โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา

ดัชนี ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา

ลงภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา เป็นเพลงเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ พ.ศ. 2542 ขับร้องโดยศิลปินจำนวน 72 คน.

55 ความสัมพันธ์: ชรินทร์ นันทนาครชาลี อินทรวิจิตรพ.ศ. 2542พ.ศ. 2546พรรณนิภา จิระศักดิ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542พัชริดา วัฒนาพันทิวา สินรัชตานันท์พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์พีระพงษ์ พลชนะกษาปณ์ จำปาดิบฐิติมา สุตสุนทรภูวนาท คุนผลินภูสมิง หน่อสวรรค์มีศักดิ์ นาครัตน์มนตรี แพร่ศิริพุฒิพงศ์วันพ่อแห่งชาติวิรัช อยู่ถาวรวินัย พันธุรักษ์ศรัณย่า ส่งเสริมสวัสดิ์ศรีสุดา รัชตะวรรณศิริพร อยู่ยอดสวลี ผกาพันธุ์สันติ ดวงสว่างสุรพล โทณะวณิกสุเทพ วงศ์กำแหงสง่า อารัมภีรอริสมันต์ พงศ์เรืองรองอาจินต์ ปัญจพรรค์จิตติมา เจือใจจินตนา สุขสถิตย์ธรรพ์ณธร ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยาธานินทร์ อินทรเทพทิพย์อาภา ชื่นประดิษฐ์ทนงศักดิ์ ภักดีเทวาดาว มยุรีดาวใจ ไพจิตรคณาคำ อภิรดีประสิทธิ์ พยอมยงค์ประเสริฐศรี จันทน์อาภรณ์ปิยะวัฒน์ เปี่ยมเบี้ยปนัดดา เรืองวุฒินริศ อารีย์นันทิดา แก้วบัวสายนันทนา บุญ-หลงนคร ถนอมทรัพย์แมนรัตน์ ศรีกรานนท์แสงสุรีย์ รุ่งโรจน์โก๊ะตี๋ อารามบอย...โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยเพลงสำคัญของแผ่นดินเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์Ogg30 ธันวาคม ขยายดัชนี (5 มากกว่า) »

ชรินทร์ นันทนาคร

รินทร์ นันทนาคร หรือชื่อเดิม ชรินทร์ งามเมืองเดิมชรินทร์ นามสกุล งามเมือง ต่อมาได้รับพระราชทานนามสกุลจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็น "นันทนาคร" ในปี 2503 (เกิด 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2476 ที่จังหวัดเชียงใหม่) ศิลปินนักร้อง นักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ ประจำปี..

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและชรินทร์ นันทนาคร · ดูเพิ่มเติม »

ชาลี อินทรวิจิตร

ลี อินทรวิจิตร เป็นผู้ประพันธ์คำร้อง ผู้กำกับภาพยนตร์ ได้รับยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้ประพันธ์คำร้อง-ผู้กำกับภาพยนตร์) ประจำปีพุทธศักราช 2536 มีผลงานประพันธ์คำร้องเพลงที่มีชื่อเสียง ได้แก่ สดุดีมหาราชา, แสนแสบ, ท่าฉลอม, สาวนครชัยศรี, ทุ่งรวงทอง, มนต์รักดอกคำใต้, แม่กลอง, เรือนแพ, จำเลยรัก ฯลฯ เดิมชื่อ สง่า อินทรวิจิตร เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและชาลี อินทรวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พรรณนิภา จิระศักดิ์

รรณนิภา จิระศักดิ์ หรือมีชื่อจริงว่า พรรณนิภา เครือนวล ชื่อเล่น ไก่ เป็นนักร้องหญิงชาวไทย เป็นชาวจังหวัดเชียงใหม่ตั่งแต่กำเนิด มีพี่น้องจำนวน 4 คน ซึ่งเธอเป็นบุตรคนสุดท้อง พรรณนิภาโด่งดังอย่างสุดขีดในปี..

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและพรรณนิภา จิระศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542

ระวังสับสนกับ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 12 สิงหาคม 2547 พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542 เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้นเนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระชนมายุครบ 72 พรรษา หรือ 6 รอบ จัดขึ้นในสมัยรัฐบาลไทย ชวน หลีกภัยได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดงานพระราชพิธีเพื่อเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งประกอบด้วยพระราชพิธีและรัฐพิธีต่างๆ ดังนี้.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พัชริดา วัฒนา

ัชริดา วัฒนา (ชื่อเล่น แหม่ม) เกิดวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2510 ที่โรงพยาบาลจุฬา เป็นนักร้องชาวไทย มีผลงานร่วมกับวงสาว สาว สาว เป็นบุตรสาวของนักร้องอาชีพสุดา ชื่นบาน และยังมีน้องสาวต่างบิดาซึ่งก็เป็นนักร้องเช่นกันคือ โมเม - นภัสสร บูรณศิริ แหม่มศึกษาที่โรงเรียนสตรีวรนาถบางเขน ตั้งแต่ประถมจนถึงมัธยม ป.1 - ป.4 ต่อมาย้ายไปเรียนที่โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย (สายศิลป์-ฝรั่งเศส) ตั้งแต่ระดับประถม 5 ถึง มัธยม 6 และศึกษาต่อที่ คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาเอกภาษาอังกฤษ เข้าเรียนต่อในระดับมหาบัณฑิตทางด้านนิเทศศาสตร์ สาขาวิทยุ-โทรทัศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และจบการศึกษาในปี 2535 เธอเป็นสมาชิกวง สาว สาว สาว ร่วมกับสมาชิกหญิงอีกสองคนคือ เสาวลักษณ์ ลีละบุตร (แอม) และอรวรรณ เย็นพูนสุข (ปุ้ม) มีผลงานกับวงสาว สาว สาว ในช่วงเวลา 9 ปี มีผลงานเพลง 10 อัลบั้ม จากนั้นเธอมีในฐานะศิลปินเดี่ยวกับอาร์.เอส. 10 อัลบั้ม แหม่ม พัชริดา วัฒนา ได้ลาออกจากค่ายอาร์เอสเมื่อช่วงกลางเดือนมกราคม2561ที่ผ่านมา หลังจากร่วมงานกับค่ายอาร์เอสมาเกือบ30ปี ส่วนในด้านธุรกิจ เธอเปิด Chasse’ Dance Studio เป็นสตูดิโอเปิดสอน การเต้น การขับร้อง การแสดง.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและพัชริดา วัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

พันทิวา สินรัชตานันท์

แพทย์หญิงพันทิวา สินรัชตานันท์ เกิดวันที่ 23 กรกฎาคม..2493 เป็นนักร้องชาวไทย เกิดที่จังหวัดตาก เจ้าของรางวัลทีวีตุ๊กตาทองมหาชน, แผ่นเสียงทองคำพระราชทาน สาขานักร้องยอดนิยม ปี..

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและพันทิวา สินรัชตานันท์ · ดูเพิ่มเติม »

พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์

ีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนาม ของทหารรักษาพระองค์ พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์ จัดขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อปี พ.ศ. 2496 และเริ่มจัดพิธีนี้อย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ พ.ศ. 2504 เนื่องในวโรกาส วันเฉลิมพระชนพรรษาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จนถึงปี 2558.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

พีระพงษ์ พลชนะ

ีระพงษ์ พลชนะ เป็นนักร้อง และนักดนตรีชาวไทย เป็นสมาชิกวงเรนโบว์ โดยทำหน้าที่เป็นนักร้องนำและกีต้าร.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและพีระพงษ์ พลชนะ · ดูเพิ่มเติม »

กษาปณ์ จำปาดิบ

กษาปณ์ จำปาดิบ (ชื่อเล่น: อ่อง) เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย เคยมีผลงานที่โด่งดังจากเพลง "มีอะไรอ๊ะเปล่า".

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและกษาปณ์ จำปาดิบ · ดูเพิ่มเติม »

ฐิติมา สุตสุนทร

ติมา สุตสุนทร (4 กันยายน พ.ศ. 2504 − 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) ชื่อเล่น แหวน เป็นนักร้องและนักแสดงหญิงชาวไท.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและฐิติมา สุตสุนทร · ดูเพิ่มเติม »

ภูวนาท คุนผลิน

ร.ภูวนาท คุนผลิน (2 กุมภาพันธ์ 2519) เป็นนักร้อง นักจัดรายการวิทยุ และนักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและภูวนาท คุนผลิน · ดูเพิ่มเติม »

ภูสมิง หน่อสวรรค์

ูสมิง หน่อสวรรค์ นักร้องเพลงโฟล์กซอง ลูกครึ่งไทย-ลาว เกิดเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2499 ที่ประเทศลาว เป็นบุตรชายของท้าวภูขง หน่อสวรรค์ อดีตอธิบดี, กงสุลลาวในไทยและฮ่องกง มารดา นางบัวลอย หน่อสวรรค์ (ไชยวงค์) สาวน้อยจบ ป.4 จากลำพูน บ้านป่าเส้า หลานนายพลภูมี หน่อสวรรค์ ซึ่งเป็นทั้งทหารและนักการเมืองฝ่ายขวาของลาว มีพี่น้องทั้งหมด 5 คนโดยเขาเป็นคนที่ 4 ระหว่างที่เรียนระดับชั้นมัธยมที่โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ภูสมิงได้ตั้งวงดนตรีกับเพื่อนๆ ชื่อ "พับบลิคเทเลโฟน" ขึ้นมา ออกแสดงตามสถานบันเทิงรอบเมืองเชียงใหม่ จากนั้นจึงเดินทางเข้าสู่กรุงเทพฯ มาเรียนด้านบริหารธุรกิจอยู่ที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต สมัยที่ยังใช้ชื่อว่า วิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ อยู่ ภูสมิงได้ร่วมกลุ่มกับเพื่อนที่รามคำแหง และจุฬาฯ ตั้งวงดนตรีโฟล์คซองไปเล่นประจำอยู่ที่ ร้านทิกกาเดอรี่ ข้างสถานทูตอังกฤษ เป็นภาษาอังกฤษ กระทั่ง ธนิต ศิลปะกิจ ผู้เคยทำงานร่วมกับจรัล มโนเพชร ในคอนเสิร์ตแฮนด์ อิน แฮนด์ ทราบข่าวว่าภูสมิงแต่งงานเพลงไทยไว้บ้าง จึงชักชวนกันทำอัลบั้มเพลง ปี พ.ศ. 2524 อัลบั้มแรกชุดขอรัก ภูสมิง หน่อสวรรค์ กับ ธนิต ศิลปะกิจ ได้ทำมาสเตอร์เทป ที่ห้องอัดของ จรัล มโนเพชร ในจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อนำมาเสนอค่ายเทปบริษัทโฟร์แทรคให้ความสนใจผลิต หลังเพลงออกอากาศ ระย้า นักจัดรายการวิทยุและเจ้าของค่ายรถไฟดนตรี ที่กำลังประสบความสำเร็จกับศิลปินทรีโอ สาว สาว สาว อยู่ มีโอกาสฟังน้ำเสียง จึงพูดออกอากาศใครรู้จักภูสมิง ให้ช่วยติดต่อกลับมายังสถานี ภูสมิง หน่อสวรรค์ เริ่มผลิตอัลบั้มชุด 2 รักนิรันดร์ กับค่ายรถไฟดนตรีในปี พ.ศ. 2525 โดยมีการดึง ภูสมสนุก หน่อสวรรค์ ลูกชายของอามาร่วมงานเพลง ทั้งคู่มาประสบความสำเร็จในปีถัดมา อัลบั้มชุดที่ 3 มีเพลงที่ได้รับความนิยม คือ ลองรักอีกครั้ง กับ บทเรียนสอนใจ ทำให้มีงานแสดงประจำอยู่ที่ห้องอาหารครัวหลวง โรงแรมแมนดาริน ต่อเนื่องไปยังโรงแรมมณเฑียร และโรงแรมฮิลตัน ยอดขายชุดลองรักอีกครั้ง ทะลุถึง 1 แสนม้วนซึ่งถือว่ามากในสมัยนั้น เมื่อภูสมิงและน้องชายมีโอกาสออก รายการลูกโป่งสีชมพู ทางช่อง 9 และต้องเล่นโฟล์คซองเพลงสากล ทำให้ระย้าเห็นโอกาสดีจึงผุดแนวคิดดิสโอลด์กีตาร์ นำเพลงสากลคันทรีมาคัฟเวอร์ใหม่ อัลบั้มดิสโอลด์กีตาร์ผลิตออกมา 5 ชุด โดยภูสมิงมีการสลับงานเพลงไทย ชุดถามหาความรัก และ ชุดตัวแทน ออกมารักษาความนิยม มีเพลงที่ได้รับความนิยมเช่น ใคร ๆ ก็รู้, ตัวแทน ปี พ.ศ. 2530 ภูสมิงเว้นช่วงผลิตงานเพลง และหันไปลงทุนธุรกิจร้านอาหารภูสมิงที่อยู่ดอนเมือง โดยมีการเชิญนักร้องเพลงสากล อาทิ ฉันทนา กิติยพันธ์, สุดา ชื่นบาน และกิตติคุณ เชียรสงค์ ไปร่วมสร้างสีสัน หลังดำเนินธุรกิจได้ 9 ปี ร้านอาหารประสบวิกฤติฟองสบู่แตก จนร้านภูสมิงจำต้องปิดตัวลงไป ภูสมิงกลับมาทำงานเพลงอีกครั้งร่วมกับค่ายพีจีเอ็ม โดยเป็นการนำเพลงไทยยอดนิยมในอดีต อาทิ กุหลาบปากซัน, เป็นไปไม่ได้ และ ภวังค์รัก มาคัฟเวอร์ใหม่ รวมถึงรับเชิญไปร้องเพลงในต่างประเทศ แต่การร้องเพลงต่างแดนรายได้ขึ้นอยู่กับทิปผู้ฟังไม่ได้เป็นการว่าจ้าง ปัจจุบันแสดงดนตรีทั่วไปทั่วราชอาณาจักรไทย เช่น ร้านDaddy's garden ซอยสวนผัก51, Waterside, The Local และVintage.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและภูสมิง หน่อสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

มีศักดิ์ นาครัตน์

มีศักดิ์ นาครัตน์ (20 เมษายน พ.ศ. 2481 - 18 ตุลาคม พ.ศ. 2555) เป็นนักร้อง นักแสดง และนักแต่งเพลงแปลงที่มีผลงานเด่น ในช่วงทศวรรษ..

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและมีศักดิ์ นาครัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี แพร่ศิริพุฒิพงศ์

มนตรี แพร่ศิริพุฒิพงศ์ ชื่อเล่น แจ้ค เคยมีผลงานเพลงเก่าของ อ.สมาน กาญจนผลิน มาทำใหม่ให้ทำนองและการร้องทันสมัยขึ้น จนได้เข้าชิงพระพิฆะเนศทองคำได้ถึง 2 เพลง จาก 3 เพลงสุดท้ายที่เข้ารอบ.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและมนตรี แพร่ศิริพุฒิพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

วันพ่อแห่งชาติ

วันพ่อแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและเป็นวันชาติ กิจกรรมวันพ่อแห่งชาติจัดติดต่อกันทุกปีตั้งแต..

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและวันพ่อแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วิรัช อยู่ถาวร

วิรัช อยู่ถาวร เป็นนักดนตรี นักแต่งเพลงชาวไทย มีผลงานในนามศิลปิน "3 วิ" ร่วมกับ วิชัย ปุญญะยันต์ และวินัย พันธุรักษ์ วงซิลเวอร์แซนด์ และ วงพิงค์แพนเตอร์ เป็นผู้แต่งทำนองและเรียบเรียงเสียงประสานเพลง พ่อแห่งแผ่นดิน และแต่งเพลงประกอบละครโทรทัศน์หลายเรื่องให้กับไทยทีวีสีช่อง 3 เช่น แต่ปางก่อน, ปริศนา, แม่นาคพระโขนง(สัญญาใจ) เป็นต้น ประสบการณ์ด้านสิทธิของนักแต่งเพลง เป็นกรรมการผู้ก่อตั้ง และประธานกรรมการบริษัท ลิขสิทธิ์ดนตรี(ประเทศไทย)จำกัด (Music Copyright Thailand: MCT)ซึ่งเป็นองค์กรบริหารจัดการลิขสิทธิ์ของนักแต่งเพลงของไทย โดยเป็นเพียงองค์กรเดียวในประเทศไทยที่ได้รับการเป็นสมาชิกขององค์กร CISAC(สมาพันธ์แห่งสมาคมผู้สร้างสรรค์และนักแต่งเพลงระหว่างประเทศ) นอกจากนี้ ยังเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการส่งเสริม ศิลปะร่วมสมัยชุดใหม่ ในสมัยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 ภายหลังรัฐประหาร ในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาต.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและวิรัช อยู่ถาวร · ดูเพิ่มเติม »

วินัย พันธุรักษ์

วินัย พันธุรักษ์ เป็นหนึ่งในสมาชิกก่อตั้งวง ดิอิมพอสซิเบิล เกิดวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 ที่อำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี จบการศึกษาจากวิทยาลัยพาณิชยการพระนคร เริ่มเล่นดนตรีตั้งแต่อายุ 14 ปี โดยเป็นนักร้องเด็กในวงของครูพยงค์ มุกดา ศิลปินแห่งชาติ ขณะเรียนโรงเรียนอำนวยศิลป์ ธนบุรี เคยร่วมวง P.M.Pocket Music วงดนตรีวัยรุ่นโด่งดังในยุคนั้น เริ่มเล่นอาชีพกับวงต่าง ๆ หลายคณะ จนกระทั่งร่วมกับเศรษฐา ศิระฉายา ก่อตั้งวง Holiday J-3 ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นวงดนตรี ดิอิมพอสซิเบิ้ล ที่ถือว่าเป็นประวัติศาสตร์หน้าหนึ่งของวงการดนตรีไทย หลังจากดิอิมฯ ยุบวง ได้ร่วมกับ เรวัติ พุทธินันทน์ ตั้งวง The Oriental Funk ซึ่งถือว่าเป็นวงดนตรีชั้นนำวงหนึ่งของไทย ปัจจุบันเป็นครูสอนร้องเพลงให้กับสถาบันดนตรีที่มีชื่อเสียง KPN และ สถาบันดนตรีมีฟ้า ด้านชีวิตส่วนตัว วินัย มีบุตร 1 คน คือ วิตติวัต พันธุรักษ์ นักร้องและนักแสดง.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและวินัย พันธุรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณย่า ส่งเสริมสวัสดิ์

รัณย่า ส่งเสริมสวัสดิ์ เป็นนักร้องหญิงชาวไทย แนวลูกกรุง ไทยสากล ผลงานที่สร้างชื่อเสียงคือ เพลง สองเวลา แต่ผลงานเพลงที่สร้างชื่อชุดแรกเมื่อเปลี่ยนจากค่ายเพลง EMI มายัง Grammy Entertainment ซึ่งได้รับการชักชวนจากเรวัติ พุทธินันท์ (ผู่ก่อตั้งร่วม Grammy) ในปี 2532 อัลบั้ม "แปลกตรงที่หัวใจ" คือเพลง "อยากหยุดเวลา".

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและศรัณย่า ส่งเสริมสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรีสุดา รัชตะวรรณ

รีสุดา รัชตะวรรณ หรือ ศรีสุดา จุลละบุษปะ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 - 1 สิงหาคม พ.ศ. 2548) อดีตนักร้องวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และสุนทราภรณ.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและศรีสุดา รัชตะวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ศิริพร อยู่ยอด

ริพร อยู่ยอด หรือชื่อที่ใช้ในวงการบันเทิงว่า ตั๊ก ลีลา เกิดเมื่อวันที่ 27 มกราคม..

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและศิริพร อยู่ยอด · ดูเพิ่มเติม »

สวลี ผกาพันธุ์

วลี ผกาพันธุ์ มีชื่อจริงว่า เชอร์รี่ เศวตนันทน์ (สกุลเดิม: ฮอฟแมนน์; 6 สิงหาคม พ.ศ. 2474 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2561) เป็นนักร้องเพลงลูกกรุง และนักแสดงชาวไทย สวลีมีผลงานบันทึกเสียงประมาณ 1,500 เพลง และเธอได้รับการยกย่องเป็นปูชนียบุคคลของวงการเพลงลูกกรุง สวลีถือเป็นนักแสดงรุ่นบุกเบิกของวงการภาพยนตร์ไทยยุคฟิล์ม 16 มิลลิเมตร มีผลงานแสดงสร้างชื่อจากภาพยนตร์เรื่อง ดรรชนีนาง รับบทเป็น "ดรรชนี" และเป็นนักแสดงคนแรกที่รับบทเป็น "พจมาน สว่างวงศ์" จากละครเวทีเรื่อง บ้านทรายทอง สวลีเป็นนักร้องสตรีรางวัลแผ่นเสียงทองคำพระราชทานมากที่สุดถึง 4 ครั้ง และรับรางวัลศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง)..

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและสวลี ผกาพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สันติ ดวงสว่าง

ันติ ดวงสว่าง ชื่ออื่น เสน่ห์ สุดหล่อ,กำธร เทวดา หรือชื่อเดิม จเร ภู่ทอง (10 มกราคม พ.ศ. 2511 – 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559) เจ้าพ่อเพลงหวานที่มีผลงานเพลงดังมากมาย เช่น จูบไม่หวาน, ถอนคำสาบาน, รักนี้มีกรรม, น้ำกรดแช่เย็น.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและสันติ ดวงสว่าง · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล โทณะวณิก

รพล โทณะวณิก (7 พฤษภาคม พ.ศ. 2474 -) นักแต่งเพลงไทย นักเขียน นักข่าว นักหนังสือพิมพ์ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติประจำปี..

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและสุรพล โทณะวณิก · ดูเพิ่มเติม »

สุเทพ วงศ์กำแหง

รืออากาศตรีสุเทพ วงศ์กำแหง เกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 ที่จังหวัดนครราชสีมา ท่านได้รับการศึกษาตั้งแต่เบื้องต้นจนจบชั้นมัธยมปีที่ 6 ที่จังหวัดบ้านเกิด ความมีแววของการเป็นนักร้องเริ่มมีขึ้นตั้งแต่สมัยที่เป็นนักเรียน โดยมักจะได้รับมอบหมายให้เป็นต้นเสียงร้องเพลงชาติที่โรงเรียนเสมอ ๆ ครั้นเรียนจบชั้นมัธยมปีที่ 6 แล้ว คุณสุเทพก็ได้ย้ายเข้ามาอาศัยอยู่กับญาติที่กรุงเทพมหานคร และด้วยนิสัยรักการวาดเขียนและงานศิลปะเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ท่านจึงได้สมัครเข้าเรียนต่อที่โรงเรียนเพาะช่าง ซึ่งระหว่างที่เรียนอยู่นั้นนอกจากท่านจะแสดงฝีมืออย่างโดดเด่นในทางศิลปะแล้ว ท่านยังเป็นนักร้องเสียงดีประจำห้องเรียนอีกด้วย ในยามว่างท่านมักจะฝึกซ้อมร้องเพลงเสมอตามแบบอย่างของนักร้องที่ท่านชื่นชอบ เช่น วินัย จุลละบุษปะ สถาพร มุกดาประกร ปรีชา บุณยเกียรติ ฯลฯ คุณสุเทพได้มีโอกาสรู้จักและคุ้นเคยกับครูไศล ไกรเลิศ นักแต่งเพลงผู้มีชื่อเสียงเนื่องจากบ้านอยู่ใกล้กัน เมื่อครูไศลมองเห็นแววความสามารถของคุณสุเทพก็คิดจะช่วยสนับสนุนส่งเสริมจึงชักชวนให้มาช่วยงาน เช่น ช่วยเขียนโน้ตเพลง เขียนตัวหนังสือ ตลอดจนติดตามไปช่วยงานในธุรกิจบันเทิงต่าง ๆ เสมอ ทำให้คุณสุเทพเริ่มคุ้นเคยกับบุคคลในวงการเพลงมากหน้าหลายตา ทั้งยังได้รับโอกาสให้ร้องเพลงสลับฉากละคร ร้องเพลงตามงานบันเทิงต่าง ๆ รวมไปถึงการทดลองเสียงแทนนักร้องตัวจริงก่อนที่จะทำการอัดเสียงเสมอ จากการที่ร้องเพลงได้อย่างดีเด่น ทำให้คุณสุเทพได้ร้องเพลงบ่อยขึ้นเรื่อย ๆ จนได้รับคัดเลือกให้ร้องเพลงบันทึกแผ่นเสียงของตนเองบ้าง ต่อมาท่านได้รับการสนับสนุนจาก พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่ชื่นชอบการร้องเพลงของท่านโดยช่วยส่งเสริมท่านในทางต่าง ๆ ครั้นคุณสุเทพมีอายุครบกำหนดกฎเกณฑ์ทหาร พลอากาศเอกทวีจึงได้ชักชวนให้ท่านเข้ารับราชการในกองทัพอากาศ โดยได้ประจำอยู่ที่วงดุริยางค์ทหารอากาศ ซึ่งมี ครู ปรีชา เมตไตรย์ เป็นผู้ควบคุมวง ระหว่างนั้น คุณสุเทพได้บันทึกแผ่นเสียงมากขึ้นอีก และสถานีวิทยุต่าง ๆ ก็ได้นำเพลงที่ท่านร้องบันทึกแผ่นเสียงนี้ไปเปิดจนเป็นที่รู้จักแพร่หลายอย่างรวดเร็ว ภายหลังจากออกจากกองทัพอากาศแล้ว คุณสุเทพก็ได้ร้องเพลงเป็นอาชีพหลักอย่างเต็มตัว ท่านได้เข้าร่วมกับคณะชื่นชุมนุมศิลปิน และได้มีโอกาสร้องเพลงทั้งในรายการวิทยุและโทรทัศน์อยู่เนือง ๆ ทำให้ชื่อเสียงของท่านเริ่มเพิ่มขึ้น งานต่าง ๆ จึงหลั่งไหลเข้ามาไม่ขาดสาย และยิ่งในช่วงนั้น วงการภาพยนตร์ไทยกำลังเฟื่องฟู ท่านจึงได้งานร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ไทยเป็นจำนวนมาก รวมทั้งได้ร่วมแสดงภาพยนตร์บางเรื่องด้วย ท่านได้มีโอกาสร้องเพลงคู่กับนักร้องรุ่นพี่ท่านหนึ่งคือ คุณสวลี ผกาพันธุ์ อยู่เสมอ ในเวลานั้น คุณสวลีเป็นนักร้องยอดนิยมแห่งยุคที่มีแฟนเพลงชื่นชอบมากมาย ดังนั้นเมื่อใครซื้อแผ่นเสียงของคุณสวลีไป ก็มักจะมีเสียงคุณสุเทพติดไปด้วย ชื่อเสียงของคุณสุเทพจึงโด่งดังขึ้นเป็นอย่างมาก ดังนั้น คุณสุเทพจึงถือว่าความสำเร็จในเบื้องต้นส่วนหนึ่งของท่านนั้น ได้รับอานิสงส์มาจากการที่ได้ร้องเพลงคู่กับคุณสวลี ผกาพันธุ์ด้วย จุดเด่นของคุณสุเทพก็คือการที่ท่านมีน้ำเสียงที่ดีเป็นเลิศ มีลีลาในการร้องเพลงที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวนุ่มนวลชวนฟัง อีกทั้งอารมณ์ที่แสดงออกมาทางน้ำเสียงและสีหน้านั้นก็สามารถสะกดใจผู้ฟังให้คล้อยตามและเข้าถึงอารมณ์ของเพลงนั้นได้อย่างพิเศษ ประกอบกับการที่ท่านเป็นผู้ที่เอาใจใส่อย่างจริงจังในการทำงาน ทำให้ท่านเป็นนักร้องที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงภายในระยะเวลารวดเร็ว จนได้รับฉายาจาก รงค์ วงษ์สวรรค์ว่า "นักร้องเสียงขยี้แพรบนฟองเบียร์" มีผลงานดีเด่นเป็นเวลาต่อเนื่องมานานกว่า 40 ปี ในช่วงก่อนปีพุทธศักราช 2500 คุณสุเทพได้ร่วมเดินทางไปฮ่องกง และสาธารณรัฐประชาชนจีนกับศิลปินแขนงต่าง ๆ กลุ่มใหญ่ จากนั้น ท่านก็ได้เดินทางต่อไปยังประเทศญี่ปุ่นเพื่อศึกษาทางด้านการวาดรูปที่ท่านเคยรักมาก่อนในอดีต ระหว่างนั้นท่านก็ได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดีจากแฟนเพลงคนไทยที่นั่น ท่านได้เรียนวาดรูปตามความประสงค์และร้องเพลงขับกล่อมคนไทยที่ไปพำนักยังแดนอาทิตย์อุทัยประมาณ 3 ปี จึงได้เดินทางกลับประเทศไทย งานร้องเพลงของ สุเทพ วงศ์กำแหง สามารถแบ่งออก 3 ช่วง ตามช่วงเวลาดังนี้.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและสุเทพ วงศ์กำแหง · ดูเพิ่มเติม »

สง่า อารัมภีร

ง่า อารัมภีร สง่า อารัมภีร หรือ ครูแจ๋ว (แจ๋ว วรจักร์) (11 ธันวาคม พ.ศ. 2464 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2542) เป็นนักเขียนและศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล) เมื่อ..

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและสง่า อารัมภีร · ดูเพิ่มเติม »

อริสมันต์ พงศ์เรืองรอง

อริสมันต์ พงศ์เรืองรอง เป็น นักร้อง, นักการเมือง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขาเคยเข้าร่วมกับแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) และเป็นอดีตแกนนำ นป.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและอริสมันต์ พงศ์เรืองรอง · ดูเพิ่มเติม »

อาจินต์ ปัญจพรรค์

"อาจินต์ ปัญจพรรค์" (11 ตุลาคม 2470 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป..

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและอาจินต์ ปัญจพรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตติมา เจือใจ

ตติมา เจือใจ ชื่อจริง สุนิสา วงศ์วัจฉละกุล เป็นนักร้องลูกกรุง ชื่อเล่นหน่อย เกิด 25 กรกฎาคม เธอได้รับแผ่นเสียงทองคำพระราชทานในปี พ.ศ. 2522 จากเพลงเหวหินผลงานของ คุณชัยรัตน์ วงศ์เกียรติขจร ผลงานสร้างชื่อเสียง ตั้งแต่อัลบั้มชุดแรกที่แต่งโดย คุณ ทวีพงศ์ มณีนิล (ซึ่งต่อมาคือคู่ชีวิต:เสียชีวิตแล้ว) ชื่อ ถ้าหัวใจฉันมีปีก ในปี 2519 และได้รับความนิยมอย่างล้นหลามจนมีผลงานออกมาอีกหลายอันบั้ม เช่นหลักไม้เลื้อยในปี 2520 ซึงก็ได้รับความนิยมสูงสุดเช่นกัน ตามด้วยรักยามจน ของหมอวราห์ วรเวช ผลงานของ ป.ชื่นประโยชน์ พยงค์ มุกดา พรพิรุณ นคร ถนอมทรัพย์ เนรัญชราฯลฯ คุณจิตติมาเป็นนักร้องหญิงคนเดียวในยุคนั้นที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะบัญชีและอีกหนึ่งปริญญา คือพานิชย์ศาสตร์ นิสัยส่วนตัวเป็นคนโอบอ้อมอารีย์มีน้ำใจกับทุกๆคน ทุกวันนี้เธอยังคงร้องเพลงตามงานต่างๆ และร้องประจำทุกคืนวันพุธที่โรงแรม นิรันดร์แกรนด์แล้ว เธอยังได้รับหน้าที่ที่ทรงเกียรติด้วยการเป็นพิพากษาสมทบศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ อีกด้วย ขณะนี้คุณจิตติมา มีผลงานชุดใหม่ซึ่งนำเพลงเก่าของครูมนัส ปิติสานต์มาบันทึกใหม่ชื่ออัลบัม ความรักในความทรงจำ ขับร้องร่วมกับคุณวิยะดา ธารินทร.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและจิตติมา เจือใจ · ดูเพิ่มเติม »

จินตนา สุขสถิตย์

นตนา สุขสถิตย์ หรือ จินตนา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา (6 ธันวาคม พ.ศ. 2481 - ปัจจุบัน) นักร้องเพลงไทยสากล ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล - ขับร้อง)..

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและจินตนา สุขสถิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธรรพ์ณธร ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา

รรพ์ณธร ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา เกิดเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 เป็นนักร้องชายชายชาวไท.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและธรรพ์ณธร ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ธานินทร์ อินทรเทพ

นินทร์ อินทรเทพ มีชื่อจริงว่า ธานินทร์ อินทรแจ้ง นักร้องเพลงลูกกรุงอาวุโส มีชื่อเสียงจากเพลง รักเอย เหมือนคนละฟากฟ้า นกขมิ้น หากรู้สักนิด ขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก และ ทำไมถึงต้องเป็นเรา (โดยเฉพาะเพลงขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก มีชื่อเสียงจนถูกนำไปแต่งเพลงล้อเลียน ชื่อ ขาดฉันแล้วเธอจะเซ้งตึก แปลงเพลงโดย ซูม แห่งหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ).

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและธานินทร์ อินทรเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ทิพย์อาภา ชื่นประดิษฐ์

ทิพย์อาภา ชื่นประดิษฐ์ หรือ โน๊ต (Note) นักร้องชาวไทย เข้าสู่วงการจากการเป็นนักร้องภายใต้สังกัดEMI (อีเอ็มไอ) ต่อมาได้เป็นศิลปินในสังกัด เออร์ซ่า เมเจอร์ และ เอ็กแซ็กท์ ตามลำดั.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและทิพย์อาภา ชื่นประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทนงศักดิ์ ภักดีเทวา

ทนงศักดิ์ ภักดีเทวา (28 สิงหาคม พ.ศ. 2478 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550) นักร้องเพลงลูกกรุง นักแสดง อดีตหนึ่งในสามสมาชิกวง "สามศักดิ์" ร่วมกับ มีศักดิ์ นาครัตน์ และศักรินทร์ บุญญฤทธิ์ มีชื่อเสียงโด่งดังมาจากเล่นละครโทรทัศน์ช่อง 4 บางขุนพรหม มีเพลงที่เป็นที่นิยมมเช่น เพลงหอรักหอร้าง นกเอี้ยงจ๋า ไม่รักไม่ว่า ยามชัง อยู่เพื่อคอยเธอ เดือนต่ำดาวตก เข้าศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนโยธินบูรณะ และ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม ทนงศักดิ์ ภักดีเทวา เดิมชื่อ หัสกรรม เป็นบุตรของนายยอแสง ภักดีเทวา ครูโขนในสังกัดกรมศิลปากร กับนางสุลาลีวัลย์ สุวรรณทัต (ต่อมานางสุลาลีวัลย์ ได้สมรสใหม่กับ หม่อมเจ้าอติวงศ์วิวัสวัติ สุริยง เป็น หม่อมสุลาลีวัลย์ สุริยง ณ อยุธยา) ทนงศักดิ์ ภักดีเทวา สมรสกับนางกฤษณา ภักดีเทวา มีบุตร 5 คน บันทึกแผ่นเสียงครั้งแรกกับเพลง เอื้องดอกฟ้า เคยได้รับรางวัลพระราชทานแผ่นเสียงทองคำ เมื่อ..

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและทนงศักดิ์ ภักดีเทวา · ดูเพิ่มเติม »

ดาว มยุรี

ว มยุรี เป็นนักร้องลูกทุ่งชื่อดัง ในค่ายอาร์เอส (หรืออาร์สยาม) ผลงานเพลงที่มีชื่อเสียงได้แก่เพลง มีเมียแล้วไม่เอา, สาวแผงลอย, มิน่าล่ะ, แนวหลังยังคอย, เขาหาว่าฉันชอบเด็ก เป็นต้น.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและดาว มยุรี · ดูเพิ่มเติม »

ดาวใจ ไพจิตร

วใจ ไพจิตร หรือ ดร.เตือนใจ สุจริตกุล (12 ธันวาคม 2497 -) เป็นนักร้องเพลงลูกกรุงที่มีชื่อเสียง เคยเป็นนักร้องประจำวงสุนทราภรณ์ (ความจริงมีหลักฐานว่าไม่เคย) ก่อนจะออกมาร้องเพลงเดี่ยว มีผลงานร้องเพลงกว่า 1000 เพลง.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและดาวใจ ไพจิตร · ดูเพิ่มเติม »

คณาคำ อภิรดี

ณาคำ อภิรดี หรือ บี๋ คณาคำ เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงชาวไทยเชื้อสายจีน-มาเลเซีย มีผลงานร้องเพลงในแนวบลูส์ ร้องเพลงเสียงประสาน ร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ เพลงประกอบละคร และพากย์เสียงในภาพยนตร์โฆษณา คณาคำ อภิรดีเกิดที่ประเทศมาเลเซีย มาใช้ชีวิตในประเทศไทยตั้งแต่เด็ก ได้เข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองโดยขึ้นเวทีพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในการขับไล่ทักษิณ ชินวัตร จากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เมื่อ..

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและคณาคำ อภิรดี · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ พยอมยงค์

ประสิทธิ์ พยอมยงค์ (7 มีนาคม พ.ศ. 2469 - 2 เมษายน พ.ศ. 2553) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล - เรียบเรียงเสียงประสาน) และเจ้าของบทเพลงข้าวนอกนา บ้านเรา รักเธอเสมอ คนเดียวในดวงใจ ฆ่าฉันให้ตายดีกว่า เดือนเอ๋.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและประสิทธิ์ พยอมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐศรี จันทน์อาภรณ์

มพ์นิภา มนตรีอาภรณ์ หรือ ประเสริฐศรี จันทน์อาภรณ์ (18 มีนาคม พ.ศ. 2482 – 2 มีนาคม พ.ศ. 2556) อดีตนักร้องวงวายุบุตร เจ้าของฉายา "นักร้อง 20 ภาษา" ยุคต้น ๆ บันทึกแผ่นเสียงเพลงเสี้ยนหัวใจ ในนามของสหมิตรดนตรีจำกัด ประสบความสำเร็จจากการร้องโชว์ทั้งในและต่างประเทศ ด้วยการร้องเป็นภาษาต่าง ๆ พร้อมรีวิวประกอบที่มีลักษณะเฉพาะตัว และเป็นอดีตคู่สมรสของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ทั้งนี้เธอเคยเป็นครูสอนร้องเพลงตามสถาบันทางการดนตรี, คอนเสิร์ตการกุศล รวมทั้งผลงานละครและโฆษณา โดยเฉพาะโฆษณาของบริษัทน้ำมันแห่งหนึ่ง จนเธอเป็นที่รู้จักในนาม "คุณนายสะอาด".

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและประเสริฐศรี จันทน์อาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะวัฒน์ เปี่ยมเบี้ย

ปิยะวัฒน์ เปี่ยมเบี้ย เกิดเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 เป็นนักร้อง, นักแต่งเพลง และโปรดิวเซอร์เพลงชาวไทย ทำงานอยู่กับสังกัดแกรมมี่ เอนเตอร์เทนเมนต์ ปัจจุบันเป็น จีเอ็มเอ็ม แกรมมี.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและปิยะวัฒน์ เปี่ยมเบี้ย · ดูเพิ่มเติม »

ปนัดดา เรืองวุฒิ

ปนัดดา เรืองวุฒิ ชื่อเล่น ลูกนัท เป็นนักร้อง นักแสดงละครเวที และดีเจชาวไทย ปนัดดาเป็นนักร้องภายใต้สังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ โดยมีผลงานเพลงสร้างชื่อเสียงมากมาย ได้แก่เพลง ดาวกระดาษ, ดอกไม้ในหัวใจ, ลมหนาวและดาวเดือน, ขอได้ไหม, คนเลวที่รักเธอ, มีค่าเวลาเธอเหงา, ภรรยาน้อย (ฉันไม่อยากเป็น), โกหกไม่ลง พูดตรงๆไม่ได้ และเพลง ในฐานะอะไร เป็นต้น ซึ่งบทเพลงส่วนใหญ่ เป็นเพลงรักที่ผิดหวัง เนื้อหาเกียวความรักต้องห้าม มือที่สาม รักสามเส้า เป็นหลัก.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและปนัดดา เรืองวุฒิ · ดูเพิ่มเติม »

นริศ อารีย์

นริศ อารีย์ (31 ธันวาคม พ.ศ. 2473 - 30 กันยายน พ.ศ. 2554) เป็นนักร้องเพลงลูกกรุงรุ่นใหญ่ ที่ได้รับการยกย่องเป็นหนึ่งในสามขุนพลเพลงลูกกรุง ร่วมกับ สุเทพ วงศ์กำแหง และชรินทร์ นันทนาคร นริศ อารีย์ เป็นน้องชายแท้ๆของ วรนุช อารีย์ นักร้องนำวงสุนทราภรณ์ ชอบร้องเพลงประกวดตามงานวัด หลังจากชนะเลิศการประกวดร้องเพลงที่วิทยาลัยบพิตรพิมุขจึงได้เข้าสู่วงการ แสดงละครวิทยุและร้องเพลงกับคณะละครพันตรีศิลปะ และร้องเพลงสลับฉากที่ศาลาเฉลิมไทย และศาลาเฉลิมกรุง รุ่นเดียวกับสุเทพ วงศ์กำแหง และชรินทร์ นันทนาคร เพลงของนริศ อารีย์ ที่มีชื่อเสียง คือเพลง "ชัวนิจนิรันดร" (พยงค์ มุกดา) "คอย" และ "สักวันหนึ่ง" (ป. ชื่นประโยชน์) "ผู้ครองรัก" และ "ผู้แพ้" (รัก รักษ์พงษ์ หรือ สมณะโพธิรักษ์) "เปียจ๋า" และ "ม่วยจ๋า" (สุรพล โทณะวณิก) "กลิ่นเกล้า" และ "แม้พี่นี้จะขี้เมา" (ไพบูลย์ บุตรขัน) นริศ อารีย์ เสียชีวิตในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ด้วยโรคพาร์กินสัน และโรคเบาหวาน ซึ่งตรงกับช่วงที่ กาเหว่า เสียงทอง ผู้เป็นนักร้องชาวไทย ได้เสียชีวิตในช่วงเดียวกัน.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและนริศ อารีย์ · ดูเพิ่มเติม »

นันทิดา แก้วบัวสาย

นันทิดา แก้วบัวสาย เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย และ 1 ใน 3 ศิลปินหญิงสุดยอดคุณภาพระดับแนวหน้าของประเทศไท.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและนันทิดา แก้วบัวสาย · ดูเพิ่มเติม »

นันทนา บุญ-หลง

นันทนา บุญ-หลง (ชื่อเล่น: แอน) เป็นอดีตนักร้องหญิงสังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และนักแสดง ปัจจุบันเป็นนักพากย์และครูสอนร้องเพลง มีชื่อเสียงจากการเป็นนางเอกละครเรื่อง "ข้าวนอกนา" ทางช่อง 7 และมีผลงานเพลงที่เป็นที่รู้จักได้แก่เพลง คิดไม่ถึง และเพลง รักเธอคนเดียว เป็นต้น.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและนันทนา บุญ-หลง · ดูเพิ่มเติม »

นคร ถนอมทรัพย์

นคร ถนอมทรัพย์ หรือ กุง กาดิน นักร้อง นักแต่งเพลง นักจัดรายการวิทยุ ในอดีตเคยเป็นนักร้องของวงดนตรีจุฬารัตน์ โดยเป็นคนสนิทของครูมงคล อมาตยกุล มีชื่อเสียงจากการร้องและแต่งเพลงแปลง โดยใช้ชื่อในการแสดงว่า "กุง กาดิน" และพากย์เสียงละครวิทยุ ผลงานเพลงที่แต่งที่มีชื่อเสียง ได้แก่เพลง รักกันไว้เถิด ได้รับรางวัลพระราชทานแผ่นเสียงทองคำ ประจำปี..

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและนคร ถนอมทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

แมนรัตน์ ศรีกรานนท์

รืออากาศตรี ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและแมนรัตน์ ศรีกรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

แสงสุรีย์ รุ่งโรจน์

แสงสุรีย์ รุ่งโรจน์ เป็นนักร้องลูกทุ่งชายที่มีน้ำเสียงไพเราะเพราะพริ้ง แม้หน้าตาอาจจะไม่ค่อยหล่อเหลาสักเท่าใดนัก เส้นทางการขึ้นมาเป็นนักร้องของเขาออกจากแตกต่างจากนักร้องลูกทุ่งรุ่นเดียวกันหรือรุ่นก่อนหน้านั้นอยู่มาก เพราะเขามีผลงานเพลงโด่งดังขึ้นมาโดยที่ไม่เคยเป็นนักร้องอยู่กับวงลูกทุ่งใดๆเลย แสงสุรีย์ รุ่งโรจน์ โด่งดังมาจากผลงานเพลงแรกที่เขาบันทึกเสียงคือ "แห่ขันหมาก" และหลังจากนั้นก็ผลิตผลงานเพลงที่ไพเราะกินใจออกมามากมายหลายเพลง ปัจจุบัน แม้ความนิยมจะตกต่ำไปตามกาลเวลา แต่แสงสุรีย์ ที่อยู่ในวงการมานานหลายสิบปี ก็ยังคงตระเวณร้องเพลงตามที่ได้รับการว่าจ้างด้วยน้ำเสียงที่ยังคงไพเราะเหมือนเช่นสมัยเข้าวงการใหม.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและแสงสุรีย์ รุ่งโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

โก๊ะตี๋ อารามบอย

ริญพร อ่อนละม้าย (เกิด 31 ธันวาคม พ.ศ. 2523) ชื่อในการแสดงว่า โก๊ะตี๋ อารามบอย หรือเดิมใช้ว่า โก๊ะตี๋ ผีน่ารัก เป็นนักแสดงชาวจังหวัดอ่างทอง จุดเด่นคือรูปร่างอ้วนและเหมือนเด็ก แทนตัวเองว่า "หนู" มีผลงานการแสดงหลายด้าน ทั้งตลก ภาพยนตร์ และละคร นอกจากนี้ ยังเป็นนักธุรกิจแอมเวย์ระดับแพลตินัมสองผู้สถาปน.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและโก๊ะตี๋ อารามบอย · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย

ทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: ทรท., ทีวีพูล; The Television Pool of Thailand - TPT., T.V.Pool) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2511 โดยสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย 4 ช่องคือ ไทยทีวีสีช่อง 3, ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี, ททบ.5 และช่อง 7 สี.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงสำคัญของแผ่นดิน

ลงสำคัญของแผ่นดิน คือ เพลงที่รัฐบาลไทยจัดให้มีความสำคัญในระดับชาติอย่างเป็นทางการ ตามมติคณะรัฐมนตรีลงวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2546 ซึ่งมีทั้งหมด 6 เพลง ได้แก่ เพลงชาติไทย เพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงมหาชัย เพลงมหาฤกษ์ เพลงสดุดีมหาราชา และเพลงภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา โดยยกเหตุผลว่าเพลงเหล่านี้ "เป็นเพลงที่มีคุณค่า แสดงถึงคุณค่าและความเจริญของคนในชาติ เป็นภูมิปัญญาของแผ่นดิน รวมทั้งแสดงความจงรักภักดีและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ" ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และพระบรมราชจักรีวงศ์ ตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว ได้กำหนดให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ ใช้เพลงสำคัญของแผ่นดินตามฉบับที่คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติจัดทำขึ้นใหม่ เป็นต้นฉบับในโอกาสต่างๆ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2547 เป็นต้นไป.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและเพลงสำคัญของแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์

นาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปีพุทธศักราช 2536 กวีรางวัลซีไรต์ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาต.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

Ogg

ogg ("อ็อก") เป็นรูปแบบหีบห่อดิจิทัลแบบมาตรฐานเปิดสำหรับบรรจุสื่อผสม มันถูกออกแบบมาเพื่อประสิทธิภาพในการกระจายเสียง (สตรีมมิง) และการเปลี่ยนแปร รูปแบบ ogg ออกแบบโดยมูลนิธิ Xiph.Org และปลอดจากสิทธิบัตรซอฟต์แวร์ คำว่า "ogg" ยังถูกใช้บ่อย ๆ เพื่อเรียกรูปแบบแฟ้มเสียง Ogg Vorbis ซึ่งเป็นเสียงที่ถูกเข้ารหัสแบบ Vorbis แล้วเก็บลงในหีบห่อ Ogg การเข้ารหัสอื่นที่เด่น ๆ ของ Xiph ที่มักถูกใส่ใน Ogg ก็คือ Theora ซึ่งเป็นการเข้ารหัสภาพเคลื่อนไหว (วิดีโอ), และ Speex ซึ่งเป็นการบีบอัดเสียงพูดของมนุษย์ MIME type ของ ogg คือ application/ogg.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและOgg · ดูเพิ่มเติม »

30 ธันวาคม

วันที่ 30 ธันวาคม เป็นวันที่ 364 ของปี (วันที่ 365 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 1 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและ30 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ภูมิแผ่นดินนวมินทร์มหาราชา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »