โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2407

ดัชนี พ.ศ. 2407

ทธศักราช 2407 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1864.

22 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2394พ.ศ. 2411พ.ศ. 2462พ.ศ. 2474พ.ศ. 2476พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวกรมพระราชวังบวรสถานมงคลรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงหง ซิ่วเฉฺวียนอนาคาริก ธรรมปาละประเทศจีนเจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 51 มกราคม1 มิถุนายน17 กันยายน20 ตุลาคม21 กันยายน21 เมษายน29 เมษายน9 กรกฎาคม

พ.ศ. 2394

ทธศักราช 2394 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1851 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และพ.ศ. 2394 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2411

ทธศักราช 2411 ตรงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และพ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และพ.ศ. 2462 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และพ.ศ. 2474 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 รองจากพระบรมเชษฐา สูงศักดิ์กว่า "วังหน้า" กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระมหาอุปราช)พระองค์ใดในอดีต เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 เมื่อมีพระชนมายุได้ 43 พรรษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระมหาอุปราช และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมาสมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชแทน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และกรมพระราชวังบวรสถานมงคล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

หง ซิ่วเฉฺวียน

ประติมากรรมรูปหง ซิ่วเฉฺวียน ที่หนานจิงในปัจจุบัน หง ซิ่วเฉฺวียน ผู้นำกบฏไท่ผิงเทียนกั๋ว (太平天國運動) เกิดในครอบครัวชาวนาเชื้อสายจีนแคะ ในหมู่บ้านกวนลู่ผู่ อำเภอฮัวเสี้ยน มณฑลกวางตุ้ง เมื่อปี พ.ศ. 2356 ตรงกับรัชกาลที่ 2 ของไทย ปีระกา หง ซิ่วเฉฺวียนได้ศึกษาตำราขงจื๊อ เพื่อสอบเข้ารับราชการเช่นเดียวกับชายหนุ่มทั่วไปในสมัยนั้น และสอบไล่เป็น ซิ่วไฉ (บัณฑิตระดับต้น) ที่เมืองกวางเจาถึงสามครั้ง ก็ไม่ผ่าน ในการไปสอบ ซิ่วไฉครั้งที่สอง หง ซิ่วเฉฺวียนได้พบกับนักสอนศาสนาชาวตะวันตก และได้รับแจกหนังสือภาษาจีนอธิบายเกี่ยวกับศาสนาคริสต์จากนักสอนศาสนาผู้นั้นมาเล่มหนึ่ง หนังสือนั้นชื่อว่า "สุนทรกถาเพื่อปลุกเร้ายุคสมัย" เขียนโดยชาวจีนชื่อ เหลียง อาฝา เหลียง อาฝาเป็นผู้ช่วยของ โรเบิร์ต มอริสัน มิชชันนารีชาวอังกฤษ ผู้เดินทางมาเผยแพร่นิกายโปรเตสแทนท์ในประเทศจีนเป็นคนแรก หนังสือเล่มนี้ยังไม่มีอิทธิพลต่อหง ซิ่วเฉฺวียน จนเมื่อสอบตกเป็นครั้งที่สาม หง ซิ่วเฉฺวียนล้มป่วยหนักเจียนตายอยู่ 40 วัน ระหว่างป่วยเกิดนิมิตว่า ถูกนำไปยังสถานที่ศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่ง มีแสงสว่างจ้า เขาถูกเปลี่ยนอวัยวะภายใน แล้วถูกนำไปพบกับ ผู้เฒ่าสวมเสื้อคลุมดำ ผู้เฒ่ามอบดาบวิเศษให้เขาเพื่อประหารปีศาจร้ายให้หมดสิ้น และผู้เฒ่านั้นได้ด่าบริภาษขงจื๊อมากมาย ซึ่งเมื่อหายป่วยแล้วหง ซิ่วเฉฺวียนเชื่อว่า ผู้เฒ่านั้นคือพระเจ้าและตัวเขาเองเป็นพระอนุชาของพระเจ้า เป็นพระเชษฐาของพระเยซูคริสต์ และพระผู้เป็นเจ้าได้มอบหมายให้เขากำจัดปีศาจร้ายให้หมด นั่นคือ ราชวงศ์ชิงนั่นเอง หลังจากนั้น หง ซิ่วเฉฺวียนก็ได้เปลี่ยนไปเป็นคนละคน มีคุณลักษณะของผู้นำมากขึ้น เขาหันมาสนใจหนังสือ "สุนทรกถาเพื่อปลุกเร้ายุคสมัย" ของเหลียง อาฝา จนในที่สุด เขาก็สร้างลัทธิความเชื่อแบบของเขาขึ้นมาชุดหนึ่ง ทำการเผยแพร่จนมีผู้คนเชื่อถือตามมากขึ้นเรื่อย ๆ หง ซิ่วเฉฺวียนสร้างลัทธิของเขาว่า พระผู้เป็นเจ้าส่งเขาลงมาโลกมนุษย์พร้อมด้วยดาบเพื่อสังหารปีศาจร้าย คริสต์ศาสนาแต่เดิมเป็นคำสอนทางศาสนาของชาวจีน เคยแพร่หลายมาก่อนลัทธิขงจื๊อ อาณาจักรจีนเดิมเป็นที่ประทับของพระผู้เป็นเจ้า หากแต่ปัจจุบันพวกปีศาจร้ายเข้ามาครองครอง พระผู้เป็นเจ้ามีประกาศิตให้หง ซิ่วเฉฺวียนมาปราบปีศาจร้าย โดยจุดสำคัญคือเรื่องความเสมอภาค ภราดรภาพ ตามอุดมคติของคริสต์ศาสนา ซึ่งเป็นแนวความคิดใหม่ที่โดนใจทาสกสิกรที่ถูกศักดินากดขี่ขูดรีดอย่างทารุณ หง ซิ่วเฉฺวียนไปเผยแพร่ลัทธิในเขตชาวจีนแคะที่ลำบากยากจนตามภูเขาในมณฑลกวางสี และได้สหายร่วมอุดมการณ์สำคัญสี่คนซึ่งก็ล้วนเป็นคนจีนแคะทั้งสิ้น คือ หยาง ซิ่วชิง-คนเผาถ่าน, เซียว เฉากุ้ย-คนตัดฟืน, ซือ ต๋าไค-หนุ่มลูกชายเจ้าที่ดิน และวุ่ย จางฮุย-เจ้าที่ดินและนายทุนเงินกู้ ผู้ออกทุนในการเตรียการลุกขึ้นสู้ถึงหนึ่งแสนตำลึง ทั้งสี่คนนี้ภายหลังเป็นแม่ทัพคนสำคัญของกบฏไท่ผิงเทียนกั๋ว หง ซิ่วเฉฺวียนตระเตรียมฐานที่มั่นของกองทัพไว้แถบภูเขาจื่อจิงซาน มีกำลังพลนับหมื่นคน ทางราชสำนักแมนจูจึงส่งกองทัพไปปราบในช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2393 แต่ก็พ่ายแพ้ และในครั้งนี้มีชนพื้นเมือง เช่น ชาวจ้วง, ชาวม้ง ร่วมกบฏด้วย กองกำลังสมาคมบูชาพระเจ้า (ไป้ส้างตี้หุ้ย) ของหง ซิ่วเฉฺวียนรบชนะกองทัพหลวง ก็เลยประกาศสถาปนา "ไท่ผิงเทียนกั๋ว" (太平天国) (เมืองแมนแดนสันติ) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า "ไท่ผิง" (太平) ซึ่งเป็นสิ่งที่อยู่ในอุดมคติ หง ซิ่วเฉฺวียนสถาปนาตัวเองเป็น "เทียนหวาง "(ราชาแห่งสวรรค์) ประกาศยกเลิกประเพณีเก่า ๆ ที่เป็นการลิดรอนสิทธิมนุษยชนและขัดต่อศาสนาคริสต์ เช่น การรัดเท้าผู้หญิง,การมีโสเภณี, การสูบฝิ่น, การกราบไหว้บูชารูปเคารพ เป็นต้น รวมถึงให้มีการสอบจอหงวน ซึ่งได้ผู้ชนะเลิศเป็นจอหงวนหญิงคนเดียวในประวัติศาสตร์จีน คือ ฟู่ ซ่านเสียง และได้ยกพลสามหมื่นบุกเข้าโจมตีเมืองต่าง ๆ แถบกวางสีและกวางตุ้ง ได้รับชัยชนะยึดได้เมืองต่าง ๆ มากขึ้น จนกระทั่งสามารถตีนครหนานจิง ตั้งเป็นเมืองหลวงใช้ชื่อว่า "เทียนจิง" (เมืองสวรรค์) ตั้งสหายร่วมรบคนอื่น ๆ เป็น "หวาง" (อ๋อง) มากมายหลายคน แล้วหง ซิ่วเฉฺวียนก็วางมือ ไม่ค่อยยุ่งกับการบริหารดูแลบ้านเมือง ปล่อยให้หวางคนอื่น ๆ รับหน้าที่บริหาร ซึ่งเป็นจุดพลิกผันที่ทำให้กบฏไท่ผิงต้องล้มสลายในที่สุด เนื่องจากบรรดาหวางทั้งหลายชิงดีชิงเด่นกัน ต่างคนก็พยายามช่วงชิงผลประโยชน์ส่วนตัวให้ได้มากที่สุดและหนักสุดถึงขนาดฆ่ากันเอง ในขณะที่ตัวผู้นำคือ หง ซิ่วเฉฺวียน ก็ได้วางมือเร็วไปก่อนเวลา ท้ายสุดในปี พ.ศ. 2407 กบฏไท่ผิงก็ถึงจุดล่มสลายเมื่อพ่ายแพ้อย่างราบคาบต่อราชสำนักที่ผสมกำลังปราบปรามร่วมกับกำลังของชาติตะวันตกที่มีผลประโยชน์กับจีน เช่น อังกฤษ, ฝรั่งเศส และหง ซิ่วเฉฺวียน ได้ฆ่าตัวตาย เมื่อ พ.ศ. 2407 มีกบฏล้มตายเป็นจำนวนถึง 30 ล้านคน ในช่วงปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และหง ซิ่วเฉฺวียน · ดูเพิ่มเติม »

อนาคาริก ธรรมปาละ

อนาคาริก ธรรมปาละ (Anagarika Dhammapala) (เกิด 17 กันยายน พ.ศ. 2407 มรณภาพ 29 เมษายน พ.ศ. 2476) เป็นบุคคลที่สำคัญที่สุดในการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย เป็นผู้ก่อตั้งสมาคมมหาโพธิ์ และเป็นผู้เรียกร้องเอาพุทธสถานในอินเดียกลับคืนมาเป็นของชาวพุทธ ท่านเกิดในครอบครัวผู้มั่งคั่ง บิดาชื่อว่า เดวิด เหววิตรเน เมื่อได้อ่านหนังสือเรื่องประทีปแห่งเอเชียของท่านเซอร์ เอดวินด์ อาโนลด์ ก็เกิดความซาบซึ้ง มีความคิดอยากอุทิศชีวิตถวายต่อพระพุทธองค์ในการฟื้นฟูพุทธศาสนาที่อินเดีย จึงออกเดินทางสู่อินเดีย เมื่อได้เห็นเจดีย์พุทธคยาที่ชำรุดทรุดโทรมถูกทอดทิ้ง และอยู่ในความครอบครองของพวกมหันต์ จึงเกิดความสังเวชใจ ที่ได้พบเห็นเช่นนั้น จึงทำการอธิษฐานต่อต้นพระศรีมหาโพธิ์ว่า จะถวายชีวิตเป็นพุทธบูชา เพื่อฟื้นฟูพุทธศาสนา ในอินเดียและนำพุทธคยากลับคืนมาเป็นสมบัติของชาวพุทธทั่วโลกให้ได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และอนาคาริก ธรรมปาละ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาเหม อมาตยกุล (21 กันยายน พ.ศ. 2407 - 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2474) เจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมารดาของพระองค์เจ้าชายหนึ่งพระองค์ (ไม่ประสูติเป็นพระองค์) และพระองค์เจ้าหญิงเหมวดี ท่านเป็นผู้รักการดนตรี และได้สนิทสนมกับพระราชชายา เจ้าดารารัศมีเป็นพิเศษ เจ้าจอมมารดาเหมเป็นธิดาคนโตของพระยาธรรมสารนิติวิชิตภักดี (พลับ อมาตยกุล)และท่านขรัวยายแสง เกิดในสมัยรัชกาลที่ 4 ที่บ้านหน้าวัดราชบูรณะ (วัดเลียบ) เมื่อวันพุธ แรม 6 ค่ำ เดือน 10 ปีชวด ตรงกับวันที่ 21 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และเจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

17 กันยายน

วันที่ 17 กันยายน เป็นวันที่ 260 ของปี (วันที่ 261 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 105 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และ17 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

20 ตุลาคม

วันที่ 20 ตุลาคม เป็นวันที่ 293 ของปี (วันที่ 294 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 72 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และ20 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 กันยายน

วันที่ 21 กันยายน เป็นวันที่ 264 ของปี (วันที่ 265 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 101 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และ21 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

21 เมษายน

วันที่ 21 เมษายน เป็นวันที่ 111 ของปี (วันที่ 112 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 254 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และ21 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

29 เมษายน

วันที่ 29 เมษายน เป็นวันที่ 119 ของปี (วันที่ 120 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 246 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และ29 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 กรกฎาคม

วันที่ 9 กรกฎาคม เป็นวันที่ 190 ของปี (วันที่ 191 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 175 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2407และ9 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1864

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »