โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัย

ดัชนี พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัย

ระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัย เป็นพระพุทธรูปสำคัญของประเทศองค์หนึ่ง ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต.

44 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2011พ.ศ. 2093พ.ศ. 2107พ.ศ. 2267พ.ศ. 2354พ.ศ. 2404พ.ศ. 2416พ.ศ. 2520พระบรมสารีริกธาตุพระบรมธาตุพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรพระพุทธรัตนสถานพระพุทธรูปพระราชวังดุสิตพระวิศวกรรมพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราชพระอรหันต์พระที่นั่งอัมพรสถานพระที่นั่งไพศาลทักษิณพระนางจามเทวีพระเจ้าติโลกราชกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กรุงเทพมะโรงวัดพระศรีรัตนศาสดารามสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชหม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร)หริภุญชัยหลวงพระบางหอพระสุราลัยพิมานอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อาณาจักรละโว้อาณาจักรล้านนาอุโบสถจังหวัดสระบุรีจำปาศักดิ์จุลศักราชปางสมาธิเวียงจันทน์

พ.ศ. 2011

ทธศักราช 2011 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพ.ศ. 2011 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2093

ทธศักราช 2093 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพ.ศ. 2093 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2107

ทธศักราช 2107 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพ.ศ. 2107 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2267

ทธศักราช 2267 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพ.ศ. 2267 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2354

ทธศักราช 2354 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพ.ศ. 2354 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2404

ทธศักราช 2404 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1861.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพ.ศ. 2404 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2416

ทธศักราช 2416 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1873.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพ.ศ. 2416 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมสารีริกธาตุ

ระบรมสารีริกธาตุ สัณฐานเมล็ดข้าวสาร พระบรมสารีริกธาตุ (शरीर; Śarīra) เรียกโดยย่อว่าพระบรมธาตุ คือ พระอัฐิของพระพุทธเจ้า ซึ่งพระองค์ได้ทรงอธิษฐานไว้ก่อนปรินิพพาน ให้คงเหลือไว้หลังจากการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ เพื่อเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธบริษัท พระบรมธาตุมีสองลักษณะคือ พระบรมธาตุที่ไม่แตกกระจาย และที่แตกกระจาย มีขนาดเล็กสุดประมาณเมล็ดพันธุ์ผักกาด ชาวพุทธเชื่อว่าพระบรมสารีริกธาตุเป็นวัตถุแทนองค์พระบรมศาสดาที่ทรงคุณค่าสูงสุดในศาสนาพุทธ จึงนิยมกระทำการบูชาองค์พระบรมสารีริกธาตุโดยประการต่าง ๆ เช่น การสร้างเจดีย์ เพื่อประดิษฐานพระธาตุไว้สักการะ โดยเชื่อว่ามีอานิสงส์ประดุจได้กระทำการบูชาแด่พระพุทธเจ้าเมื่อยังทรงพระชนม์อยู่ ทั้งนี้ คำว่า "พระบรมสารีริกธาตุ" เป็นศัพท์เฉพาะใช้เรียกเฉพาะพระธาตุของพระพุทธเจ้า หากเป็นของพระอรหันตสาวกจะเรียกว่า "พระธาตุ" เท่านั้น.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระบรมสารีริกธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมธาตุ

ระบรมธาตุ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระบรมธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 - สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น. (สี่ทุ่มครึ่ง) ตรงกับวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 เสวยราชสมบัติเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอก ซึ่งตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 สิริดำรงราชสมบัติได้ 27 ปี ทรงมีเจ้าจอมมารดาและเจ้าจอม 56 ท่าน มีพระราชโอรสธิดาทั้งสิ้น 51 พระองค์ เสด็จสวรรคตเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 1 ค่ำ ปีกุน โทศก จุลศักราช 1212 เวลา 7 ทุ่ม 5 บาท ตรงกับวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 สิริพระชนมายุ 64 พรรษ.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร

ระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือ พระแก้วมรกต เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของประเทศไทย ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม (หรือ วัดพระแก้ว) ในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระแก้วมรกตเป็นพระพุทธรูปที่แกะสลักจากหยกอ่อนเนไฟรต์สีเขียวดังมรกต เป็นพระพุทธรูปสกุลศิลปะก่อนเชียงแสนถึงศิลปะเชียงแสน หลักฐานที่ตรงกันระบุว่าพบครั้งแรก ประดิษฐานอยู่ในเจดีย์วัดป่าญะ ตำบลเวียง เมืองเชียงราย (ปัจจุบันคือวัดพระแก้ว เชียงราย อำเภอเมืองเชียงราย) ในปี พ.ศ. 1977 (หรือ ค.ศ. 1434) ฟ้าได้ผ่าลงองค์พระเจดีย์จนพังทลายลง จึงพบพระพุทธรูปพอกปูนลงรักปิดทอง จึงได้นำไปไว้ในวิหาร ต่อมาปูนบริเวณพระนาสิกเกิดกระเทาะออก เห็นเป็นเนื้อมรกต จึงกระเทาะปูนออกทั้งองค์ เห็นเป็นเนื้อหยกสีมรกตทั้งองค์ หลังจากนั้น พระเจ้าสามฝั่งแกนแห่งเชียงใหม่ทราบข่าวการค้นพบพระพุทธรูปนี้ จึงเชิญมาประดิษฐานที่เชียงใหม่ แต่ช้างทรงพระแก้วมรกตกลับไม่เดินทางไปยังเชียงใหม่ แต่ไปทางลำปางหากช้างนั้นมีพระแก้วมรกตอยู่บนหลังช้าง เชียงใหม่เห็นว่าลำปางก็อยู่ในอาณาจักรล้านนาจึงนำไปไว้ที่วัดพระแก้วดอนเต้า ถึงสมัยพระเจ้าติโลกราช ได้เชิญพระแก้วมรกตมายังเชียงใหม่ สร้างปราสาทประดิษฐานไว้แต่ถูกฟ้าผ่าหลายครั้ง ครั้นเมื่อพระเจ้าไชยเชษฐาแห่งล้านช้างซึ่งเป็นญาติกับราชวงศ์ล้านนามาครองเมืองเชียงใหม่ เมื่อพระเจ้าไชยเชษฐาเสด็จกลับหลวงพระบาง ก็เชิญพระแก้วมรกตไปด้วยพร้อมกับพระพุทธสิหิงค์ ทางเชียงใหม่ขอคืนก็ได้แต่พระพุทธสิหิงค์ เมื่อล้านช้างย้ายเมืองหลวงจากหลวงพระบางมาเวียงจันทน์ก็เชิญพระแก้วมรกตลงมาด้วย ต่อมาสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงสถาปนากรุงธนบุรีขึ้นเป็นเมืองหลวง พระองค์ได้ทรงอัญเชิญพระแก้วมรกต และพระบาง มาจากอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ (ลาว) ในครั้งนั้นประดิษฐานไว้ที่วัดอรุณราชวราราม ต่อมาเมื่อสิ้นรัชสมัยของพระองค์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงอัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรลงบุษบกในเรือพระที่นั่ง เสด็จข้ามฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา มาประดิษฐานยังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม จนถึงปัจจุบัน ส่วนพระบางได้คืนให้แก่ลาว.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธรัตนสถาน

ระพุทธรัตนสถาน พระพุทธรัตนสถาน เป็นหนึ่งในอาคารบริเวณสวนศิวาลัย ในพระบรมมหาราชวัง เดิมมีฐานะเป็น พระอุโบสถ สำหรับฝ่ายใน (โดยที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม มีพระอุโบสถสำหรับฝ่ายหน้า) มีพระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัย เป็นพระประธาน ภายหลังยุบพัทธสีมาลง และได้อัญเชิญพระพุทธบุษยรัตน์ฯ และพระพุทธรูปอื่นๆ ไปไว้ยังพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระพุทธรัตนสถาน · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธรูป

ระพุทธรูป หมายถึง รูปที่สร้างขึ้นแทนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อกราบไหว้บูชา อาจใช้การแกะสลักจากวัสดุต่างๆ เช่น ศิลา งา ไม้ หรือวัสดุอื่นๆ นอกจากนี้ยังอาจใช้การปั้นหรือหล่อด้วยโลหะก็ได้ โดยทั่วไป คำว่า พระพุทธรูปมักจะหมายถึง รูปขนาดใหญ่พอที่จะวางบูชาได้ สำหรับรูปขนาดเล็กมักจะเรียกว่า พระเครื่อง อย่างไรก็ตาม ทั้งสองแบบสามารถเรียกว่า พระพุทธรูป ได้เช่นกัน.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระพุทธรูป · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังดุสิต

ระราชวังดุสิต ตั้งอยู่ที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นที่เสด็จประทับชั่วคราว เนื่องจากภายในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งเป็นพระราชนิเวศน์ที่ประทับนั้น ประกอบด้วย พระราชมณเฑียร หมู่พระตำหนัก หมู่เรือนในเขตพระราชฐานชั้นใน และหมู่เรือนข้าราชบริพาร ปลูกสร้างอยู่กันอย่างแออัด ปิดทางลม ทำให้ที่ประทับร้อนจัด ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตลอดทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ทรงพระประชวรกันเสมอ ต่อมา จึงสร้างขึ้นเพื่อเป็นพระราชวังที่ประทับถาวรจนตลอดรัชกาล โดยได้สร้างแล้วเสร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระราชวังดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

พระวิศวกรรม

ระวิศวกรรม หรือเรียกได้อีกหลายชื่อว่า พระวิษณุกรรม, พระวิสสุกรรม, พระเวสสุกรรม หรือ พระเพชรฉลูกรรม เป็น เทวดานายช่างใหญ่ของพระอินทร์ ตามตำนานกล่าวว่า เป็นผู้สร้างเครื่องมือ สิ่งของต่าง ๆ ให้เกิดขึ้น และเป็นแบบอย่างให้กับมนุษย์สืบมา พระวิศวกรรมรับเทวโองการต่าง ๆจากพระอินทร์ เพื่อสร้าง อุปกรณ์ สิ่งของ อาคาร ต่าง ๆ มากมาย เป็นผู้นำวิชาช่าง มาสอนแก่มนุษย์ นับแต่นั้นมามนุษย์จึงรู้จักการสร้างและใช้งานสิ่งของต่าง ๆ จนมีการพัฒนารูปแบบมาจนถึงปัจจุบันนี้ ช่างไทยแขนงต่าง ๆ ให้ความเคารพบูชาพระวิศวกรรมในฐานะครูช่าง หรือเทพแห่งวิศวกรรมของไทย โดยเรามักพบเห็นรูปจำลององค์ท่านได้บ่อย ๆ ตามสถานศึกษาทางช่างทุกสถาบัน โดยนิยมสร้างอยู่สองท่า คือ ท่าประทับนั่งห้อยพระบาท พระหัตถ์ข้างหนึ่งถือ ผึ่ง (จอบสำหรับขุดไม้) และอีกข้างถือ ดิ่ง และท่าประทับยืนมือขวาถือไม้เมตรหรือไม้วา มือซ้ายถือลูกดิ่งและไม้ฉาก ที่มาขององค์พระวิษณุกรรมทั้ง 2 ท่านี้ พอขยายความได้ว่า หากสถาบันใดเปิดสอนวิชาชีพช่างก่อสร้าง มักอยู่ในท่ายืนมือถือลูกดิ่งและไม้เมตรหรือไม้วาอันเป็นเครื่องมือของช่างก่อสร้างมาแต่สมัยโบราณซึ่งช่างทั้งหลายทราบดีว่าเป็นเครื่องมือสำหรับวัดระยะ วัดความเที่ยงตรง แต่สิ่งที่นอกเหนือไปจากนั้นยังแฝงไปด้วยปรัชญาในการดำเนินชีวิต คือความแม่นยำ เที่ยงตรง ไม่เอนเอียงในทางปฏิบัติ ซึ่งเป็นที่มาของช่างที่ดี คือความมีคุณธรรมประจำใจ หากสถาบันใดเปิดสอนวิชาชีพสาขาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ช่างก่อสร้างอยู่ด้วย มักจะใช้ท่านั่ง เข้าใจว่าผู้สร้างคงจะชี้ให้เห็นเด่นชัดถึงสถาบันผู้ผลิตช่างก่อสร้าง อันเป็นช่างเก่าแก่มีมาแต่ก่อนแล้ว.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระวิศวกรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช

'''"ธาตุหลวงเฒ่า"''' เจดีย์บรรจุอัฐิธาตุของพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช (ท้าวฝ่ายหน้า หรือ เจ้าหน้า) เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์ลำดับที่ 3 ที่วัดเหนือในเมืองเก่าคันเกิง แขวงจำปาศักดิ์ ประเทศลาว เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช (เรียกกันทั่วไปในเอกสารต่างๆ ว่า "พระวิไชยราชขัติยวงศา") เป็นเจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์ ลำดับที่ 3 (พ.ศ. 2335 - 2354).

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช · ดูเพิ่มเติม »

พระอรหันต์

ในศาสนาพุทธ พระอรหันต์ (พระ-อะ-ระ-หัน; arahant; अर्हत् arhat) คือ พระอริยบุคคลชั้นสูงสุด สามารถละสังโยชน์ได้ครบ 10 ประการ.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระอรหันต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งอัมพรสถาน

ระที่นั่งอัมพรสถาน ก่อนการบูรณะ พระที่นั่งอัมพรสถาน เป็นพระที่นั่งองค์หนึ่งในพระราชวังดุสิต ปัจจุบันเป็นที่ประทับของ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระที่นั่งอัมพรสถาน · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งไพศาลทักษิณ

ระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในรัชสมัยรัชกาลที่ 1 เป็นส่วนหนึ่งของพระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน รัชกาลที่ 1 ประทับทรงพระสำราญ เสวยพระกระยาหาร และประกอบพระราชานุกิจ บางโอกาสโปรดเกล้าฯให้ พระบรมวงศ์ ข้าราชบริพารชั้นผู้ใหญ่เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท และบำเพ็ญพระราชกุศลภายใน แม้เมื่อปลายรัชกาลทรงพระประชวรได้ประทับบรรทมที่พระที่นั่งองค์นี้ ตลอดทรงว่าราชการ โดยให้ข้าราชการเข้าเฝ้าอยู่ที่ชานชาลา ข้างพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน และเสด็จสวรรคตที่พระที่นั่งองค์นี้ รัชกาลที่ 2 ทรงตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ณ พระที่นั่งองค์นี้ อันเป็นพระราชพิธีสืบมาจวบจนปัจจุบันว่า พระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีทุกพระองค์ ณ พระที่นั่งองค์นี้ และยังทรงตั้งพระที่นั่งอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์และพระที่นั่งภัทรบิฐ อันเป็นพระที่นั่งสำหรับพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณี รัชกาลที่ 4 ทรงสร้างเทวรูปเพื่อปกปักษ์รักษา กรุงรัตนโกสินทร์ พระราชทานนามว่า "พระสยามเทวาธิราช" ประดิษฐานไว้ในพระวิมานซุ้มเรือนแก้วกลางผนังด้านทิศเหนือ เป็นปูชนียวัตถสำคัญคู่บ้านคู่เมือง ลักษณะเป็นอาคารทรงไทยก่ออิฐถือปูน ผนังภายนอกฉาบปูนเรียบทาสีขาว ตั้งอยู่ระหว่างท้องพระโรงหน้าพระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน และพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน ลักษณะเป็นพระที่นั่งโถงยาว 11 ห้อง (ช่วงเสา) ทอดยาวจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ยกพื้นสูงสองเมตร ด้านที่ติดต่อกับท้องพระโรงหน้าเป็นคูหาเปิดโล่ง มีอัฒจันทร์ทางขึ้นลงตอนกลาง และที่เฉลียงชั้นลดของสองปีก ด้านที่เชื่อมกับพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน มีผนังกั้น มีประตูตรงกลางเรียกว่า "พระทวารเทวราชมเหศวร" เป็นทางเฉพาะของพระมหากษัตริย์สำหรับเสด็จ สองข้างมีพระทวารเทวราชมเหศวร มีพระบัญชร 10 ช่อง เฉพาะด้านที่เปิดออกสู่พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน และลานภายนอกประดับเป็นซุ้มบันแถลง นอกนั้นเป็นเรือนแก้วลายดอกเบญจมาศ หลังคามุงกระเบื้องดินเผาเคลือบสี ประดับช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ นาคสะดุ้ง ปิดทองประดับกระจกสีทอง หน้าบันจำหลักไม้ รูปสมเด็จพระอมรินทราธิราชประทับในวิมานปราสาทสามยอด พื้นกระจกสีน้ำเงินประกอบลายก้านขดหัวนาค ผนังด้านทิศตะวันออก มีพระทวารเสด็จฯ ออกไปยังหอพระสุราลัยพิมาน ช่วงบนเขียนภาพเทพเจ้าสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ 32 องค์ ช่วงล่างระหว่างพระทวารเขียนภาพพระนารายณ์ปางต่าง ๆ ผนังด้านทิศตะวันตก มีพระทวารเสด็จออกไปยังหอพระธาตุมณเฑียร ช่วงบนเขียนภาพเทพชุมนุม เหล่าเทวดาบนวิมาน ช่วงล่างเขียนภาพพระนารายณ์ปางต่าง ๆ หน้าพระทวารประดิษฐานพระที่นั่งภัทรบิฐ พระราชอาสน์ทอดอยู่ภายใต้นพปฎลมหาเศวตฉัตร กลางผนังด้านทิศเหนือ เป็นพระวิมานสำหรับ พระสยามเทวาธิราช ประดิษฐานอยู่ภายใต้ซุ้มเรือนแก้ว เบื้องหน้าตั้งโต๊ะหมู่บูชาแบบจีนพร้อมเครื่องสักการบู.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระที่นั่งไพศาลทักษิณ · ดูเพิ่มเติม »

พระนางจามเทวี

ระนางจามเทวี เป็นสตรีซึ่งปรากฏพระนามในเอกสารต่างๆ ซึ่งระบุว่าทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรหริภุญชัย อันเป็นอาณาจักรโบราณในภาคเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน ตำนานต่างๆ ที่กล่าวถึงพระองค์ระบุศักราชไว้ไม่ตรงกัน ปรากฏบันทึกและการสอบศักราชโดยบุคคลต่างๆ เช่น (คัดจากหนังสือ วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญา จังหวัดลำพูน พ.ศ. 2544).

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระนางจามเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าติโลกราช

ระเจ้าติโลกราช (120px) (พ.ศ. 1952 – พ.ศ. 2030) พระมหากษัตริย์ล้านนาแห่งราชวงศ์มังรายพระองค์ที่ 9 ครองราชย์ พ.ศ. 1985 – พ.ศ. 2030 พระนามเดิมคือ "เจ้าลก" เนื่องจากเป็นพระโอรสองค์ที่ 6 ในพญาสามฝั่งแกน (ลก ในภาษาไทเดิม มีความหมายว่า ลำดับที่ 6) ร่วมรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรุงศรีอ.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและพระเจ้าติโลกราช · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพ

กรุงเทพ อาจหมายถึง; ดินแดนและการปกครอง.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

มะโรง

right มะโรง เป็นชื่อปีที่ 5 ของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นงูใหญ่ พุทธศักราชที่ตรงกับปีมะโรง เช่น พ.ศ. 2507 พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2531 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2567 พ.ศ. 2579 และ พ.ศ. 2591 เป็นต้น โดยวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดรอบปีนักษัตรไม่แน่นอนเมื่อเทียบกับปฏิทินสากล และนับต่างกันระหว่างแบบจีนกับแบบไทย มีสีประจำปีคือสีแดงและสีม่วง เป็นปีธาตุไม้ และมีทิศประจำปีคือทิศตะวันออกกับทิศตะวันออกเฉียงใต้ หมวดหมู่:ปีนักษัตร หมวดหมู่:ปฏิทิน.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและมะโรง · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า วัดพระแก้ว เป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นในพ.ศ. 2325 เป็นวัดในพระบรมมหาราชวังเช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ ซึ่งเป็นวัดในพระราชวังหลวงในสมัยอยุธยา และมีพระราชประสงค์ให้วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือพระแก้วมรกต พระคู่บ้านคู่เมืองของแผ่นดินสยามที่พบ ณ วัดป่าเยี้ยะ(ป่าไผ่) จังหวัดเชียงราย และเป็นสถานที่ทรงบำเพ็ญพระราชกุศล วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นวัดที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษาอยู่ เพราะมีแต่ส่วนพุทธาวาสไม่มีส่วนสังฆาว.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและวัดพระศรีรัตนศาสดาราม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช

ระอุปภัยพุทธบวรไชยเชษฐาธิราช หรือที่รู้จักกันดีในพระนาม สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช (ໄຊເສດຖາ, ເສດຖາທິຣາດ; 80px) ถือเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งของชาติลาว ทรงเป็นผู้นำแห่งอาณาจักรล้านช้าง ผู้สถาปนากรุงเวียงจันทน์ให้เป็นศูนย์กลางอารยธรรม และเป็นศูนย์รวมศิลปะวัฒนธรรมต่าง ๆ ของอาณาจักรล้านช้างเข้าไว้ด้วยกัน ประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าพระองค์เป็นพระญาติหรือพระนัดดาในพระนางจิรประภาเทวีเจ้านางหลวงแห่งอาณาจักรล้านนา ในรัชสมัยพระยาโพธิสาลราช (พ.ศ. 2063-2090) พระองค์เป็นผู้เคร่งครัดทางศาสนาพุทธเป็นอย่างยิ่ง ได้มีพระราชโองการให้พลเมืองเลิกนับถือผีสางเทวดา เลิกการทรงเจ้าเข้าผีทั่วพระราชอาณาจักร ให้รื้อศาลหลวง ศาลเจ้าผีเสื้อเมืองทรงเมือง และให้หันมานับถือพระพุทธศาสนาแทน ทรงสร้างวัดสุวรรณเทวโลกเพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งพระพุทธศาสนา แต่เนื่องจากประเพณีการนับถือผีนั้นมีมาช้านาน และได้ฝังเข้าไปในจิตใจของประชาชนทั่วไป จึงยากที่จะเลิกอย่างเด็ดขาดได้ ครั้นต่อมาทางอาณาจักรล้านนาว่างกษัตริย์ปกครอง จึงได้อัญเชิญเจ้าไชยเชษโฐหรือเชษฐวังโส พระโอรสของพระเจ้าโพธิสาร ไปครองนครล้านนา เมื่อปี..

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร)

หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร) เป็นอดีตข้าราชการในกระทรวงมหาดไทยสมัยรัชกาลที่ 5 และเป็นผู้แต่งหนังสือพงศาวดารหัวเมืองมณฑลอีสาน ซึ่งเป็นเอกสารสำคัญในการศึกษาเรื่องราวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและหม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร) · ดูเพิ่มเติม »

หริภุญชัย

หริภุญชัย อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและหริภุญชัย · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพระบาง

หลวงพระบาง (ຫຼວງພຣະບາງ) เป็นเมืองเอกของแขวงหลวงพระบาง ประเทศลาว อยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ตัวเมืองตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขงและแม่น้ำคาน ซึ่งไหลมาบรรจบกันบริเวณนั้นเรียกว่า ปากคาน เป็นเมืองที่องค์การยูเนสโกได้ยกย่องให้เป็นมรดกโลกด้ว.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและหลวงพระบาง · ดูเพิ่มเติม »

หอพระสุราลัยพิมาน

ในหอพระสุราลัยพิมาน ภายนอกหอพระสุราลัยพิมาน.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและหอพระสุราลัยพิมาน · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรละโว้

อาณาจักรละโว้ บ้างเรียก ลวรัฐ หรือ ละโว้โยทิยา เป็นอาณาจักรโบราณในมณฑลอำนาจแห่งหนึ่งในอดีต ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายของลุ่มน้ำเจ้าพระยา สถาปนาขึ้นราวปลายยุคทวารวดี แรกเริ่มมีศูนย์กลางอำนาจอยู่ที่ลวปุระ (ปัจจุบันคือเมืองลพบุรี) ต่อมาย้ายไปที่อโยธยา (ปัจจุบันคือเทศบาลเมืองอโยธยา) ซึ่งต่อมาได้ถูกสถาปนาเป็นอาณาจักรอ.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและอาณาจักรละโว้ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านนา

อาณาจักรล้านนา (95px) คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก ฝั่งตะวันตกแม่นำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอนสรัสวดี อ๋องสกุล.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและอาณาจักรล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

อุโบสถ

อุโบสถ (อ่านว่า อุ-โบ-สด) ถือเป็นอาคารที่สำคัญภายในวัดเนื่องจากเป็นสถานที่ที่พระภิกษุสงฆ์ใช้ทำ สังฆกรรมซึ่งแต่เดิมในการทำสังฆกรรมของ พระภิกษุสงฆ์จะ ใช้เพียงพื้นที่โล่ง ๆ ที่กำหนดขอบเขตพื้นที่สังฆกรรมโดยการกำหนดตำแหน่ง“สีมา” เท่านั้น แต่ในปัจจุบันจากการมีผู้บวชมากขึ้น อีกทั้งภายใน พระอุโบสถมักประดิษฐานพระประธานที่เป็นพระพุทธรูปองค์สำคัญ ๆ ทำให้มีผู้มาสักการบูชาและร่วมทำบุญเป็นจำนวนมาก พระอุโบสถจึงถูกสร้าง ขึ้นเป็นอาคารถาวรและมักมี การประดับตกแต่งอย่างสวยงาม และยังมีอีกมีหลายความหมาย คือ หมายถึง.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและอุโบสถ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสระบุรี

ังหวัดสระบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของภาคกลาง นับเป็นเสมือนด่านผ่านระหว่างภาคกลางกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายทั้งทางประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมลำดับต้น ๆ ของประเทศไทย สภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรี นับว่าเป็นทำเลแห่งการเพาะปลูก ได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้ำสายหลัก คือแม่น้ำป่าสัก และสภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและจังหวัดสระบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จำปาศักดิ์

ำปาศักดิ์ เป็นเมืองหนึ่งของแขวงจำปาศักดิ์ ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศลาว.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและจำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จุลศักราช

ลศักราช (จ.ศ.; Culāsakaraj; ကောဇာသက္ကရာဇ်; ចុល្លសករាជ) เป็นศักราชที่เริ่มเมื่อ พ.ศ. 1181 (ค.ศ. 638) นับรอบปีตั้งแต่ 16 เมษายน ถึง 15 เมษายน เดิมเข้าใจกันว่าเป็นศักราชของพม่า ปรากฏอยู่ตามตำราโหราศาสตร์ แต่ทว่าปีที่ตั้งจุลศักราชนั้นเป็นเวลาก่อนปีที่พระเจ้าอโนรธามังช่อจะประสูติ สันนิษฐานว่าน่าจะตั้งขึ้นในปีที่กษัตริย์ปยูขึ้นครองราชย์ และใช้สืบต่อมาจนถึงอาณาจักรพุกามAung-Thwin 2005: 35 เมื่อสมัยอาณาจักรอโยธยารับศักราชนี้ไปใช้ เลยเกิดความเชื่อกันว่าเป็นศักราชของชาวพม่า จุลศักราชถูกนำมาใช้แพร่หลายทั้งในอาณาจักรล้านนา อาณาจักรสุโขทัยสมัยหลัง และอาณาจักรอยุธยา ในสมัยของพระเจ้าปราสาททอง ทรงตัดปีจุลศักราช และใช้ปีศักราชจุฬามณีแทน เป็นผลทำให้ปีนักษัตรคลาดเคลื่อนไปสามปี ต่อมาจึงได้เปลี่ยนกลับไปใช้ปีจุลศักราชตามเดิม และตกทอดมาถึงปัจจุบัน การคำนวณปี..

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและจุลศักราช · ดูเพิ่มเติม »

ปางสมาธิ

ระพุทธรูปปางสมาธิ ที่เป็นพระพุทธรูปประจำพระชนมวารรัชกาลที่ 4 พระพุทธเทวปฏิมากร วัดพระเชตุพนฯ กรุงเทพ พระพุทธรูปปางสมาธิ (ปางตรัสรู้) ปางสมาธิ เป็นพระพุทธรูปลักษณะนั่งสมาธิ นั่งลำพระองค์ตั้งตรงพระบาท (เท้า) ทั้งสองซ้อนกัน โดยพระบาทขวาซ้อนทับอยู่บนพระบาทซ้าย พระหัตถ์ทั้งสองวางซ้อนหงายกันบนพระเพลา (ตัก) โดยวางพระหัตถ์ขวาซ้อนหงายอยู่บนพระหัตถ์ซ้าย (ท่าสมาธิราบ ขาขวาทับขาซ้าย) จัดเป็น "ปฐมปาง" หรือปางที่ให้กำเนิดองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ด้วยพระองค์ทรงอยู่ในพระอิริยาบถนี้ในคืนวันตรัสรู้ เรียกได้อีกอย่างว่าปางตรัสรู้ หรือเป็นพระพุทธรูปในอิริยาบถประทับนั่งสมาธิโดยใช้ข้อพระบาททั้งสองข้างขัดกันซึ่งเรียกว่า (ปางขัดสมาธิเพชร).

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและปางสมาธิ · ดูเพิ่มเติม »

เวียงจันทน์

วียงจันทน์ (ວຽງຈັນ) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลาว อยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ในพิกัด 17°58' เหนือ, 102°36' ตะวันออก (17.9667, 102.6) ประชากรในตัวเมืองมีประมาณ 200,000 คน (ค.ศ. 2005) แต่ประชากรทั้งหมดที่อาศัยในนครหลวงเวียงจันทน์ เชื่อว่ามีอยู่ถึงกว่า 730,000 คน เวียงจันทน์มีชื่อที่ตั้งในรัชสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ว่า กรุงศรีสัตนาคคนหุต วิสุทธิ์รัตนราชธานีบุรีรม.

ใหม่!!: พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยและเวียงจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พระพุทธบุษยรัตนจักรพรรดิพิมลมณีมัยพระพุทธบุษยรัตน์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »