โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระธรรมโกศาจารย์และพระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระธรรมโกศาจารย์และพระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม)

พระธรรมโกศาจารย์ vs. พระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม)

ระธรรมโกศาจารย์ เป็นสมณศักดิ์สำหรับพระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิก. ระธรรมโกศาจารย์ นามเดิม องอาจ ชุมแสง ฉายา ตธมฺโม เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดขันเงินและที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 16 เป็นศิษย์พระราชญาณกวี (บุญชวน เขมาภิรโต) สหายร่วมอุทรธรรมของพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ) และพระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระธรรมโกศาจารย์และพระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม)

พระธรรมโกศาจารย์และพระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม) มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)พระราชาคณะชั้นธรรมพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)มหานิกายสมณศักดิ์

พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)

ระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร) (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2550) หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ ท่านเป็นที่รู้จักในฐานะพระสงฆ์ผู้ปฏิรูปแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทย ผู้เป็นสหธรรมิกร่วมอุดมการณ์คนสำคัญของพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปัญโญ) และผู้อุทิศชีวิตให้กับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาจนวาระสุดท้ายของชีวิต.

พระธรรมโกศาจารย์และพระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร) · พระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม)และพระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชาคณะชั้นธรรม

ระราชาคณะชั้นธรรม เป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์รองลงมาจากพระราชาคณะเจ้าคณะรอง และสูงกว่าพระราชาคณะชั้นเท.

พระธรรมโกศาจารย์และพระราชาคณะชั้นธรรม · พระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม)และพระราชาคณะชั้นธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)

ระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปญฺโญ) หรือรู้จักในนาม พุทธทาสภิกขุ (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นชาวอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2449 เริ่มบวชเรียนเมื่ออายุได้ 20 ปี ที่วัดบ้านเกิด จากนั้นได้เข้ามาศึกษาพระธรรมวินัยต่อที่กรุงเทพมหานคร จนสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค แต่แล้วท่านพุทธทาสภิกขุก็พบว่าสังคมพระพุทธศาสนาแบบที่เป็นอยู่ในขณะนั้นแปดเปื้อนเบือนบิดไปมาก และไม่อาจทำให้เข้าถึงหัวใจของศาสนาพุทธได้เลย ท่านจึงตัดสินใจหันหลังกลับมาปฏิบัติธรรมที่อำเภอไชยา ซึ่งเป็นภูมิลำเนาเดิมของท่านอีกครั้ง พร้อมปวารณาตนเองเป็น พุทธทาส เนื่องจากต้องการถวายตัวรับใช้พระพุทธศาสนาให้ถึงที่สุด ผลงานเด่นของทาสพุทธทาสคืองานหนังสือ อาทิ หนังสือพุทธธรรม, ตามรอยพระอรหันต์ และคู่มือมนุษย์ และเป็นสงฆ์ไทยรูปแรกที่บุกเบิกการใช้โสตทัศนูปกรณ์สมัยใหม่สำหรับการเผยแพร่ธรรมะ และท่านมีสหายธรรมคนสำคัญ คือ ปัญญานันทภิกขุ วัดชลประทานรังสฤษฎ์ และท่าน..

พระธรรมโกศาจารย์และพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ) · พระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม)และพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

มหานิกาย

มหานิกาย เป็นคำเรียกนิกาย หรือคณะของพระสงฆ์ไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทย เป็นฝ่ายคันถธุระ เดิมนั้น คำเรียกแบ่งแยกพระสงฆ์สายเถรวาทในประเทศไทยออกเป็นมหานิกายและธรรมยุติกนิกายยังไม่มี เนื่องจากคณะพระสงฆ์ไทยในสมัยโบราณ ก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งคณะธรรมยุตขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ไม่มีการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่พระสงฆ์ไทยนั้นล้วนแต่เป็นเถรวาทสายลังกาวงศ์ทั้งสิ้น จนเมื่อพระวชิรญาณเถระ หรือเจ้าฟ้ามงกุฏ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4) ได้ก่อตั้งนิกายธรรมยุตขึ้นในปี พ.ศ. 2376 แยกออกจากคณะพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่เดิมซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในสมัยนั้น จึงทำให้พระองค์คิดคำเรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทยที่เป็นสายเถรวาทลังกาวงศ์เดิมว่า พระส่วนมาก หรือ มหานิกาย ซึ่งคำ มหานิกาย นั้น มาจากธาตุศัพท์ภาษาบาลี มหนฺต + นิกาย แปลว่าพวกมาก กล่าวโดยสรุป มหานิกายก็คือ พระสงฆ์สายเถรวาทลังกาวงศ์ดั้งเดิมในประเทศไทยส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่พระสงฆ์ธรรมยุติกนิก.

พระธรรมโกศาจารย์และมหานิกาย · พระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม)และมหานิกาย · ดูเพิ่มเติม »

สมณศักดิ์

มณศักดิ์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายความว่า ยศพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานมีหลายชั้น แต่ละชั้นมีพัดยศเป็นเครื่องกำหนด อาจกล่าวได้ว่า สมณศักดิ์ คือบรรดาศักดิ์ หรือยศที่พระมหากษัตริย์พระราชทานแก่ภิกษุผู้ประพฤติดี ประพฤติชอบให้ดำรงมั่นอยู่ในสมณเพศ เพื่อเป็นกำลังสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาและเพื่อให้การปกครองคณะสงฆ์เป็นไปโดยเรียบร้อย เพราะการที่พระภิกษุรูปใดได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ย่อมได้รับมอบหมายภาระหน้าที่ในการปกครองหมู่คณะแห่งสงฆ์ไปพร้อมกันด้ว.

พระธรรมโกศาจารย์และสมณศักดิ์ · พระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม)และสมณศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระธรรมโกศาจารย์และพระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม)

พระธรรมโกศาจารย์ มี 28 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม) มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 11.36% = 5 / (28 + 16)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระธรรมโกศาจารย์และพระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »