โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระธรรมโกศาจารย์

ดัชนี พระธรรมโกศาจารย์

ระธรรมโกศาจารย์ เป็นสมณศักดิ์สำหรับพระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิก.

28 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)พระพิมลธรรมพระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารี)พระรัตนธัชมุนีพระรัตนธัชมุนี (ม่วง รตนทฺธโช)พระราชาคณะชั้นธรรมพระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี)พระสาสนโสภณพระธรรมวโรดมพระธรรมวโรดม (เซ่ง อุตฺตโม)พระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม)พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)มหานิกายวัดชลประทานรังสฤษฎ์วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารวัดราชาธิวาสราชวรวิหารวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารวัดประยุรวงศาวาสวรวิหารวัดโสมนัสราชวรวิหารวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารสมณศักดิ์สมเด็จพระมหาวีรวงศ์สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ยัง เขมาภิรโต)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)สังฆราช

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)

ระพรหมบัณฑิต ศาสตราจารย์ ดร. นามเดิม ประยูร มีฤกษ์ ฉายา ธมฺมจิตฺโต เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองชั้นหิรัญบัฏ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยรูปปัจจุบัน เจ้าคณะภาค 2 และกรรมการมหาเถรสมาคม พระพรหมบัณฑิต เป็นพระนักวิชาการ นักบริหาร นักการศึกษา นักเทศน์และนักเขียน ผู้มีผลงานมากมายทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เป็นพระสงฆ์ไทยรูปแรกที่ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัย ได้รับรางวัลและดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากหลายสถาบัน และเป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาปรัชญา ในฐานะเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสได้บูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุมหาเจดีย์ของวัดจนได้รับรางวัลยอดเยี่ยม อันดับ 1 ด้านการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรรมจากองค์การยูเนสโก เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 5 สมัยได้ก่อสร้างสำนักงานใหญ่ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นประธานผู้ก่อตั้งสมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติและประธานผู้ก่อตั้งสภาสากลวันวิสาขบูชาโลกที่ได้รับฐานะเป็นองค์กรที่ปรึกษาพิเศษขององค์การสหประชาชาต.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และพระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)

ระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร) (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2550) หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ ท่านเป็นที่รู้จักในฐานะพระสงฆ์ผู้ปฏิรูปแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทย ผู้เป็นสหธรรมิกร่วมอุดมการณ์คนสำคัญของพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปัญโญ) และผู้อุทิศชีวิตให้กับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาจนวาระสุดท้ายของชีวิต.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และพระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระพิมลธรรม

ระพิมลธรรม เป็นราชทินนามสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่ง ในสมัยหลัง ๆ ได้พระราชทานเฉพาะพระภิกษุฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันไม่มีพระราชาคณะรูปใดได้รับราชทินนามนี้.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และพระพิมลธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารี)

ระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารี) ราชบัณฑิต อดีตเจ้าอาวาสวัดราษฎร์บำรุง เจ้าคณะจังหวัดชลบุรี เจ้าคณะตรวจการภาค 9 และ 2 และแม่กองธรรมสนามหลวง และเป็นผู้ริเริ่มให้มีวันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาอีกวันหนึ่งในประเทศไท.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และพระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารี) · ดูเพิ่มเติม »

พระรัตนธัชมุนี

ระรัตนธัชมุนี เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะชั้นธรรมฝ่ายธรรมยุติกนิกาย สำหรับพระเถระที่มาจากภาคใต้ ปัจจุบันไม่มีผู้ได้รับสมณศักดิ์นี้.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และพระรัตนธัชมุนี · ดูเพิ่มเติม »

พระรัตนธัชมุนี (ม่วง รตนทฺธโช)

ระรัตนธัชมุนี นามเดิม ม่วง ฉายา รตนทฺธโช เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมฝ่ายธรรมยุติกนิกาย เจ้าอาวาสรูปที่ 7 ของวัดท่าโพธิ์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดการศึกษาในภาคใต้ โดยก่อตั้งและร่วมก่อตั้งโรงเรียนขึ้น 21 แห่ง รวมทั้งโรงเรียนเบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมร.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และพระรัตนธัชมุนี (ม่วง รตนทฺธโช) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชาคณะชั้นธรรม

ระราชาคณะชั้นธรรม เป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์รองลงมาจากพระราชาคณะเจ้าคณะรอง และสูงกว่าพระราชาคณะชั้นเท.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และพระราชาคณะชั้นธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี)

ระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี) อดีตเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหารและวัดราชผาติการามวรวิหาร และดำรงตำแหน่งสำคัญอีกหลายตำแหน่งในคณะสงฆ์ไทย เช่น สมาชิกสังฆสภา สังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การปกครอง เจ้าคณะภาค 7-8-9 (ธรรมยุต) เป็นต้น ในปี..

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และพระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี) · ดูเพิ่มเติม »

พระสาสนโสภณ

ระสาสนโสภณ หรือ พระศาสนโศภน เป็นราชทินนามสมณศักดิ์ชั้นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และพระสาสนโสภณ · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมวโรดม

ระธรรมวโรดม เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิก.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และพระธรรมวโรดม · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมวโรดม (เซ่ง อุตฺตโม)

ระธรรมวโรดม นามเดิม เซ่ง ฉายา อุตฺตโม เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ดำรงสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองคณะใต้ อดีตเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และพระธรรมวโรดม (เซ่ง อุตฺตโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม)

ระธรรมโกศาจารย์ นามเดิม องอาจ ชุมแสง ฉายา ตธมฺโม เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดขันเงินและที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 16 เป็นศิษย์พระราชญาณกวี (บุญชวน เขมาภิรโต) สหายร่วมอุทรธรรมของพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ) และพระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร).

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และพระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)

ระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปญฺโญ) หรือรู้จักในนาม พุทธทาสภิกขุ (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นชาวอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2449 เริ่มบวชเรียนเมื่ออายุได้ 20 ปี ที่วัดบ้านเกิด จากนั้นได้เข้ามาศึกษาพระธรรมวินัยต่อที่กรุงเทพมหานคร จนสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค แต่แล้วท่านพุทธทาสภิกขุก็พบว่าสังคมพระพุทธศาสนาแบบที่เป็นอยู่ในขณะนั้นแปดเปื้อนเบือนบิดไปมาก และไม่อาจทำให้เข้าถึงหัวใจของศาสนาพุทธได้เลย ท่านจึงตัดสินใจหันหลังกลับมาปฏิบัติธรรมที่อำเภอไชยา ซึ่งเป็นภูมิลำเนาเดิมของท่านอีกครั้ง พร้อมปวารณาตนเองเป็น พุทธทาส เนื่องจากต้องการถวายตัวรับใช้พระพุทธศาสนาให้ถึงที่สุด ผลงานเด่นของทาสพุทธทาสคืองานหนังสือ อาทิ หนังสือพุทธธรรม, ตามรอยพระอรหันต์ และคู่มือมนุษย์ และเป็นสงฆ์ไทยรูปแรกที่บุกเบิกการใช้โสตทัศนูปกรณ์สมัยใหม่สำหรับการเผยแพร่ธรรมะ และท่านมีสหายธรรมคนสำคัญ คือ ปัญญานันทภิกขุ วัดชลประทานรังสฤษฎ์ และท่าน..

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

มหานิกาย

มหานิกาย เป็นคำเรียกนิกาย หรือคณะของพระสงฆ์ไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทย เป็นฝ่ายคันถธุระ เดิมนั้น คำเรียกแบ่งแยกพระสงฆ์สายเถรวาทในประเทศไทยออกเป็นมหานิกายและธรรมยุติกนิกายยังไม่มี เนื่องจากคณะพระสงฆ์ไทยในสมัยโบราณ ก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งคณะธรรมยุตขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ไม่มีการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่พระสงฆ์ไทยนั้นล้วนแต่เป็นเถรวาทสายลังกาวงศ์ทั้งสิ้น จนเมื่อพระวชิรญาณเถระ หรือเจ้าฟ้ามงกุฏ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4) ได้ก่อตั้งนิกายธรรมยุตขึ้นในปี พ.ศ. 2376 แยกออกจากคณะพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่เดิมซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในสมัยนั้น จึงทำให้พระองค์คิดคำเรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทยที่เป็นสายเถรวาทลังกาวงศ์เดิมว่า พระส่วนมาก หรือ มหานิกาย ซึ่งคำ มหานิกาย นั้น มาจากธาตุศัพท์ภาษาบาลี มหนฺต + นิกาย แปลว่าพวกมาก กล่าวโดยสรุป มหานิกายก็คือ พระสงฆ์สายเถรวาทลังกาวงศ์ดั้งเดิมในประเทศไทยส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่พระสงฆ์ธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และมหานิกาย · ดูเพิ่มเติม »

วัดชลประทานรังสฤษฎ์

วัดชลประทานรังสฤษดิ์ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนติวานนท์ ตำบลบางตลาด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มีพระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปญฺญานนฺโท) (ปัญญานันทภิกขุ) เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และวัดชลประทานรังสฤษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร

วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 50 ถนนรักษ์นรกิจ หมู่ 3 ตำบลเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี พระบรมธาตุไชยาเป็นสถานที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า นับเป็นปูชนียสถานสำคัญคู่บ้านคู่เมือง ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี และเป็นหนึ่งในสามของ โบราณสถานอันศักดิ์สิทธิ์ที่เคารพบูชาของภาคใต้ ได้แก่ พระบรมธาตุไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เจดีย์พระมหาธาตุวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช และพระพุทธไสยาสน์ในถ้ำคูหาภิมุข บริเวณวัดคูหาภิมุข จังหวัดยะลา วัดพระบรมธาตุไชยา เป็นที่ตั้งของโรงเรียนวัดพระบรมธาตุไชยา โรงเรียนสงฆ์ และ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาต.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และวัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชาธิวาสราชวรวิหาร

วัดราชาธิวาสราชวรวิหาร หรือ วัดราชาธิวาสวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ผูกพัทธสีมาเมื่อ..

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร

วัดสุทัศนเทพวราราม หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า วัดสุทัศน์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ที่มีอยู่เพียงไม่กี่แห่งของประเทศไทย และถือเป็นวัดประจำรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เป็นวัดที่ตั้งอยู่ในเขตพระนครชั้นใน และอยู่มีสิ่งก่อสร้างที่โดดเด่นคือ เสาชิงช้า อยู่บริเวณหน้าวั.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร

วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่ใกล้กับเชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า ฝั่งธนบุรี โดยมีเลขทะเบียนวัดที่ 24 ถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร การบูรณะวัดส่งผลให้วัดได้รับรางวัลยอดเยี่ยม อันดับ 1 (Award of Excellence) ให้โครงการบูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุมหาเจดีย์วัดประยุรวงศาวาส ด้านการอนุรักษ์ทางวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ขององค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก).

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดโสมนัสราชวรวิหาร

วัดโสมนัสวิหารราชวรวิหาร หรือ วัดโสมนัสวิหาร สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใช้ศิลปะสถาปัตยกรรมแบบไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ภายในอุโบสถและพระวิหารมีภาพจิตกรรฝาผนังอันงดงาม มีคลองผดุงกรุงเกษมที่รัชการที่ 4 โปรดให้ขุดขึ้นแล้วเสร็จในปี 2395 ผ่านทางด้านหน้าของพระอุโบสถ ภายในวัดมีเจดีย์ 2 องค์ เจดีย์องค์ใหญ่ซึ่งภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ (เจดีย์ทอง รูปทรงแบบลังกาสีทองเหลืองอร่าม ยอดแหลมสูงเด่นเป็นสง่า สามารถมองเห็นได้ไกลซึ่งเป็นจุดที่นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติแวะเวียนเข้ามาชมความงามและกราบนมัสการกันอยู่มิได้ขาด) และยังมีเจดีย์องค์เล็ก (เจดีย์มอญ) อีกองค์ที่มีลักษณะสวยงามเช่นเดียวกับปรินิพพานสถูปในอินเดีย และหาชมได้ยากเพราะเจดีย์ลักษณะนี้มีเพียง 2 องค์ในประเทศไทย คือ ที่วัดโสมนัสวิหารราชวรวิหาร และที่วัดกันมาตุยาราม อีกองค์หนึ่ง ปัจจุบันมีการสร้างและปรับปรุงอาคารต่างๆ ภายในวัด อาทิเช่น ตึก 150 ปี โรงเรียนพระปริยัติธรรม (ตึกสาลักษณาลัย) ซึ่งเป็นตึกเก่าสร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมหาเสวกโท พระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ) เพื่อเป็นที่ระลึกแก่คุณหญิง (พึ่ง) ศรีภูริปรีชา ศาลาสำนักงานภาค ศาลาสถิต ศาลามุขหน้าวัด ตึก 80 ปีสมเด็จพระวันรัต เป็นต้น นอกจากนั้นยังมี โรงเรียนวัดโสมนัส กองการฌาปนกิจกรมทหารบก สุสานทหาร อยู่ภายในบริเวณวั.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และวัดโสมนัสราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด เดิมชื่อ วัดแหลม หรือ วัดไทรทอง ภายหลังได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใหม่ว่า วัดเบญจบพิตร ซึ่งหมายถึง วัดของเจ้านาย ๕ พระองค์ที่ทรงร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างสวนดุสิตขึ้นพระองค์ทรงทำผาติกรรมสถาปนาวัดขึ้นใหม่และพระราชทานามว่า วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม อันหมายถึง วัดของพระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ ๕.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

สมณศักดิ์

มณศักดิ์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายความว่า ยศพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานมีหลายชั้น แต่ละชั้นมีพัดยศเป็นเครื่องกำหนด อาจกล่าวได้ว่า สมณศักดิ์ คือบรรดาศักดิ์ หรือยศที่พระมหากษัตริย์พระราชทานแก่ภิกษุผู้ประพฤติดี ประพฤติชอบให้ดำรงมั่นอยู่ในสมณเพศ เพื่อเป็นกำลังสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาและเพื่อให้การปกครองคณะสงฆ์เป็นไปโดยเรียบร้อย เพราะการที่พระภิกษุรูปใดได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ย่อมได้รับมอบหมายภาระหน้าที่ในการปกครองหมู่คณะแห่งสงฆ์ไปพร้อมกันด้ว.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และสมณศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์

มเด็จพระมหาวีรวงศ์ เป็นราชทินนามของสมเด็จพระราชาคณะรูปหนึ่งในฝ่ายธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ยัง เขมาภิรโต)

มเด็จพระมหาวีรวงศ์ นามเดิม ยัง ฉายา เขมาภิรโต เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดโสมนัสราชวรวิหาร เจ้าคณะใหญ่ผู้ช่วยคณะธรรมยุติกนิกาย และเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายเหนือ.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ยัง เขมาภิรโต) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม ปลด เกตุทัต ฉายา กิตฺติโสภโณ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 14 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2503 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 2 ปี 1 เดือน 13 วัน สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2505 สิริพระชันษา 73 ปี.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม แพ ฉายา ติสฺสเทโว เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 12 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๕๕, ตอน ๐ ก, ๑๕ พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว) · ดูเพิ่มเติม »

สังฆราช

ังฆราช คือพระมหาเถระผู้เป็นใหญ่สูงสุดในสังฆมณฑล ในแต่ละประเทศ เช่น ประเทศพม่า ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา มักมีพระสังฆราชเป็นของตน พระสังฆราชอาจเป็นประมุขเฉพาะคณะสงฆ์นิกายหนึ่งหรือเป็นประมุขคณะสงฆ์ทั้งปวงทุกนิกายในประเทศนั้น (ซึ่งเรียกว่าสกลมหาสังฆปริณายก) คำว่า สังฆราช เป็นคำสมาสจากคำว่า สงฺฆ (พระสงฆ์) + ราช (พระราชา) ซึ่งแปลว่า พระราชาแห่งคณะสง.

ใหม่!!: พระธรรมโกศาจารย์และสังฆราช · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »