาสมปอง ตาลปุตฺโตพระราชวรเมธี (ประสิทธิ์ พฺรหฺมรํสี)พระราชปริยัติกวี (สมจินต์ สมฺมาปญฺโญ)พระราชเขมากร (ประยุทธ ภูริทตฺโต)พระศรีวิสุทธิคุณ (มานพ ปิยสีโล)พระสุธีวีรบัณฑิต (โชว์ ทสฺสนีโย)พระธรรมวรนายก (สมบูรณ์ จนฺทโก)พระธรรมปัญญาบดี (พีร์ สุชาโต)พระเมธีธรรมาจารย์ (ประสาร จนฺทสาโร)พระเทพปฏิภาณวาที (สุนทร ญาณสุนฺทโร)พิธีสำเร็จการศึกษาพุทธศักราช...กรมการศาสนากระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกุเทพ ใสกระจ่างมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่นมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยปารีสมหาเถรสมาคมราชกิจจานุเบกษารายชื่อคณะศึกษาศาสตร์ในประเทศไทยวัชระ งามจิตรเจริญวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหารวัดสระเกศราชวรมหาวิหารวัดสามพระยาวัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหารวัดประยุรวงศาวาสวรวิหารสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)สมเด็จพระธีรญาณมุนี (ธีร์ ปุณฺณโก)สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสังคมศาสตร์สังฆราชสำนักงานราชบัณฑิตยสภาสำเนียง เลื่อมใสสิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์สีชมพูสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐอำเภอวังน้อยอดิศร เพียงเกษผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดศรีสะเกษจังหวัดขอนแก่นจังหวัดนครราชสีมาจังหวัดนครนายกจำลอง สารพัดนึกจำนงค์ ทองประเสริฐจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยธรรมยุติกนิกายธรรมจักรธงชัย สุขโขคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรปภัสรา เตชะไพบูลย์ประเทศรัสเซียเขตพระนคร ขยายดัชนี (56 มากกว่า) »

บรรจบ บรรณรุจิ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ร้อยโท ดร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและบรรจบ บรรณรุจิ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2430

ทธศักราช 2430 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1887 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2430 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2432

ทธศักราช 2432 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1889 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2432 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2435

ทธศักราช 2435 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1892 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2435 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2439

ทธศักราช 2439 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1896 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2439 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2492 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2496 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2499 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2503

ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)

ระพรหมบัณฑิต ศาสตราจารย์ ดร. นามเดิม ประยูร มีฤกษ์ ฉายา ธมฺมจิตฺโต เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองชั้นหิรัญบัฏ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยรูปปัจจุบัน เจ้าคณะภาค 2 และกรรมการมหาเถรสมาคม พระพรหมบัณฑิต เป็นพระนักวิชาการ นักบริหาร นักการศึกษา นักเทศน์และนักเขียน ผู้มีผลงานมากมายทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เป็นพระสงฆ์ไทยรูปแรกที่ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัย ได้รับรางวัลและดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากหลายสถาบัน และเป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาปรัชญา ในฐานะเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสได้บูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุมหาเจดีย์ของวัดจนได้รับรางวัลยอดเยี่ยม อันดับ 1 ด้านการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรรมจากองค์การยูเนสโก เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 5 สมัยได้ก่อสร้างสำนักงานใหญ่ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นประธานผู้ก่อตั้งสมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติและประธานผู้ก่อตั้งสภาสากลวันวิสาขบูชาโลกที่ได้รับฐานะเป็นองค์กรที่ปรึกษาพิเศษขององค์การสหประชาชาต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน)

ระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน) เจ้าคณะภาค 5 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ แม่กองบาลีสนามหลวง เลขานุการแม่กองงานพระธรรมทูต รองประธานคณะพระธรรมจาริก หัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 3 ประธานคณะเลขานุการผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เลขาธิการสมัชชามหาคณิสสร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน) · ดูเพิ่มเติม »

พระพิมลธรรม (ช้อย ฐานทตฺโต)

ระพิมลธรรม นามเดิม ช้อย ฝอยทอง ฉายา านทตฺโต เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในคณะสงฆ์ เช่น เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะมณฑลนครสวรรค์ เจ้าคณะตรวจการภาค 1 สังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การสาธารณูปการ และสังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพระพิมลธรรม (ช้อย ฐานทตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี

ระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี หรือชื่อเมื่อแรกเกิดว่า วุฒิชัย บุญถึง หรือรู้จักกันดีในนามปากกา ว.วชิรเมธี (29 มกราคม พ.ศ. 2516 —) เป็นภิกษุชาวไทย มีชื่อเสียงว่าเป็นพระนักวิชาการ นักคิด นักเขียน และนักบรรยายธรรม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาสมปอง ตาลปุตฺโต

ระมหาสมปอง ตาลปุตฺโต (นครไธสง) หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปในนาม "พระมหาสมปอง" เป็นพระนักเทศน์ชื่อดังอีกท่านหนึ่งของเมืองไทย ท่านเกิดเมื่อปี พ.ศ. 2521 และบรรพชาอุปสมบทเป็นพระภิกษุสงฆ์ เมื่อ พ.ศ. 2541 ปัจจุบันพระมหาสมปองจำพรรษาอยู่ที่วัดสร้อยทอง (พระอารามหลวง) กรุงเทพมหานคร พระมหาสมปอง เป็นพระนักเผยแผ่พระพุทธศาสนารุ่นใหม่ และนักบรรยายธรรมที่เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง และเป็นนักเขียนที่ผลิตผลงานและหนังสือออกมาอย่างสม่ำเสมอในยุคปัจจุบัน จนได้รับพิจารณาให้ได้รับรางวัลนักเผยแผ่พระพุทธศาสนาจากองค์กรต่าง ๆ มากมาย เช่นรางวัลพระราชทานรางวัลเสาเสมาธรรมจักร จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีฯ ในงานสัปดาห์พระพุทธศาสนาวิสาขบูชาประจำปี 2551 เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพระมหาสมปอง ตาลปุตฺโต · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรเมธี (ประสิทธิ์ พฺรหฺมรํสี)

รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพระราชวรเมธี (ประสิทธิ์ พฺรหฺมรํสี) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชปริยัติกวี (สมจินต์ สมฺมาปญฺโญ)

ตราจารย์ ดร.พระราชปริยัติกวี นามเดิม สมจินต์ ฉายา สมฺมาปญฺโญ เป็นพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพฯ และเป็นรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพระราชปริยัติกวี (สมจินต์ สมฺมาปญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชเขมากร (ประยุทธ ภูริทตฺโต)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพระราชเขมากร (ประยุทธ ภูริทตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระศรีวิสุทธิคุณ (มานพ ปิยสีโล)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพระศรีวิสุทธิคุณ (มานพ ปิยสีโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระสุธีวีรบัณฑิต (โชว์ ทสฺสนีโย)

ร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพระสุธีวีรบัณฑิต (โชว์ ทสฺสนีโย) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมวรนายก (สมบูรณ์ จนฺทโก)

ระธรรมวรนายก นามเดิม สมบูรณ์ แสงสิริกุล ฉายา จนฺทโก อดีตเจ้าอาวาสวัดอุดมธานี อดีตเจ้าคณะภาค 12 และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพระธรรมวรนายก (สมบูรณ์ จนฺทโก) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมปัญญาบดี (พีร์ สุชาโต)

ระธรรมปัญญาบดี นามเดิม พีร์ ผ่องสุภาพ ฉายา สุชาโต เป็นพระภิกษุฝ่ายมหานิกาย เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ที่ปรึกษาเจ้าคณะกรุงเทพมหานคร นายกสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพระธรรมปัญญาบดี (พีร์ สุชาโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระเมธีธรรมาจารย์ (ประสาร จนฺทสาโร)

ระเมธีธรรมาจารย์ นามเดิม ประสาร หนองพร้าว ฉายา จนฺทสาโร เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร และดำรงตำแหน่งเป็นรองอธิการบดีฝ่ายประชาสัมพันธ์และเผยแผ่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพระเมธีธรรมาจารย์ (ประสาร จนฺทสาโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพปฏิภาณวาที (สุนทร ญาณสุนฺทโร)

ระเทพปฏิภาณวาที นามเดิม สุนทร ฉายา าณสุนฺทโร เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะเขตดุสิต ผู้ช่วยแม่กองธรรมสนามหลวง และนักเทศน์ชื่อดัง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพระเทพปฏิภาณวาที (สุนทร ญาณสุนฺทโร) · ดูเพิ่มเติม »

พิธีสำเร็จการศึกษา

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานปริญญาบัตร แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีประจำปีการศึกษา 2520 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีสำเร็จการศึกษา (graduation ceremony) เป็นพิธีการพิเศษซึ่งสถาบันอุดมศึกษาจัดขึ้นเพื่อมอบปริญญาบัตรแก่บัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาประจำปีอย่างเป็นทางการ โดยเริ่มจัดให้มีขึ้นในต่างประเทศมาก่อน เช่นสหรัฐอเมริกาหรือหลายประเทศในทวีปยุโรป ต่อมาประเทศไทยจึงเริ่มรับเอาประเพณีดังกล่าวเข้ามา โดยกราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริย์ เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน จึงบัญญัติศัพท์ให้เรียกว่า พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ทั้งนี้ตั้งแต..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพิธีสำเร็จการศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

พุทธศักราช

ทธศักราช ย่อว.. เป็นศักราชที่เริ่มนับเมื่อพระโคตมพุทธเจ้าปรินิพพาน ในประเทศไทยเริ่มนับเมื่อปรินิพพานแล้ว 1 ปี แต่ในเช่น ในประเทศไทยเป็นปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและพุทธศักราช · ดูเพิ่มเติม »

กรมการศาสนา

กรมการศาสนา (Department of Religious Affairs) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม มีหน้าที่การดำเนินงานของรัฐด้านศาสนา โดยการทำนุบำรุงส่งเสริมและให้ความอุปถัมภ์คุ้มครองกิจการศาสนาพุทธและศาสนาอื่นๆ ที่ทางราชการรับรอง (ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิกข์) ตลอดจนส่งเสริมพัฒนาความรู้คู่คุณธรรม ส่งเสริมความเข้าใจอันดี และสร้างความสมานฉันท์ระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา รวมทั้งดำเนินการเพื่อให้คนไทยนำหลักธรรมของศาสนามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้เป็นคนดีมีคุณธรรม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและกรมการศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงวัฒนธรรม (Ministry of Culture) เป็นกระทรวงที่มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณีอื่น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและกระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)

กระทรวงคมนาคม (Ministry of Transport) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ยกระดับการให้บริการประชาชน ของระบบโครงสร้างพื้นฐาน และบริการคมนาคมขนส่ง ให้มีความคุ้มค่าและทั่วถึง ทำให้ระบบคมนาคมขนส่ง มีความปลอดภัย มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผสานและเชื่อมโยง โครงข่ายระบบขนส่งมวลชน ระบบขนส่งสาธารณะ ทั้งคนและสินค้า และขยายโอกาสการเดินทางสัญจร อย่างเสมอภาคโดยทั่วถึงกัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (Ministry of Agriculture and Cooperatives) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในชื่อ กระทรวงเกษตรพานิชการ มี เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) ขณะมีบรรดาศักดิ์ที่พระยาภาสกรวงศ์เป็นเสนาบดีคนแรก ต่อมาในปี พ.ศ. 2439 ได้ยุบรวมกระทรวงเกษตรพานิชการเข้ากับ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ พร้อมกับลดฐานะลงเป็นกรม ๆ หนึ่ง ในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2442 มีพระบรมราชโองการแยกกรมเกษตรพานิชการออกมาตั้งเป็นกระทรวงใหม่ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตราธิการ มี เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) ขณะมีบรรดาศักดิ์ที่พระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์เป็นเสนาบดีคนแรก โดยใช้ หอรัษฎากรพิพัฒน์ เป็นที่ทำการชั่วคราว ในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการยุบรวมกระทรวงเกษตราธิการเข้ากับ กระทรวงพาณิชย์และคมนาคม ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตรพาณิชยการ ต่อมาวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 ได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อและอำนาจหน้าที่จากกระทรวงเกษตรพาณิชยการเป็น กระทรวงเศรษฐการ ในวันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กุเทพ ใสกระจ่าง

ร้อยโท ดร.กุเทพ ใสกระจ่าง (15 สิงหาคม พ.ศ. 2495 - 18 กันยายน พ.ศ. 2555) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ศรีสะเกษ เขต 2 เป็นอดีตโฆษกพรรคพลังประชาชน และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและกุเทพ ใสกระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ของประเทศไทย ที่จัดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่เริ่มประยุกต์หลักพระพุทธศาสนาให้เข้ากับสังคมสมัยใหม่ โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ หนึ่งในสองแห่งของประเทศไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(มจร.) คือสถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนาชั้นสูงในรูปแบบมหาวิทยาลัย ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นเพื่อถวายแด่คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย โดยเริ่มจัดการเรียนการสอนด้านพุทธศาสตร์เป็นสาขาแรก แล้วต่อมาได้ขยายการเรียนการสอนไปยังสาขาวิชาอื่นๆ คล้ายกับรูปแบบการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ที่เริ่มต้นจากสาขาด้านศาสนาแล้วขยายไปยังสาขาอื่นอีกมายมาย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือกำเนิดจาก "มหาธาตุวิทยาลัย" ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นภายในวัดมหาธาตุฯ เมื่อปี พ.ศ. 2430 โดยเริ่มทำการสอนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น เป็นวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เริ่มเปิดทำการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2528 ตั้งอยู่ที่ตำบลโคกสี อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of Oxford หรือ Oxford University) หรือเรียกอย่างง่าย ๆ ว่า อ๊อกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานประวัติการก่อตั้งที่แน่นอน แต่มีหลักฐานว่าได้เริ่มสอนมาตั้งแต่ ค.ศ. 1096 ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนเป็นอันดับสอง อ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในปี ค.ศ. 1167 เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 2 ทรงห้ามมิให้นักศึกษาชาวอังกฤษไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยปารีส ภายหลังจากการพิพาทระหว่างนักศึกษาและชาวเมืองอ๊อกซฟอร์ดในปี ค.ศ. 1206 นักวิชาการบางส่วนได้หนีไปทางตะวันออกเฉียงเหนือสู่เมืองเคมบริดจ์ ซึ่งพวกเขาได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ขึ้น ทั้งสอง"มหาวิทยาลัยโบราณ"มักจะถูกเรียกว่า"อ๊อกซบริดจ์" มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นจากความหลากหลายของสถ​​าบันการศึกษาต่าง ๆ รวมถึงวิทยาลัยร่วมทั้ง 38 แห่ง และหน่วยงานทางวิชาการซึ่งแบ่งออกเป็นสี่แผนก แต่ละวิทยาลัยมีระบบการจัดการอย่างอิสระในการควบคุมสมาชิกรวมทั้งมีระบบโครงสร้างภายในและกิจกรรมเป็นของตนเอง มีลักษณะเป็นเมืองมหาวิทยาลัยซึ่งมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกกระจายอยู่ทั่วใจกลางเมือง การศึกษาระดับปริญญาตรีส่วนใหญ่ที่อ๊อกซฟอร์ดเป็นการจัดการด้วยวิธีติวเตอร์ตลอดรายสัปดาห์ไปในแต่ละวิทยาลัยและฮอลล์ต่าง ๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากชั้นเรียน การบรรยาย และการปฏิบัติการซึ่งจัดขึ้นโดยคณะและภาควิชาต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดยังดำเนินงานพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก รวมถึงสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมีระบบห้องสมุดทางวิชาการที่ใหญ่ที่สุดในบริเตน อ๊อกซฟอร์ดมีศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก รวมถึงผู้ได้รับรางวัลโนเบล 28 คน นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร 27 คน ประมุขแห่งรัฐและผู้นำรัฐบาลหลายแห่งทั่วโลก อ๊อกซฟอร์ดเป็นแหล่งที่ตั้งของทุนการศึกษาโรดส์ซึ่งเป็นหนึ่งในทุนการศึกษานานาชาติที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีชื่อเสียงมากที่สุด ซึ่งได้นำนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยมานานกว่าศตวรรษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยปารีส

มหาวิทยาลัยปารีส (Université de Paris) หรือนามนัยเป็นที่รู้จักกันว่า ซอร์บอนน์ (บ้านประวัติศาสตร์) เป็นมหาวิทยาลัยในปารีส ฝรั่งเศส ก่อตั้งประมาณ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยปารีส · ดูเพิ่มเติม »

มหาเถรสมาคม

มหาเถรสมาคม (accessdate) เป็นองค์กรสูงสุดในการปกครองคณะสงฆ์ไทยตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 และพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2)..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและมหาเถรสมาคม · ดูเพิ่มเติม »

ราชกิจจานุเบกษา

ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2401 นับเป็นเอกสารหลักในการแจ้งประกาศ กฎหมาย และคำสั่งทางราชการให้ประชาชนทราบอย่างเป็นทางการจวบจนปัจจุบันนี้ นับเป็นสิ่งพิมพ์ของไทยที่มีอายุยาวนานที่สุด โดยมีสำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นผู้รับผิดชอบจัดพิมพ์และเผยแพร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและราชกิจจานุเบกษา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะศึกษาศาสตร์ในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาด้านศึกษาศาสตร์หรือครุศาสตร์ (ยกเว้นวิชาด้านครุศาสตร์อุตสาหกรรม ดูเพิ่มเติมที่: รายชื่อคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมในประเทศไทย).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและรายชื่อคณะศึกษาศาสตร์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

วัชระ งามจิตรเจริญ

ตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและวัชระ งามจิตรเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร

วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร เดิมเป็นวัดราษฎร์ชื่อวัดสลัก สร้างในสมัยอยุธยา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี และทรงสร้างพระบรมมหาราชวังเป็นที่ประทับและสร้างพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นที่ประทับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล นั้น วัดสลักเป็นวัดที่อยู่กึ่งกลางระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทโปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดสลักเมื่อ พ.ศ. 2326 พร้อมกับการก่อสร้างพระราชวังบวรสถานมงคล จากนั้นทรงเปลี่ยนชื่อวัดจากวัดสลักเป็นวัดนิพพานาราม เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ใช้วัดนิพพานารามเป็นสถานที่ทำสังคายนาในปี พ.ศ. 2331 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดพระศรีสรรเพชญ” และใน พ.ศ. 2346 พระราชทานนามใหม่ว่าวัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรมหาวิหาร ตามชื่อวัดในกรุงศรีอยุธยาที่เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุและเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราช วัดมหาธาตุเป็นสถานที่ที่ใช้เป็นที่พระราชทานเพลิงพระบุพโพเจ้านายซึ่งดำรงพระเกียรติยศสูง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ใช้พื้นที่ของวัดเป็นที่สร้างเมรุพระราชทานเพลิงพระศพพระบรมวงศ์ชั้นสูง ในปลาย พ.ศ. 2432 โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งบาลีวิทยาลัยที่วัดมหาธาตุ เรียกว่ามหาธาตุวิทยาลัย และย้ายการบอกพระปริยัติธรรมมาจากวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ต่อมา ใน พ.ศ. 2437 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างอาคารถาวรวัตถุ เรียกว่า สังฆิกเสนาสน์ราชวิทยาลัย เพื่อใช้ในงานพระศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หลังจากนั้น จะทรงอุทิศถวายแก่มหาธาตุวิทยาลัย เพื่อเป็นที่เรียนพระปริยัติธรรมชั้นสูง ซึ่งจะได้พระราชทานนามว่า “มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” แต่อาคารหลังนี้มาสร้างเสร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และงานพระศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงจัดที่วัดบวรสถานสุทธาวาส ใน พ.ศ. 2439 โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในการบูรณะวัดมหาธาตุและพระราชทานนามว่า “วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์”.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร

วัดสระเกศ เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ริมคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย มีจุดเด่นคือ พระบรมบรรพต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดสามพระยา

วัดสามพระยา เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ เดิมเป็นวัดราษฎร์ สถานที่ตั้งอยู่ที่ แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ชาวบ้านในละแวกนั้นบ้างก็เรียกชื่อวัดว่า วัดสัก หรือ วัดบางขุนพรหม สันนิษฐานว่า สร้างมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ได้มีการก่อสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์เสนาสนะ มาโดยลำดับ ครั้นต่อมา ในรัชกาลที่ ๓ ได้มีพี่น้องร่วมบิดามารดา ประกอบด้วย พระยาราชภักดี (สิงห์ทอง) พระยาเทพอรชุน (ทองปาน) และพระยาราชวรานุกูล (ทองคำ) รวมสามคนพี่น้อง ตามประวัติ บิดาท่านชื่อ มะทอเปิ้น อพยพมาจากรามัญประเทศ แต่ มารดาท่านไม่ปรากฏนาม พี่น้องทั้งสาม ได้จัดสร้างวัดนี้ขึ้นใหม่ แล้วเสร็จจึงได้ทูลเกล้าฯ ถวายเป็นวัดหลวง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มอบพระราชทานนามวัดว่า “วัดสามพระยา”.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและวัดสามพระยา · ดูเพิ่มเติม »

วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร

วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร หรือนิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า วัดจักรวรรดิ หรือ วัดจักรวรรดิราชาวาส เดิมเป็นวัดราษฎร์ ชื่อ วัดนางปลื้ม สร้างสมัยอยุธยา ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์เรียก วัดสามปลื้ม สันนิษฐานว่าคงมาจากผู้หญิงสามนางร่วมกันสร้าง และอาจด้วยเพราะอยู่ใกล้กับสำเพ็ง หรือสามเพ็ง ทำนองเดียวกับวัดสามจีน หรือวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร ที่อยู่ใกล้กัน เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ได้บูรณปฏิสังขรณ์วัดขึ้นใหม่ทั้งพระอาราม ประมาณ พ.ศ. 2362 และได้ถวายพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงรับไว้เป็นพระอารามหลวง และพระราชทานนามว่า วัดจักรวรรดิราชาวาสเมื่อประมาณ พ.ศ. 2368 ภายในวัดมีศาลและรูปปั้นเจ้าพระยาบดินทรเดชาอยู่ด้วย โดยช่างปั้นได้ปั้นจากภาพเขียนรูปปั้นของเจ้าพระยาบดินทรเดชาที่สมเด็จพระหริรักษ์รามาธิบดี (นักองค์ด้วง) พระเจ้ากรุงกัมพูชาให้สร้างขึ้นที่เมืองอุดงมีชัย ปัจจุบัน วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร ตั้งอยู่บนถนนจักรวรรดิ แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ใกล้กับวัดบพิตรพิมุขวรวิหาร หรือวัดเชิงเลน และเชิงสะพานพระปกเกล้าด้านมุ่งหน้าไปฝั่งธนบุรี จระเข้ขนาดใหญ่ในบ่อเลี้ยงภายในวัด ในวัดแห่งนี้ยังมีจุดเด่นอีกประการคือ มีบ่อเลี้ยงจระเข้ขนาดใหญ่ ซึ่งพระสงฆ์และเด็กวัดช่วยกันดูแล ทั้งนี้เนื่องจากราวปี พ.ศ. 2485 ที่บริเวณวัดที่ติดกับแม่น้ำเจ้าพระยามีเรื่องราวของจระเข้กินคนตัวหนึ่งชื่อ "ไอ้บอดวัดสามปลื้ม" เนื่องจากมีตาข้างหนึ่งบอด แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าไอ้บอดวัดสามปลื้มนั้นตายลงเมื่อใด หากแต่ตำนานนี้ยังคงอยู่มาจนถึงปัจจุบัน และเป็นที่มาของบ่อเลี้ยงจระเข้ภายในวั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและวัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร

วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่ใกล้กับเชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า ฝั่งธนบุรี โดยมีเลขทะเบียนวัดที่ 24 ถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร การบูรณะวัดส่งผลให้วัดได้รับรางวัลยอดเยี่ยม อันดับ 1 (Award of Excellence) ให้โครงการบูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุมหาเจดีย์วัดประยุรวงศาวาส ด้านการอนุรักษ์ทางวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ขององค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)

มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ฟื้น พลายภู่ ฉายา ชุตินฺธโร (20 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าคณะใหญ่หนกลาง อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม อดีตแม่กองบาลีสนามหลวง และอดีตเจ้าอาวาสวัดสามพร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

ตราจารย์พิเศษ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ประยุทธ์ อารยางกูร ฉายา ปยุตฺโต หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปในนามปากกา "ป.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม อาจ ดวงมาลา ฉายา อาสโภ (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446 - 8 ธันวาคม พ.ศ. 2532) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช นอกจากนี้ท่านยังเป็นบุคคลแรกที่นำการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐานสี่ (หรือแบบยุบหนอ-พองหนอ) จากพม่ามาเผยแพร่ในประเทศไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เกี่ยว โชคชัย ฉายา อุปเสโณ (11 มกราคม พ.ศ. 2471 - 10 สิงหาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช และประธานสมัชชามหาคณิสสร เป็นพระเถระที่มีอาวุโสโดยสมณศักดิ์สูงสุดของมหาเถรสมาคมเดลินิวส์, 30 ธันวาคม 2547มติชน, 15 ม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์

มเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 13 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชเมื่อปี พ.ศ. 2488 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 14 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม อัมพร ประสัตถพงศ์ ฉายา อมฺพโร เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 20 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยทรงเริ่มดำรงตำแหน่งในวันที่ 12 กุมภาพัน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระธีรญาณมุนี (ธีร์ ปุณฺณโก)

มเด็จพระธีรญาณมุนี นามเดิม ธีร์ จันทวีระ ฉายา ปุณฺณโก เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ตำแหน่งสำคัญในคณะสงฆ์ไทย เช่น เจ้าอาวาสวัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก แม่กองงานพระธรรมทูต และกรรมการมหาเถรสมาคม เป็นผู้ถวายอนุสาสน์ ในพระราชพิธีทรงผนวช พันตรี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและสมเด็จพระธีรญาณมุนี (ธีร์ ปุณฺณโก) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สังคมศาสตร์

กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ (social science) คือ สาขาวิชาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เพื่อศึกษาโลกในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ หน่วยสังคมต่าง ๆ ของมนุษย์ รวมทั้งพฤติกรรมของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ วิชาในสังคมศาสตร์แตกต่างจากวิชาในกลุ่มมนุษยศาสตร์ เนื่องจากหลาย ๆ สาขาวิชาในสังคมศาสตร์เน้นการหาความรู้และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการดำเนินพฤติกรรมของมนุษย์และปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยกระบวนการแบบปฏิฐานและประจักษ์นิยม ทั้งเชิงปริมาณ (quantitative method) และเชิงคุณภาพ (qualitative method) อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม บางสาขาก็อาจจะนำระเบียบวิธีเชิงคุณภาพแบบการตีความ การคาดการณ์ วิเคราห์ตามหลักปรัชญาและตรรกะ หรือความเชื่อส่วนบุคคล และการวิจารณ์มาใช้ในการอธิบายพฤติกรรมในบางกรณีที่เหมาะสมหากจำเป็น อย่างไรก็ตาม ระเบียบวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตร์แบบใหม่ได้รับอิทธิพลจากสังคมศาสตร์แบบอเมริกันอย่างมาก ทำให้การศึกษาแบบปฏิฐานนิยมได้รับความนิยมและการยอมรับมากกว่าระเบียบวิธีแบบเก่าที่คล้ายคลึงกับสาขามนุษยศาสตร์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (2529: 129) ทรงกล่าวถึงความหมายของสังคมศาสตร์และขอบเขตของการศึกษาวิชานี้ไว้ว่า สังคมศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของมนุษย์ในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ตามความเป็นจริง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและสังคมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สังฆราช

ังฆราช คือพระมหาเถระผู้เป็นใหญ่สูงสุดในสังฆมณฑล ในแต่ละประเทศ เช่น ประเทศพม่า ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา มักมีพระสังฆราชเป็นของตน พระสังฆราชอาจเป็นประมุขเฉพาะคณะสงฆ์นิกายหนึ่งหรือเป็นประมุขคณะสงฆ์ทั้งปวงทุกนิกายในประเทศนั้น (ซึ่งเรียกว่าสกลมหาสังฆปริณายก) คำว่า สังฆราช เป็นคำสมาสจากคำว่า สงฺฆ (พระสงฆ์) + ราช (พระราชา) ซึ่งแปลว่า พระราชาแห่งคณะสง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและสังฆราช · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

สำเนียง เลื่อมใส

Samniang Leurmsai สำเนียง เลื่อมใส รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและสำเนียง เลื่อมใส · ดูเพิ่มเติม »

สิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์

ร.สิภาภัสส์ ภักดีดำรงฤทธิ์ หรือชื่อในวงการบันเทิงว่า สิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์ (ชื่อเล่น: แอน; ชื่อเดิม: วิริญจน์ กิ๊บสัน; เกิด: 14 ตุลาคม พ.ศ. 2514) เป็นนักแสดง, นางแบบ และพิธีกรหญิงชาวไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและสิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์

ร.คุณหญิง สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (1 พฤษภาคม 2504 -) เป็นนักการเมือง เคยร่วมประท้วงในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ อดีตรัฐมนตรีเคยดำรงตำแหน่งที่สำคัญในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันเป็นประธานมูลนิธิไทยพึ่งไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สีชมพู

ีชมพู เป็นสีที่เกิดจากการผสมสีแดงและสีขาว ในบางครั้งจะถูกกล่าวถึงในลักษณะสีแดงอ่อน สีชมพูมักจะถูกใช้ในการกล่าวถึงลักษณะของเด็กหญิง ซึ่งนิยมใช้ควบคู่กับ สีน้ำเงินหรือสีฟ้า ที่จะแสดงถึงเด็กชาย ในภาษาเหนือ เรียกสีชมพูว่า "จมออน" (จม-ออน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและสีชมพู · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

ันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ (national university) หรือที่เรียกว่า มหาวิทยาลัยนอกระบบ คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจำเป็นในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อประกันคุณภาพการศึกษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังน้อย

วังน้อย เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ อำเภออุไทยน้อย ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและอำเภอวังน้อย · ดูเพิ่มเติม »

อดิศร เพียงเกษ

รองศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อดิศร เพียงเกษ ประธานสถานีประชาชน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดิศรเกิดเมื่อวันที่ 6 กันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและอดิศร เพียงเกษ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช

ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เป็นตำแหน่งรักษาการแทนสมเด็จพระสังฆราช มีสมเด็จพระราชาคณะผู้อาวุโสโดยสมณศักดิ์ ซึ่งปฏิบัติหน้าที่แทนสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ในระหว่างที่ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกยังว่างอยู่ หรือในระหว่างที่สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงปฏิบัติศาสนากิจในราชกิจในต่างประเทศ ตามพระราชบัญญัติคณะสง..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดศรีสะเกษ

รีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.47 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรถิ่นไทย ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมกรมศิลปากร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและจังหวัดศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดขอนแก่น

ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและจังหวัดขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครนายก

ังหวัดนครนายก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและจังหวัดนครนายก · ดูเพิ่มเติม »

จำลอง สารพัดนึก

ร.จำลอง สารพัดนึก ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.จำลอง สารพัดนึก เกิดเมื่อเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและจำลอง สารพัดนึก · ดูเพิ่มเติม »

จำนงค์ ทองประเสริฐ

ตราจารย์พิเศษจำนงค์ ทองประเสริฐ ศาสตราจารย์พิเศษจำนงค์ ทองประเสริฐ ราชบัณฑิต สาขาตรรกศาสตร์ ประจำราชบัณฑิตยสถาน มีตำแหน่งเป็นที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และเป็นอุปนายกสภามหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาแห่งโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและจำนงค์ ทองประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมยุติกนิกาย

ตราคณะธรรมยุต ธรรมยุติกนิกาย หรือ คณะธรรมยุต เป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณเถระทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟูศาสนาพุทธในสยาม และแก้ไขวัตรปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัย เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวผนวชอยู่นั้น ได้ทรงศึกษาพระไตรปิฎกอย่างแตกฉานทำให้มีพระวิจารณญาณเกี่ยวกับความเป็นมาของพระพุทธศาสนา และความประพฤติปฏิบัติของพระภิกษุสามเณรได้อย่างละเอียดถี่ถ้วน เป็นเหตุให้มีพระราชดำริในอันที่จะฟื้นฟูการสั่งสอนพระพุทธศาสนา และการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยตามที่ได้ทรงศึกษา และทรงพิจารณาสอบสวนจนเป็นที่แน่แก่พระราชหฤทัยว่าถูกต้องเป็นจริงอย่างไร แล้วพระองค์ได้ทรงนำประพฤติปฏิบัติขึ้นก่อน หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ ทรงเริ่มแก้ไขที่พระองค์เองเป็นอันดับแรก ต่อมาเมื่อมีบุคคลอื่นเห็นชอบและนิยมตาม จึงได้มีผู้ประพฤติปฏิบัติตามอย่างพระองค์ขึ้น และมีจำนวนมากขึ้นเป็นลำดับ จนเกิดเป็นพระสงฆ์หมู่หนึ่ง หรือนิกายหนึ่ง ที่ได้ชื่อในภายหลังว่า ธรรมยุติกนิกาย หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ธรรมยุต” อันมีความหมายว่า ผู้ประกอบด้วยธรรม หรือชอบด้วยธรรม หรือยุติตามธรรม ทั้งนี้ก็เพราะว่าพระสงฆ์นี้เกิดขึ้นด้วยมุ่งแสวงหาว่า ข้อใดเป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์ (คือคำสั่งสอนของพระศาสดา) แล้วปฏิบัติข้อนั้น เว้นข้อที่ไม่เป็นธรรม ไม่เป็นวินัย ไม่เป็นสัตถุศาสน์ แม้จะเป็นอาจินปฏิบัติ (ข้อปฏิบัติตามกันมาแต่ผิดพระธรรมวินัย) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พระราชบัญญัติฉบับนี้มีชื่อว่า พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ร.ศ. 121 มีสาระสำคัญคือได้ยกสถานะคณะธรรมยุติ ให้เป็นนิกายอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ธรรมยุติกนิกาย ตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปฏิรูปและฟื้นฟูด้านวัตรปฏิบัติของสงฆ์ ให้มีความถูกต้องและเข้มงวดตามพุทธบัญญัติ ให้พระภิกษุสงฆ์มีวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัดถูกต้องตามพระวินัยปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้องดีงาม ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างเข้าใจแจ่มแจ้ง เป็นการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในส่วนที่บกพร่องของพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่โบราณ ให้สมบูรณ์ทั้งพระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก ซึ่งเป็นความพยายามของพระวชิรญาณเถระเพื่อช่วยปฏิรูปการคณะสงฆ์และเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองอย่างบริบูรณ์ขึ้นในประเทศไทย การก่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย เป็นสาเหตุทำให้พระสงฆ์เถรวาทอื่นซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ได้มีการประชุมและมีมติให้เรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ว่า "มหานิกาย".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและธรรมยุติกนิกาย · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมจักร

รรมจักรมีกำ 8 ซี่ หมายถึงอริยมรรคมีองค์ 8 ในทางพระพุทธศาสนา ธรรมจักรอันใช้เป็นเครื่องหมายของคณะสงฆ์ไทย มีกำ 12 ซี่ ธรรมจักรมีกำ 12 ซี่ ในตราสัญลักษณ์พุทธชยันตี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้ สัญลักษณ์ธรรมจักรซึ่งใช้เป็นเครื่องหมายของอนุศาสนาจารย์ของกองทัพสหรัฐอเมริกา ธงธรรมจักร ธงสัญลักษณ์พุทธชยันตี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้ วงล้อแห่งชีวิต (Wheel of life) หรือ ธรรมจักร (Dharmachakra; Wheel of Dhamma) ในศาสนาพุทธและฮินดู เป็นสัญลักษณ์แทนวัฏจักรเวียนว่ายตายเกิด หรือวงเวียนแห่งการ ประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ของพระพุทธองค์ ลักษณะของธรรมจักรดั้งเดิมมีสองรูปแบบ คือมี หกซี่ หรือบางครั้งห้าซี่ และรูปแบบที่กำเนิดในพุทธศาสนาคือ แปดซี่ สอดคล้องกับ มรรคแปด หรือรูปพระหัถต์ รหัสยูนิโค้ด ซึ่งเป็นรหัสตัวอักษรสากลสำหรับคอมพิวเตอร์ เรียกวงล้อแห่งชีวิตว่า "Wheel of Dhamma" (วงล้อแห่งธรรม) และมีซี่แปดซี่ มีรหัสคือ "U+2638" และมีลักษณะดังนี้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและธรรมจักร · ดูเพิ่มเติม »

ธงชัย สุขโข

งชัย สุขโข อดีตพระพรหมสิทธิ ฉายา สุขญาโณ อดีตพระราชาคณะเจ้าคณะรอง เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าคณะภาค 10 เจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ประธานสำนักงานกำกับดูแลพระธรรมทูตไปต่างประเทศ หัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ ๖ รองแม่กองธรรมสนามหลวง และกรรมการมหาเถรสมาคม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและธงชัย สุขโข · ดูเพิ่มเติม »

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Arts, Chulalongkorn University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Archaeology, Silpakorn University) ตั้งขึ้นเป็นคณะที่ 3 ของมหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

ปภัสรา เตชะไพบูลย์

ร.ปภัสรา เตชะไพบูลย์ มีชื่อเดิมว่า ปภัสรา ชุตานุพงษ์ ชือเล่น กบ เป็นนางงาม นักแสดง พิธีกร เคยเข้าประกวดนางสาวไทยในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและปภัสรา เตชะไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระนคร

ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและเขตพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัยมหาจุฬามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัยมจรมจร.

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »