โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและสวลี ผกาพันธุ์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและสวลี ผกาพันธุ์

ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา vs. สวลี ผกาพันธุ์

ลงภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา เป็นเพลงเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ พ.ศ. 2542 ขับร้องโดยศิลปินจำนวน 72 คน. วลี ผกาพันธุ์ มีชื่อจริงว่า เชอร์รี่ เศวตนันทน์ (สกุลเดิม: ฮอฟแมนน์; 6 สิงหาคม พ.ศ. 2474 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2561) เป็นนักร้องเพลงลูกกรุง และนักแสดงชาวไทย สวลีมีผลงานบันทึกเสียงประมาณ 1,500 เพลง และเธอได้รับการยกย่องเป็นปูชนียบุคคลของวงการเพลงลูกกรุง สวลีถือเป็นนักแสดงรุ่นบุกเบิกของวงการภาพยนตร์ไทยยุคฟิล์ม 16 มิลลิเมตร มีผลงานแสดงสร้างชื่อจากภาพยนตร์เรื่อง ดรรชนีนาง รับบทเป็น "ดรรชนี" และเป็นนักแสดงคนแรกที่รับบทเป็น "พจมาน สว่างวงศ์" จากละครเวทีเรื่อง บ้านทรายทอง สวลีเป็นนักร้องสตรีรางวัลแผ่นเสียงทองคำพระราชทานมากที่สุดถึง 4 ครั้ง และรับรางวัลศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง)..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและสวลี ผกาพันธุ์

ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและสวลี ผกาพันธุ์ มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชรินทร์ นันทนาครชาลี อินทรวิจิตรสุเทพ วงศ์กำแหงนริศ อารีย์

ชรินทร์ นันทนาคร

รินทร์ นันทนาคร หรือชื่อเดิม ชรินทร์ งามเมืองเดิมชรินทร์ นามสกุล งามเมือง ต่อมาได้รับพระราชทานนามสกุลจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็น "นันทนาคร" ในปี 2503 (เกิด 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2476 ที่จังหวัดเชียงใหม่) ศิลปินนักร้อง นักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ ประจำปี..

ชรินทร์ นันทนาครและภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา · ชรินทร์ นันทนาครและสวลี ผกาพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาลี อินทรวิจิตร

ลี อินทรวิจิตร เป็นผู้ประพันธ์คำร้อง ผู้กำกับภาพยนตร์ ได้รับยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้ประพันธ์คำร้อง-ผู้กำกับภาพยนตร์) ประจำปีพุทธศักราช 2536 มีผลงานประพันธ์คำร้องเพลงที่มีชื่อเสียง ได้แก่ สดุดีมหาราชา, แสนแสบ, ท่าฉลอม, สาวนครชัยศรี, ทุ่งรวงทอง, มนต์รักดอกคำใต้, แม่กลอง, เรือนแพ, จำเลยรัก ฯลฯ เดิมชื่อ สง่า อินทรวิจิตร เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม..

ชาลี อินทรวิจิตรและภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา · ชาลี อินทรวิจิตรและสวลี ผกาพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุเทพ วงศ์กำแหง

รืออากาศตรีสุเทพ วงศ์กำแหง เกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 ที่จังหวัดนครราชสีมา ท่านได้รับการศึกษาตั้งแต่เบื้องต้นจนจบชั้นมัธยมปีที่ 6 ที่จังหวัดบ้านเกิด ความมีแววของการเป็นนักร้องเริ่มมีขึ้นตั้งแต่สมัยที่เป็นนักเรียน โดยมักจะได้รับมอบหมายให้เป็นต้นเสียงร้องเพลงชาติที่โรงเรียนเสมอ ๆ ครั้นเรียนจบชั้นมัธยมปีที่ 6 แล้ว คุณสุเทพก็ได้ย้ายเข้ามาอาศัยอยู่กับญาติที่กรุงเทพมหานคร และด้วยนิสัยรักการวาดเขียนและงานศิลปะเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ท่านจึงได้สมัครเข้าเรียนต่อที่โรงเรียนเพาะช่าง ซึ่งระหว่างที่เรียนอยู่นั้นนอกจากท่านจะแสดงฝีมืออย่างโดดเด่นในทางศิลปะแล้ว ท่านยังเป็นนักร้องเสียงดีประจำห้องเรียนอีกด้วย ในยามว่างท่านมักจะฝึกซ้อมร้องเพลงเสมอตามแบบอย่างของนักร้องที่ท่านชื่นชอบ เช่น วินัย จุลละบุษปะ สถาพร มุกดาประกร ปรีชา บุณยเกียรติ ฯลฯ คุณสุเทพได้มีโอกาสรู้จักและคุ้นเคยกับครูไศล ไกรเลิศ นักแต่งเพลงผู้มีชื่อเสียงเนื่องจากบ้านอยู่ใกล้กัน เมื่อครูไศลมองเห็นแววความสามารถของคุณสุเทพก็คิดจะช่วยสนับสนุนส่งเสริมจึงชักชวนให้มาช่วยงาน เช่น ช่วยเขียนโน้ตเพลง เขียนตัวหนังสือ ตลอดจนติดตามไปช่วยงานในธุรกิจบันเทิงต่าง ๆ เสมอ ทำให้คุณสุเทพเริ่มคุ้นเคยกับบุคคลในวงการเพลงมากหน้าหลายตา ทั้งยังได้รับโอกาสให้ร้องเพลงสลับฉากละคร ร้องเพลงตามงานบันเทิงต่าง ๆ รวมไปถึงการทดลองเสียงแทนนักร้องตัวจริงก่อนที่จะทำการอัดเสียงเสมอ จากการที่ร้องเพลงได้อย่างดีเด่น ทำให้คุณสุเทพได้ร้องเพลงบ่อยขึ้นเรื่อย ๆ จนได้รับคัดเลือกให้ร้องเพลงบันทึกแผ่นเสียงของตนเองบ้าง ต่อมาท่านได้รับการสนับสนุนจาก พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่ชื่นชอบการร้องเพลงของท่านโดยช่วยส่งเสริมท่านในทางต่าง ๆ ครั้นคุณสุเทพมีอายุครบกำหนดกฎเกณฑ์ทหาร พลอากาศเอกทวีจึงได้ชักชวนให้ท่านเข้ารับราชการในกองทัพอากาศ โดยได้ประจำอยู่ที่วงดุริยางค์ทหารอากาศ ซึ่งมี ครู ปรีชา เมตไตรย์ เป็นผู้ควบคุมวง ระหว่างนั้น คุณสุเทพได้บันทึกแผ่นเสียงมากขึ้นอีก และสถานีวิทยุต่าง ๆ ก็ได้นำเพลงที่ท่านร้องบันทึกแผ่นเสียงนี้ไปเปิดจนเป็นที่รู้จักแพร่หลายอย่างรวดเร็ว ภายหลังจากออกจากกองทัพอากาศแล้ว คุณสุเทพก็ได้ร้องเพลงเป็นอาชีพหลักอย่างเต็มตัว ท่านได้เข้าร่วมกับคณะชื่นชุมนุมศิลปิน และได้มีโอกาสร้องเพลงทั้งในรายการวิทยุและโทรทัศน์อยู่เนือง ๆ ทำให้ชื่อเสียงของท่านเริ่มเพิ่มขึ้น งานต่าง ๆ จึงหลั่งไหลเข้ามาไม่ขาดสาย และยิ่งในช่วงนั้น วงการภาพยนตร์ไทยกำลังเฟื่องฟู ท่านจึงได้งานร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ไทยเป็นจำนวนมาก รวมทั้งได้ร่วมแสดงภาพยนตร์บางเรื่องด้วย ท่านได้มีโอกาสร้องเพลงคู่กับนักร้องรุ่นพี่ท่านหนึ่งคือ คุณสวลี ผกาพันธุ์ อยู่เสมอ ในเวลานั้น คุณสวลีเป็นนักร้องยอดนิยมแห่งยุคที่มีแฟนเพลงชื่นชอบมากมาย ดังนั้นเมื่อใครซื้อแผ่นเสียงของคุณสวลีไป ก็มักจะมีเสียงคุณสุเทพติดไปด้วย ชื่อเสียงของคุณสุเทพจึงโด่งดังขึ้นเป็นอย่างมาก ดังนั้น คุณสุเทพจึงถือว่าความสำเร็จในเบื้องต้นส่วนหนึ่งของท่านนั้น ได้รับอานิสงส์มาจากการที่ได้ร้องเพลงคู่กับคุณสวลี ผกาพันธุ์ด้วย จุดเด่นของคุณสุเทพก็คือการที่ท่านมีน้ำเสียงที่ดีเป็นเลิศ มีลีลาในการร้องเพลงที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวนุ่มนวลชวนฟัง อีกทั้งอารมณ์ที่แสดงออกมาทางน้ำเสียงและสีหน้านั้นก็สามารถสะกดใจผู้ฟังให้คล้อยตามและเข้าถึงอารมณ์ของเพลงนั้นได้อย่างพิเศษ ประกอบกับการที่ท่านเป็นผู้ที่เอาใจใส่อย่างจริงจังในการทำงาน ทำให้ท่านเป็นนักร้องที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงภายในระยะเวลารวดเร็ว จนได้รับฉายาจาก รงค์ วงษ์สวรรค์ว่า "นักร้องเสียงขยี้แพรบนฟองเบียร์" มีผลงานดีเด่นเป็นเวลาต่อเนื่องมานานกว่า 40 ปี ในช่วงก่อนปีพุทธศักราช 2500 คุณสุเทพได้ร่วมเดินทางไปฮ่องกง และสาธารณรัฐประชาชนจีนกับศิลปินแขนงต่าง ๆ กลุ่มใหญ่ จากนั้น ท่านก็ได้เดินทางต่อไปยังประเทศญี่ปุ่นเพื่อศึกษาทางด้านการวาดรูปที่ท่านเคยรักมาก่อนในอดีต ระหว่างนั้นท่านก็ได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดีจากแฟนเพลงคนไทยที่นั่น ท่านได้เรียนวาดรูปตามความประสงค์และร้องเพลงขับกล่อมคนไทยที่ไปพำนักยังแดนอาทิตย์อุทัยประมาณ 3 ปี จึงได้เดินทางกลับประเทศไทย งานร้องเพลงของ สุเทพ วงศ์กำแหง สามารถแบ่งออก 3 ช่วง ตามช่วงเวลาดังนี้.

ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและสุเทพ วงศ์กำแหง · สวลี ผกาพันธุ์และสุเทพ วงศ์กำแหง · ดูเพิ่มเติม »

นริศ อารีย์

นริศ อารีย์ (31 ธันวาคม พ.ศ. 2473 - 30 กันยายน พ.ศ. 2554) เป็นนักร้องเพลงลูกกรุงรุ่นใหญ่ ที่ได้รับการยกย่องเป็นหนึ่งในสามขุนพลเพลงลูกกรุง ร่วมกับ สุเทพ วงศ์กำแหง และชรินทร์ นันทนาคร นริศ อารีย์ เป็นน้องชายแท้ๆของ วรนุช อารีย์ นักร้องนำวงสุนทราภรณ์ ชอบร้องเพลงประกวดตามงานวัด หลังจากชนะเลิศการประกวดร้องเพลงที่วิทยาลัยบพิตรพิมุขจึงได้เข้าสู่วงการ แสดงละครวิทยุและร้องเพลงกับคณะละครพันตรีศิลปะ และร้องเพลงสลับฉากที่ศาลาเฉลิมไทย และศาลาเฉลิมกรุง รุ่นเดียวกับสุเทพ วงศ์กำแหง และชรินทร์ นันทนาคร เพลงของนริศ อารีย์ ที่มีชื่อเสียง คือเพลง "ชัวนิจนิรันดร" (พยงค์ มุกดา) "คอย" และ "สักวันหนึ่ง" (ป. ชื่นประโยชน์) "ผู้ครองรัก" และ "ผู้แพ้" (รัก รักษ์พงษ์ หรือ สมณะโพธิรักษ์) "เปียจ๋า" และ "ม่วยจ๋า" (สุรพล โทณะวณิก) "กลิ่นเกล้า" และ "แม้พี่นี้จะขี้เมา" (ไพบูลย์ บุตรขัน) นริศ อารีย์ เสียชีวิตในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ด้วยโรคพาร์กินสัน และโรคเบาหวาน ซึ่งตรงกับช่วงที่ กาเหว่า เสียงทอง ผู้เป็นนักร้องชาวไทย ได้เสียชีวิตในช่วงเดียวกัน.

นริศ อารีย์และภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา · นริศ อารีย์และสวลี ผกาพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและสวลี ผกาพันธุ์

ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา มี 55 ความสัมพันธ์ขณะที่ สวลี ผกาพันธุ์ มี 44 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 4.04% = 4 / (55 + 44)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชาและสวลี ผกาพันธุ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »