โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เสรีภาพ

ดัชนี เสรีภาพ

รีภาพ, อิสรภาพ หรือเสรีธรรม ในทางปรัชญา หมายถึง เจตจำนงเสรี ซึ่งตรงข้ามกับนิยัตินิยม ในทางการเมือง เสรีภาพประกอบด้วยเสรีภาพทางสังคมและการเมืองที่รับประกันแก่พลเมืองทุกคน ในทางเทววิทยา เสรีภาพ คือ อิสรภาพจากพันธะบาป.

84 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2317พ.ศ. 2525พ.ศ. 2530พรรคศิลปินการกระจายอย่างเป็นธรรมการนับรวมทุกกลุ่มคนการเพิ่มอำนาจฝันอเมริกันภาษาไทยมรดกของเลโอนิด เบรจเนฟมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกีมูแลงรูจ!ยุทธการเอนดอร์ระบบพ่อปกครองลูกรัฐเพนซิลเวเนียรายชื่อตัวละครในกันดั้มดับเบิลโอรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิดลัทธิอำนาจนิยมวิทวัส ท้าวคำลือสมาคมสร้างคุณค่าสากลสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสัญชาติสังคมนิยมแบบอิสรนิยมสังคมนิยมแบบเสรีนิยมสารัตถะสิทธิสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองหลักนิติธรรมหอคอยลิเบอเรชันอัยการอัลเกไมส์เบือร์แกร์ลิชส์เกเซทซ์บุคอามา-กิอำเภอมวกเหล็กอดัม สมิธอนุสรณ์สถาน 14 ตุลาฌ็อง-ฌัก รูโซจอร์จ ดับเบิลยู. บุชจอห์น ล็อกธงชาติบังกลาเทศธงชาติกรีซธงชาติกัวเตมาลาธงชาติมาลาวีธงชาติมาดากัสการ์ธงชาติสาธารณรัฐแอฟริกากลางธงชาติอิรักธงชาติอินโดนีเซียธงชาติทิเบตธงชาติคาซัคสถานธงชาติปารากวัย...ธงชาตินิการากัวธงชาติแซมเบียทอร์ (เครือข่ายนิรนาม)ดัสลีดแดร์ดอยท์เชินดิอะเมซิ่งเรซ 15คริสต์ทศวรรษ 1770ความเสมอภาคทางสังคมความเป็นพลเมืองตราแผ่นดินของกัวเตมาลาตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลางตราแผ่นดินของนิการากัวประชาธิปไตยประชาธิปไตยที่ไม่เสรีประชาธิปไตยแนวเจฟเฟอร์สันประชาธิปไตยเชิงเนื้อหาประชาธิปไตยเสรีนิยมประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมืองประเทศกรีซประเทศนามิเบียประเทศไทยใน พ.ศ. 2525ปรีดี พนมยงค์โอ อารายส์ ออล ยู ซันไรส์แอนด์ฟอล: ซิวิไลเซชันแอทวอร์ไทยเรดนิวส์เสรีเสรีภาพเสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพเสรีภาพสื่อเสรีภาพทางความคิดเสรีนิยม12 มิถุนายน23 มีนาคม23 เมษายน28 เมษายน ขยายดัชนี (34 มากกว่า) »

พ.ศ. 2317

ทธศักราช 2317 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เสรีภาพและพ.ศ. 2317 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: เสรีภาพและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เสรีภาพและพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคศิลปิน

รรคศิลปิน เป็นพรรคการเมืองของไทยที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2550 โดยนายวสันต์ สิทธิเขตต์ และกลุ่มศิลปินไทยส่วนหนึ่ง จำนวน 17 คน พรรคศิลปินมีหัวหน้าพรรคคือ นายวสันต์ สิทธิ์เขตต์ มีนายจุมพล อภิสุข จากวงคนด่านเกวียน เป็นเลขาธิการพรรค และนางนิตยา บุญประสิทธิ จากวงกรรมาชน เป็นโฆษกพรรค มีกรรมการพรรค และสมาชิกประกอบด้วยศิลปินในแขนงต่าง ๆ เช่น เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ทวี รัชนีกร ศิลปินแห่งชาติ, สุรชัย จันทิมาธร มงคล อุทก พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ นักดนตรีเพลงเพื่อชีวิต, ไชยันต์ ไชยพร กนกศักดิ์ แก้วเทพ อาจารย์มหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตาม นายวสันต์ สิทธิเขตต์ กล่าวว่าการมีโครงสร้างหัวหน้าพรรค กรรมการบริหารพรรค เพียงเพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายพรรคการเมือง พรรคศิลปิน สิ้นสุดสภาพความเป็นพรรคการเมือง ในปี..

ใหม่!!: เสรีภาพและพรรคศิลปิน · ดูเพิ่มเติม »

การกระจายอย่างเป็นธรรม

การกระจายอย่างเป็นธรรม (Distributive Justice) เป็นหลักการพื้นฐานที่สุดที่ใช้กำกับหรือกำหนดโครงสร้างความสัมพันธ์ของคนและสถาบันในสังคม อันเกี่ยวข้องกับการกระจายประโยชน์ และสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม การเข้าถึงทรัพยากร รวมถึงโอกาสที่จะได้รับสิทธิบางอย่าง และการกำหนดภาระหน้าที่ให้แก่สมาชิกในสังคม (Kurian, 2011: 446; Rawls, 1971: 4) การกระจายอย่างเป็นธรรมมีหลายแนวคิดแตกต่างกันออกไป เช่น หลักการกระจายที่เน้นความเท่าเทียมกันอย่างเด็ดขาด (Strict Egalitarianism) หลักการกระจายแบบประโยชน์นิยม (Utilitarianism–Based Principle) หลักที่มีฐานจากความแตกต่าง (Difference-Based Principle) หลักการกระจายแบบเสรีภาพนิยม ที่ขึ้นอยู่กับความสามารถของคนบุคคล (Libertarian Principle) และหลักการกระจายตามความเหมาะสม (Desert-based Principle) เป็นต้น.

ใหม่!!: เสรีภาพและการกระจายอย่างเป็นธรรม · ดูเพิ่มเติม »

การนับรวมทุกกลุ่มคน

การนับรวมทุกกลุ่มคน (Inclusiveness or Inclusion) หมายถึง การเปิดช่องทางให้ปัจเจกบุคคลและกลุ่มทุกกลุ่มเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของสังคมของพลเมือง มีความเท่าเทียมกันทางสังคมในด้านสิทธิเสรีภาพ มีโอกาสและความเสมอภาคในกระบวนการอภิปรายถกเถียงและการตัดสินใจในทางการเมือง โดยการนับประชาชนทุกคนในสังคมให้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของความเป็นพลเมืองที่มีสิทธิเสรีภาพอย่างเสมอหน้ากัน ทุกคนสามารถเข้าถึงอำนาจตามกฎหมายในการมีส่วนร่วมทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง อย่างไม่ถูกเลือกปฏิบัติ ความเป็นส่วนหนึ่งของสังคมของพลเมืองจึงเป็นการรวมประชาชนทุกฝั่งฝ่ายเข้าเป็นสังคมเดียว ความหมายดังกล่าวจึงตรงข้ามกับความเหนือกว่าเฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะบุคคล (exclusiveness) ซึ่งหมายถึงการให้สิทธิพิเศษแก่คนบางกลุ่ม จนกลายเป็นอภิสิทธิชนในสังคม.

ใหม่!!: เสรีภาพและการนับรวมทุกกลุ่มคน · ดูเพิ่มเติม »

การเพิ่มอำนาจ

การเพิ่มอำนาจ (Empowerment) เป็นคำศัพท์ที่ใช้กล่าวถึงบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ตลอดเวลาในอดีตไม่มีอำนาจ (powerless) แต่มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญในทางบริบทสังคม การเมือง ทำให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลดังกล่าวสามารถมีอำนาจที่เพิ่มมากขึ้น ทั้งในด้านของการเจรจาต่อรอง การตัดสินใจ และความสามารถในการกำหนดเส้นทางหรือวิถีชีวิตของตัวเอง คำว่าการเพิ่มอำนาจจึงมักใช้กับประชาชนหรือกลุ่มทางสังคมที่ไม่ได้รับสิทธิ เสรีภาพจากรัฐ หรือเป็นกลุ่มที่ถูกกดขี่ขูดรีดจากระบบเศรษฐกิจ และเกิดการเปลี่ยนแปลงสำคัญ ไม่ว่าจะมาจากวิกฤติเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงกฎหมาย หรือการรวมตัวเคลื่อนไหวทางสังคม ทำให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลดังกล่าวมีอำนาจมากยิ่งขึ้น หรือเป็นสาเหตุให้เกิดการเพิ่มอำนาจในการต่อสู้ต่อรองให้กลุ่มที่เคยไม่มีอำนาจดังกล่าว (Kurian, 2011: 504-505).

ใหม่!!: เสรีภาพและการเพิ่มอำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

ฝันอเมริกัน

งชาติของสหรัฐฯ ในวอชิงตัน ดี.ซี. ธงแบบเบสซี รอสที่แขวนลงเป็นธงคลาสสิก “โอลด์กลอรี” รุ่น 50 รัฐ ความหมายโดยทั่วๆ ไปแต่เดิมของ “ความฝันอเมริกัน” อาจนิยามได้ว่าเป็น “ความเท่าเทียมทางโอกาสและเสรีภาพที่เอื้อให้พลเมืองบรรลุถึงเป้าหมายในชีวิตด้วยการทำงานหนักและด้วยความมุ่งมั่น ปัจจุบัน ความหมายโดยทั่วไปได้ปรับเปลี่ยนเป็นว่า ความมั่งคั่งของบุคคลขึ้นอยู่กับขีดความสามารถและการทำงานหนัก ไม่ขึ้นอยู่กับโครงสร้างระดับชั้นที่ตายตัวของสังคม ซึ่งความหมายนี้ไปเปลี่ยนไปตามเวลาของประวัติศาสตร์ สำหรับบางคน อาจหมายถึงโอกาสที่จะบรรลุความมั่งคั่งได้มากกว่าที่เคยได้ในประเทศเดิมที่ตนย้ายถิ่นมา บางคนอาจหมายถึงโอกาสที่บุตรหลานที่จะเจริญเติบโตในสิ่งแวดล้อมที่ดีและได้รับการศึกษาที่สูงขึ้นในสหรัฐฯ รวมทั้งโอกาสการได้งานที่ดี สำหรับบางคนอาจเป็นการได้โอกาสที่จะเป็นปัจจเกชนที่ปราศจากการกีดกันด้วยชนชั้นทางสังคม จากวรรณะ เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ หรือชาติพันธุ์ นิยามของความฝันอเมริกันดังกล่าว ณ ปัจจุบันยังคงเป็นหัวข้อที่ยังถกเถียงอภิปรายกันมากอยู่ และเช่นกันที่ “ชุดของความเชื่อ การตั้งข้อสมมุติฐานและรูปแบบของการประพฤติปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับความฝันอเมริกันที่เกาะตัวกันอย่างหลวมๆ ในขณะนี้ ซึ่งประกอบด้วย (1) เสรีภาพของบุคคลในการเลือกวิถีการดำเนินชีวิต (2) โอกาสที่จะเข้าถึงความมั่งคั่งได้โดยเสรี และ (3) การเสาะแสวงหาและการแลกเปลี่ยนเป้าประสงค์ร่วมระหว่างบุคคลกับสังคมของตน” Zangrando, Joanna Schneider and Zangrando, Robert L. "Black Protest: A Rejection of the American Dream".

ใหม่!!: เสรีภาพและฝันอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: เสรีภาพและภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

มรดกของเลโอนิด เบรจเนฟ

วามเข้าใจอย่างเต็มรูปแบบเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของสหภาพโซเวียตและสหพันธรัฐรัสเซีย อิทธิพลของเลโอนิด เบรจเนฟเป็นหนึ่งในสิ่งสำคัญในประวัติศาสตร์ เขาเป็นทั้งเลขาธิการคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์ (CPSU) และประมุขแห่งรัฐสหภาพโซเวียต เลโอนิด เบรจเนฟ เป็นเลขาธิการคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เสรีภาพและมรดกของเลโอนิด เบรจเนฟ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: เสรีภาพและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี

นม ชอมสกี เป็นผู้มีชื่อเสียงในฐานะปัญญาชน นักปฏิบัติการ (หรือนักกิจกรรม) ทางการเมือง และนักวิจารณ์ เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาและรัฐบาลอื่น ๆ เขาเรียกตัวเองว่า นักสังคมนิยมแบบอิสรนิยม ผู้สนับสนุนสหการนิยมแบบอนาธิปไตย (anarcho-syndicalism) และมองว่า เป็นผู้รอบรู้สำคัญคนหนึ่งในการเมืองฝ่ายซ้ายของสหรัฐ โนม ชอมสกี ในการประท้วงต่อต้านสงครามในเมืองแวนคูเวอร์ พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: เสรีภาพและมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี · ดูเพิ่มเติม »

มูแลงรูจ!

มูแลงรูจ! (Moulin Rouge!) เป็นภาพยนตร์เพลงเรื่องที่สามในภาพยนตร์ชุดไตรภาค "The Red Curtain Trilogy" ของบาซ เลอห์มานน์ ออกฉายในปี..

ใหม่!!: เสรีภาพและมูแลงรูจ! · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการเอนดอร์

ทธการเอนดอร์เป็นการยุทธ์ที่เกิดขึ้นในฉากไคลแมกซ์ของภาพยนตร์เรื่องสตาร์ วอร์ส เอพพิโซด 6: การกลับมาของเจได ซึ่งออกฉายในปี พ.ศ. 2526 ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงท้ายของสงครามกลางเมืองกาแลกติกเมื่อพันธมิตรกบฏรบกับกองทัพจักรวรรดิ เหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในการยุทธ์ครั้งนี้ได้แก่การทำลายดาวมรณะดวงที่สอง และการเสียชีวิตของจักรพรรดิพัลพาทีนและดาร์ธ เวเดอร์ รวมไปถึงบุคคลสำคัญๆ อีกจำนวนหนึ่ง.

ใหม่!!: เสรีภาพและยุทธการเอนดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบพ่อปกครองลูก

ปิชาธิปไตย (Paternalism) เป็นคำศัพท์ที่ใช้เรียกลักษณะการปกครองแบบโบราณที่ผู้ปกครองเป็นเสมือน “พ่อ” และประชาชนเปรียบเสมือน “ลูก” ในทางคำศัพท์จะใช้เรียกแทนพฤติกรรมของบุคคล องค์กร หรือการปกครองที่จำกัดสิทธิเสรีภาพและความอิสระของประชาชน ในบางความหมายจะใช้แทนการเรียกระบบสังคมที่จำกัดสิทธิของคนบางกลุ่มและให้คนบางกลุ่มที่เป็นส่วนน้อยของสังคมมีสิทธิพิเศษที่เหนือกว่าคนส่วนใหญ่ หรือใช้เรียกกฎหมายที่เข้ามาจำกัดสิทธิส่วนบุคคลมากเกินไป เช่น กฎหมายห้ามขายสุราและของมึนเมาในวันสำคัญทางศาสนา เป็นต้น ทั้งนี้การแปลคำว่า Paternalism เป็น “ปิตาธิปไตย” เนื่องจาก Paternalism มีรากศัพท์มาจากภาษาลาตินคำว่า Pater หมายถึง พ่อ ซึ่งเมื่อรวมกับคำว่า –ism หมายถึง ลัทธิ ทำให้กลายเป็นคำว่าปิตาธิปไตย แต่ต้องไม่สับสนกับคำว่า Patriarchy หรือ ระบบนิยมชาย ที่หมายถึงระบบสังคมที่ลักษณะบางอย่างแสดงออกถึงการให้คุณค่าความเป็นชายมากกว่าและทำให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันทางเพศ (Kurian, 2011: 1196).

ใหม่!!: เสรีภาพและระบบพ่อปกครองลูก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเพนซิลเวเนีย

รัฐเพนซิลเวเนีย รัฐทางตอนกลาง ของสหรัฐอเมริกา เครือรัฐเพนซิลเวเนีย (Commonwealth of Pennsylvania) เป็นรัฐที่อยู่ทางตะวันออกของสหรัฐอเมริกา รัฐเพนซิลเวเนียเป็นรัฐหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ของสหรัฐอเมริกาเกี่ยวข้องที่สุดรัฐหนึ่ง เป็นที่ประกาศอิสรภาพของอเมริกา โดยมีฟิลาเดลเฟียเป็นเมืองหลวงชั่วคราวของสหรัฐอเมริกาก่อนการจัดตั้งวอชิงตัน ดีซี ชื่อของรัฐมาจากภาษาละติน ตั้งโดย เควกเกอร์ วิลเลียม เพนน์ เมืองหลวงของรัฐคือ แฮร์ริสเบิร์ก และเมืองสำคัญอื่นๆ ได้แก่ ฟิลาเดลเฟีย และพิตส์เบิร์ก รวมไปถึงเมืองเฮอร์ชีย์ที่ตั้งของโรงงานชอกโกแลตเฮอร์ชีย์ มหาวิทยาลัยที่สำคัญในรัฐได้แก่ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียสเตต มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน มหาวิทยาลัยพิตส์เบิร์ก และ มหาวิทยาลัยลีไฮฮ์ ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ ฟิลาเดลเฟีย อีเกิลส์ และ พิตส์เบิร์ก สตีลเลอรส์ ในปี 2550 เพนซิลเวเนียมีประชากร 12,432,792 คน.

ใหม่!!: เสรีภาพและรัฐเพนซิลเวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในกันดั้มดับเบิลโอ

รายละเอียดของตัวละครจากภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกันดั้มดับเบิลโอผลงานของบริษัทซันไร.

ใหม่!!: เสรีภาพและรายชื่อตัวละครในกันดั้มดับเบิลโอ · ดูเพิ่มเติม »

รายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด

ต่อไปนี้เป็น รายชื่อคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด เรียงลำดับตามตัวอักษรของ คำที่เขียนถูก ตามที่ปรากฏในพจนานุกรมภาษาไทยหรือตามประกาศของหน่วยงานราชการไทย หมายเหตุ: การเขียนสะกดคำในนี้เป็นกรณีทั่วไป แต่ในกรณีเฉพาะ เช่น เป็นวิสามานยนาม อาทิ เป็นชื่อบุคคล ชื่อสถานที่ หรือในทางร้อยกรอง สามารถเขียนสะกดคำแตกต่างได้.

ใหม่!!: เสรีภาพและรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอำนาจนิยม

อำนาจนิยม (authoritarianism) เป็นรูปแบบการจัดระเบียบทางสังคมซึ่งมีลักษณะของการอ่อนน้อมต่ออำนาจหน้าที่ ตามปกติมักตรงข้ามกับปัจเจกนิยมและอิสรนิยม ในทางการเมือง รัฐบาลอำนาจเป็นรัฐบาลซึ่งอำนาจหน้าที่ทางการเมืองกระจุกตัวอยู่กับนักการเมืองกลุ่มเล็ก อำนาจนิยม เป็นระบอบการเมืองที่มีฐานอยู่บนอุดมการณ์ทางการเมืองแบบเผด็จการชนิดที่ผู้ปกครองสามารถใช้อำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเหนือรัฐ หรือกลุ่มคนใดๆ ในการธำรงไว้ซึ่งเป้าหมายสูงสุด คือ การรักษาอำนาจของตน (Kurian, 2011: 103) โดยมักจะไม่คำนึงถึงสิทธิ เสรีภาพของประชาชน ปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นที่เป็นปฏิปักษ์กับผู้นำ ควบคุมสื่อมวลชน ผูกขาดการใช้อำนาจและจำกัดการตรวจสอบ กล่าวได้ว่า ระบอบอำนาจนิยมเป็นระบอบการเมืองที่ใช้แพร่หลายมากที่สุดเป็นระยะเวลายาวนานที่สุด ในประวัติศาสตร์การปกครองของมนุษยชาติ ทุกวันนี้ “อำนาจนิยม” เป็นคำที่ถูกใช้ถึงบ่อยครั้งที่สุด เมื่อกล่าวถึงระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย ลักษณะสำคัญของระบอบอำนาจนิยม คือ การกระทำและการตัดสินใจของผู้ปกครองไม่ถูกจำกัดโดยสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของประชาชน ในขณะที่สิทธิ เสรีภาพของประชาชนมีอยู่อย่างจำกัด กล่าวอีกนัยหนึ่ง สิทธิทางการเมืองของประชาชน หากมีอยู่บ้าง ก็จำกัดเต็มที ด้วยเหตุที่ผู้ปกครองอำนาจนิยมจะสร้างกฎระเบียบ มาตรการที่เข้มงวด เพื่อจำกัดกิจกรรมของบุคคลและกลุ่มบุคคลที่ต้องการมีส่วนร่วมในการจัดสรรสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม ในระบอบอำนาจนิยม ประชาชนส่วนใหญ่ในสังคมมักไม่ได้รับอนุญาตให้แสดงออกทางการเมืองใดๆ ยกเว้น กิจกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากอำนาจรัฐ ฉะนั้น การต่อสู้ทางการเมืองในรูปแบบการชุมนุมประท้วงและเดินขบวนตามจังหวะและโอกาส จึงแทบจะเป็นรูปแบบการมีส่วนร่วมชนิดเดียวที่ทำได้ ในขณะที่เสรีภาพของสื่อมวลชนและประชาชนที่จะวิพากษ์วิจารณ์และตั้งคำถามต่อระบบการเมืองจะถูกตรวจสอบ หากฝ่าฝืนจะมีมาตรการลงโทษ อำนาจนิยมมีลักษณะของอำนาจที่เข้มข้นและรวมเข้าสู่ศูนย์กลางอย่างมาก ซึ่งรักษาไว้โดยการปราบปรามทางการเมืองและการกีดกันคู่แข่งที่เป็นไปได้ รัฐบาลอำนาจนิยมใช้พรรคการเมืองและองค์การมวลชนเพื่อระดมคนมารอเป้าหมายของรัฐบาล อย่างไรก็ตาม ในระบอบอำนาจนิยม ประชาชนสามารถดำเนินชีวิตประจำวันในส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องกับมิติทางการเมืองได้อย่างปกติ สามารถเลือกประกอบอาชีพ นับถือศาสนา และสังสรรค์หาความสุขได้โดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมโดยตรงจากรัฐบาล แต่กระนั้น ในบางประเทศสิทธิและเสรีภาพในการดำเนินชีวิตอาจถูกควบคุมโดยธรรมเนียมปฏิบัติ บรรทัดฐานหรือความเชื่อทางศาสนาที่เข้มงวด ซึ่งอาจเป็นส่วนหนึ่งหรือคนละส่วนกับอำนาจรัฐในระบบการเมืองก็ได้ ประเทศที่จัดได้ว่าเป็นระบอบอำนาจนิยม เช่น อิหร่าน สหภาพเมียนมาร์ (พม่า--Union of Myanmar) ซาอุดิอาระเบีย และอินโดนีเซีย ภายใต้นายพลซูฮาร์โต เป็นต้น ข้อมูลที่น่าสนใจ คือ ประสบการณ์ทางการเมืองของประเทศในลาตินอเมริกา นำมาสู่คำเรียกขาน “ระบอบราชการอำนาจนิยม” (bureaucratic authoritarianism) ที่ใช้อธิบายประเทศจำนวนหนึ่งที่เคยเป็นประชาธิปไตย แต่เกิดหักเหจนในที่สุดระบอบประชาธิปไตยต้องล่มสลาย และถูกแทนที่ด้วยแนวร่วมระหว่างคณะทหารกับพลเรือนที่ทำการรัฐประหารยึดกุมสถาบันการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง ชนชั้นนำที่ประกอบด้วย ทหาร ข้าราชการพลเรือน นักเทคนิคระดับสูง (technocrats) ตลอดจนนักธุรกิจชั้นนำดำเนินนโยบายที่เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม แต่ปิดกั้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบาย และการเข้ามาแข่งขันในตลาดการเมือง โดยคณะทหารและระบบราชการดังกล่าว แสดงบทบาททางการเมืองในฐานะที่เป็นสถาบัน ไม่ใช่ตัวบุคคล นักวิชาการลาตินอเมริกาวิเคราะห์ว่า ระบอบราชการอำนาจนิยม เป็นผลจากการพัฒนาอุตสาหกรรมทุนนิยมแบบพึ่งพา ประเทศที่จัดว่าใช้ระบอบราชการอำนาจนิยม เช่น บราซิล อาร์เจนตินา และ ชิลี ในยุคปัจจุบันที่ปรากฏมากที่สุดคือ “อำนาจนิยมที่มาจากการเลือกตั้ง” (electoral authoritarianisms) หรือระบอบอำนาจนิยมที่มีเปลือกนอกฉาบด้วยผู้นำที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งปรากฏให้เห็นในหลายประเทศแถบตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือ (Linz, 2000: 34; Badie, 2011: 107) ในระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน กระบวนการอันสำคัญและจำเป็นกระบวนการหนึ่งที่มิอาจขาดหายไปได้เลยก็คือ การเลือกตั้ง (election) เพราะเป็นกระบวนการที่จะทำให้ประชาชนเจ้าของอำนาจได้แสดงออกซึ่งเจตจำนงเสรีของแต่ละบุคคล ทว่าการเลือกตั้งก็อาจมิใช่ตัวบ่งชี้ถึงความเป็นประชาธิปไตยเสมอไป เพราะระบอบอำนาจนิยมในหลายประเทศได้อาศัยกระบวนการเลือกตั้งมาเป็นเครื่องมือในการสร้างความชอบธรรมในการปกครอง และการใช้อำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเพื่อประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้ง ด้วยการอ้างเสียงสนับสนุนข้างมาก ทำให้เกิดอำนาจนิยมแบบใหม่ที่เรียกว่า อำนาจนิยมที่มาจากการเลือกตั้ง (electoral authoritarianism) ทำให้เกิดข้อถกเถียงว่า การเลือกตั้งมิได้เท่ากับการมีประชาธิปไตยเสมอไป หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ การเลือกตั้งเป็นปัจจัยที่ “จำเป็น” แต่อาจไม่ “เพียงพอ” ที่จะแบ่งระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ออกจากระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย เส้นแบ่งใหม่ที่เกิดขึ้นระหว่างการเลือกตั้งของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย และระบอบอำนาจนิยมที่แฝงเร้นอยู่ในคราบประชาธิปไตยตัวแทนจอมปลอม (authoritarianism disguised in the form of representative democracy) จึงอยู่ที่มิติด้านคุณภาพของการเลือกตั้งและประสิทธิภาพของกลไกตรวจสอบด้วย กล่าวคือ การเลือกตั้งจะต้องเป็นการเลือกตั้งที่เสรี เที่ยงธรรม และโปร่งใส (free, fair, and transparent election) ที่ปราศจากการแทรกแซงจากปัจจัยภายนอกอื่นๆ อาทิ การซื้อสิทธิ์ขายเสียง การแทรกแซงของคณะทหาร ไม่มีการครอบงำ หรือจำกัดคู่แข่งทางการเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง จึงจะนับได้ว่าเป็นการเลือกตั้งที่เพียงพอและจำเป็นที่จะนำไปสู่ระบอบเสรีประชาธิปไตยได้อย่างแท้จริง (Badie, 2011: 112-114) และเมื่อได้ชัยชนะและมีเสียงข้างมากแล้ว หากใช้กลไกเสียงข้างมากบ่อนทำลายกลไกตรวจสอบ ก็อาจนำไปสู่อำนาจนิยมซึ่งเกิดขึ้นภายใต้เสื้อคลุมประชาธิปไตย นอกจากนั้น ความแตกต่างระหว่างอำนาจนิยมและประชาธิปไตยที่สำคัญไม่แพ้การเลือกตั้ง คือ การมีหลักนิติธรรมที่ไม่เอนเอียง มีรัฐบาลที่ตรวจสอบได้ และมีกระบวนการยุติธรรมที่เป็นอิสระปราศจากการแทรกแซงหรืออคต.

ใหม่!!: เสรีภาพและลัทธิอำนาจนิยม · ดูเพิ่มเติม »

วิทวัส ท้าวคำลือ

วิทวัส ท้าวคำลือ (ชื่อเล่น: มาร์ค ตั้งตามนามของมาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร) เป็นผู้เข้าประกวดเรียลลิตีโชว์ ในรายการทรู อะคาเดมี แฟนเทเชีย ซีซันที่ 7 ซึ่งจัดโดยทรูวิชันส์ จากเว็บไซต์ เขามีชื่อเสียงเมื่อตกเป็นประเด็นถกเถียงในอินเทอร์เน็ต และกลายเป็นข่าวตามสื่อมวลชนแขนงต่างๆ เนื่องจากการลงข้อความวิพากษ์วิจารณ์อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะในเฟซบุ๊ก จนกระทั่งในช่วงท้ายปี หนังสือพิมพ์ข่าวสดจัดอันดับให้เขาเป็น 1 ใน 10 บุคคลแห่งปี พ.ศ. 2553 ปัจจุบัน วิทวัสกลับสู่วงการบันเทิงไทยอีกครั้ง ด้วยการเป็นนักแสดงภาพยนตร.

ใหม่!!: เสรีภาพและวิทวัส ท้าวคำลือ · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมสร้างคุณค่าสากล

มาคมสร้างคุณค่าสากล (อังกฤษ: Soka Gakkai International) เป็นองค์กรพุทธศาสนา ที่มีสมาชิกมากกว่า 12 ล้านคนใน 192 ประเทศและเขตปกครอง (ข้อมูลปี ค.ศ. 2008) โดยสมาชิกสมาคมจะปรับใช้หลักพุทธธรรมของพระนิชิเร็นไดโชนินกับการดำเนินชีวิตในแต่ละวัน.

ใหม่!!: เสรีภาพและสมาคมสร้างคุณค่าสากล · ดูเพิ่มเติม »

สะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

นสมเด็จพระนเรศวรมหาราช สร้างข้ามแม่น้ำป่าสัก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขนาบข้างสะพานปรีดี-ธำรง โดยเชื่อมระหว่างถนนโรจนะ(ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3053)และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 309 กรมทางหลวงได้ตั้งชื่อสะพานนี้ว่า สะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพื่อเชิดชูเกียรติประวัติ และเกียรติคุณของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกอบกู้อิสรภาพให้ชาวสยามจากหงสาวดี ให้ปรากฏแก่อนุชนรุ่นหลัง คณะรัฐมนตรียกร่างการตั้งชื่อตามระเบียบของกรมทางหลวง ตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอ เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: เสรีภาพและสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สัญชาติ

ัญชาติ (Nationality) หมายถึง ประเทศที่ที่บุคคลคนนั้นเกิด โดยไม่นับเชื้อชาติ การเปลี่ยนสัญชาตินั้นทำได้ แต่ต้องว่าตามกฎหมายของแต่ละประเทศ สัญชาตินั้นสำคัญมากเพราะจะทำให้คนอื่นรู้ว่าคุณเกิดที่ไหน ดังนั้นในแบบกรอกหลายอย่าง จึงมีช่องสัญชาติให้เติม สำหรับหนังสือเดินทาง จะต้องมีสัญชาติติดตัวอยู่ เพื่อที่จะได้รู้ว่าเดินทางมาจากประเทศอะไร.

ใหม่!!: เสรีภาพและสัญชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สังคมนิยมแบบอิสรนิยม

ังคมนิยมแบบอิสรนิยม (libertarian socialism, บ้างเรียก อนาธิปไตยสังคมนิยม (socialist anarchism) อิสรนิยมฝ่ายซ้าย (left libertarianism) หรือ สังคมนิยมเสรี เป็นกลุ่มปรัชญาการเมืองในขบวนการสังคมนิยมซึ่งปฏิเสธมุมมองสังคมนิยมที่ว่ารัฐเป็นเจ้าของหรือควบคุมปัจจัยการผลิต ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการวิจารณ์รูปแบบรัฐที่กว้างขวางกว่า ตลอดจนความสัมพันธ์แรงงานค่าจ้าง (wage labour) ในที่ทำงาน สังคมนิยมแบบอิสรนิยมเน้นการจัดการตนเองของคนงานในที่ทำงานและโครงสร้างการปกครองการเมืองแบบกระจายอำนาจแทน โดยยืนยันว่า สามารถบรรลุสังคมที่ยึดเสรีภาพและความเสมอภาคได้โดยการยกเลิกสถาบันอำนาจนิยมซึ่งควบคุมปัจจัยการผลิตบางอย่างและทำให้ฝ่ายข้างมากเป็นเบี้ยล่างของชนชั้นที่เป็นเจ้าของหรืออภิชนทางการเมืองและเศรษฐกิจ นักสังคมนิยมแบบอิสรนิยมโดยทั่วไปฝากความหวังไว้กับวิธีกระจายอำนาจของประชาธิปไตยทางตรงและสมาคมสหพันธรัฐและสมาพันธรัฐ เช่น ระบบเทศบาลอิสรนิยม สมัชชาพลเมือง สหภาพแรงงานและสภาคนงาน เพราะฉะนั้น นักสังคมนิยมแบบอิสรนิยมเชื่อว่า “การใช้อำนาจในรูปแบบของสถาบันใดๆก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นสถาบันทาง เศรษฐกิจ การเมือง ศาสนา หรือ ที่เกี่ยวกับเพศ คือการทำร้ายทั้งผู้ใช้อำนาจและผู้ที่ถูกบังคับข่มเหงภายใต้อำนาจนั้นๆ”.

ใหม่!!: เสรีภาพและสังคมนิยมแบบอิสรนิยม · ดูเพิ่มเติม »

สังคมนิยมแบบเสรีนิยม

ังคมนิยมแบบเสรีนิยม (liberal socialism) เป็นปรัชญาการเมืองสังคมนิยมซึ่งรวมหลักการเสรีนิยมไว้ด้วยGerald F. Gaus, Chandran Kukathas.

ใหม่!!: เสรีภาพและสังคมนิยมแบบเสรีนิยม · ดูเพิ่มเติม »

สารัตถะ

ในทางปรัชญา สารัตถะ (essence) คือคุณลักษณะหรือภาวะอันเป็นเนื้อแท้ ซึ่งทำให้สิ่งหนึ่ง ๆ เป็นตัวของตัวเอง แตกต่างจากสิ่งอื่น ๆ คตินิยมที่ยอมรับว่าสารัตถะมีอยู่จริง เรียกว่าสารัตถนิยม (essentialism) แต่ละคตินิยมมีทัศนะเกี่ยวกับสารัตถะของมนุษย์ต่างกันไป นักเหตุผลนิยมถือว่าความมีเหตุผลเป็นสารัตถะของมนุษย์ อัตถิภาวนิยมว่าเป็นเสรีภาพ บางศาสนาถือว่าเป็นวิญญาณ เป็นต้น.

ใหม่!!: เสรีภาพและสารัตถะ · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิ

ทธิ คือ หลักเสรีภาพหรือการให้สิทธิ์ทางกฎหมาย สังคมหรือจริยศาสตร์ นั่นคือ สิทธิเป็นกฎเชิงบรรทัดฐานพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งที่ประชาชนมีหรือเป็นของประชาชนตามบางระบบกฎหมาย ขนบธรรมเนียมทางสังคม หรือทฤษฎีจริยศาสตร์ สิทธิมีความสำคัญยิ่งในสาขาวิชาดังกล่าว เช่น กฎหมายและจริยศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทฤษฎีความยุติธรรมและกรณียกรรม มักถือว่าสิทธิเป็นพื้นฐานของอารยธรรม ถือว่าเป็นเสาหลักซึ่งเป็นที่ยอมรับของสังคมและวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ความขัดแย้งทางสังคมพบได้ในประวัติศาสตร์ของสิทธิแต่ละอย่างและพัฒนาการของมัน ตามสารานุกรมปรัชญาสแตนฟอร์ด "สิทธิให้โครงสร้างแก่ระบอบการปกครอง เนื้อหากฎหมาย และลักษณะของศีลธรรมซึ่งรับรู้ในปัจจุบัน".

ใหม่!!: เสรีภาพและสิทธิ · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง

ทธิพลเมือง (Civil Rights) หมายถึง การที่พลเมืองของรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัฐสมัยใหม่สามารถกระทำได้ภายใต้กรอบของกฎหมายบ้านเมืองของสังคมนั้นๆ ด้วยเหตุนี้ สิทธิพลเมืองจึงซ้อนทับอยู่กับสิทธิทางการเมือง (political rights) เนื่องจากในสังคม และการเมืองการปกครองสมัยใหม่นั้น เสรีภาพจัดได้ว่าเป็นคุณธรรมรากฐานประการหนึ่งที่ระบบการเมือง และระบบกฎหมายจะต้องธำรงรักษาไว้ ทว่าหากพลเมืองทุกคนมีเสรีภาพอย่างไม่จำกัดแล้วไซร้ การใช้เสรีภาพของพลเมืองคนหนึ่งๆ ก็อาจนำมาซึ่งการละเมิดการมีเสรีภาพของพลเมืองคนอื่นๆ ในรัฐได้เช่นกัน ดังนั้น เสรีภาพของพลเมืองจึงต้องอยู่ภายใต้กรอบของกฎหมายที่รัฐกำหนดว่า สิ่งใดที่พลเมืองไม่อาจกระทำเพราะจะเป็นการละเมิดเสรีภาพของผู้อื่น หรือ สิ่งใดที่พลเมืองสามารถกระทำได้อย่างอิสระโดยปราศจากการควบคุมของรัฐ เป็นที่มาของการเกิดสิ่งซึ่งเรียกว่า สิทธิทางการเมือง หรือ สิทธิพลเมือง (Kurian, 2011: 235) ซึ่งในแง่นี้สิทธิพลเมืองจะมีความหมายและขอบเขตแคบกว่าสิทธิมนุษยชน (Human Rights) เพราะสิทธิพลเมืองจะเป็นสิทธิที่พลเมืองทุกๆ คนมีในฐานะพลเมืองของรัฐ ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามความคุ้มครองโดยกฎหมายของรัฐที่ตนเป็นพลเมืองอยู่ แต่สิทธิมนุษยชนนั้นเป็นสิทธิสากลที่มนุษย์ทุกผู้คนบนโลกนี้ พึงมีเหมือนๆ กันไม่ว่าเขาจะอยู่ที่ใด หรือ เป็นพลเมืองของรัฐใดก็ตาม สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง หรือ สิทธิทางแพ่งและสิทธิทางการเมือง คือความคุ้มครองและสิทธิประโยชน์ที่มอบให้พลเมืองทุกคนตามกฎหมาย สิทธิพลเมืองนั้นเป็นสิทธิที่แยกออกจาก "สิทธิมนุษยชน" และ "สิทธิธรรมชาติ" กล่าวคือสิทธิพลเมืองเป็นสิทธิที่มอบให้โดยชาติและมีอยู่ภายในเขตแดนนั้น ในขณะที่สิทธิธรรมชาติหรือสิทธิมนุษยชนนั้น เป็นสิทธิที่นักวิชาการจำนวนมากอ้างว่าปัจเจกบุคคลมีอยู่แต่กำเนิดโดยธรรมชาต.

ใหม่!!: เสรีภาพและสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

หลักนิติธรรม

หลักนิติธรรม (Rule of Law) หากพิจารณาในฐานะแนวคิดของชาวตะวันตกนั้นก็จะพบว่ามีรากเหง้ามาแต่ครั้งสมัยกรีกโบราณจากข้อถกเถียงสำคัญที่ว่า การปกครองที่ดีนั้นควรจะเป็นการปกครองด้วยสิ่งใด ระหว่างกฎหมายที่ดีที่สุด กับ สัตบุรุษ (คนดี) โดยอริสโตเติล (Aristotle) ได้สรุปว่า กฎหมายเท่านั้นที่ควรจะเป็นผู้ปกครองสูงสุดในระบอบการเมือง (Aristotle, 1995: 127) และจากข้อสรุปของอริสโตเติลตรงนี้นี่เอง ที่ได้พัฒนาไปสู่แนวคิดพื้นฐานสำคัญของรัฐสมัยใหม่ในอีกหลายพันปีถัดมาว่า การปกครองที่ดีนั้นควรจะต้องให้กฎหมายอยู่สูงสุด (supremacy of law) และทุกๆ คนต้องมีสถานะที่เสมอภาค และเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย กล่าวคือ แม้ตามหลักการของการแบ่งแยกอำนาจ ผู้ปกครองจะมีอำนาจอันชอบธรรมในการออกและบังคับใช้กฎหมาย แต่ตัวผู้ปกครอง หรือ รัฐเองก็จะต้องอยู่ภายใต้กฎหมายที่พวกเขาออก และบังคับใช้ด้วยเฉกเช่นเดียวกันกับพลเมืองคนอื่นๆ ในรัฐ เพื่อที่จะทำให้การเมืองนั้นวางอยู่บนรากฐานของกฎหมาย และรัฐบาลนั้นเป็นรัฐบาลที่จำกัด (limited government) โดยตัวกฎหมายเป็นสำคัญ.

ใหม่!!: เสรีภาพและหลักนิติธรรม · ดูเพิ่มเติม »

หอคอยลิเบอเรชัน

หอคอยลิเบอเรชัน (Kuwait Telecommunications Tower) เป็นหอคอยที่สูงเป็นอันดับ 2 ในแถบตะวันออกกลาง รองจากหอคอย Milad ในประเทศอิหร่าน และสูงเป็นอันดับ 13 ของโลก โดยมีความสูงจากฐานถึงยอด 372 เมตร ตั้งอยู่ในกรุงคูเวตซิตี ประเทศคูเวต การก่อสร้างหอคอยแห่งนี้ เริ่มใน..

ใหม่!!: เสรีภาพและหอคอยลิเบอเรชัน · ดูเพิ่มเติม »

อัยการ

ำสำคัญ "อัยการ" มีความหมายว่า การของเจ้า, โดยสามารถหมายถึง.

ใหม่!!: เสรีภาพและอัยการ · ดูเพิ่มเติม »

อัลเกไมส์เบือร์แกร์ลิชส์เกเซทซ์บุค

อัลเกไมส์เบือร์แกร์ลิชส์เกเซทซ์บุค (Allgemeines bürgerliches Gesetzbuch); ย่อ: อาเบเกเบ (ABGB) หรือ ประมวลกฎหมายแพ่งออสเตรีย เป็นประมวลกฎหมายแพ่งของประเทศออสเตรียซึ่งประกาศใช้เมื่อ ค.ศ. 1881 (พ.ศ. 2424) อันเป็นเวลากว่าสี่สิบปีให้หลังนับแต่การร่าง กรรมการร่างคนสำคัญได้แก่ คาร์ล อันโทน ไฟรแฮร์ ฟอน มาร์ทือนือ (Karl Anton Freiherr von Martini) และ ฟรันซ์ ฟอน ไซแลร์ (Franz von Zeiller) อัลเกไมส์เบือร์แกร์ลิชส์เกเซทซ์บุค และประมวลกฎหมายนโปเลียน (Code Napoléon) หรือประมวลกฎหมายแพ่งฝรั่งเศส มีความคล้ายคลึงกันในเจตนารมณ์ที่อิงอุดมคติด้านเสรีภาพและความเท่าเทียมกันภายในกฎหมาย โครงสร้างของอัลเกไมส์เบือร์แกร์ลิชส์เกเซทซ์บุคประกอบด้วยบทบัญญัติจำนวนสามบรรพ ตามวิธีการจัดหมวดหมู่แบบบกฎหมายโรมัน ได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยในระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และทำหน้าที่เป็นกฎหมายแพ่งขั้นพื้นฐานของประเทศออสเตรียตราบทุกวันนี้ หมวดหมู่:ประมวลกฎหมายแพ่ง หมวดหมู่:กฎหมายออสเตรีย.

ใหม่!!: เสรีภาพและอัลเกไมส์เบือร์แกร์ลิชส์เกเซทซ์บุค · ดูเพิ่มเติม »

อามา-กิ

200px อามา-กิ คือคำที่ในตัวเขียนรูปลิ่มของชาวสุมาเรียนโบราณ ที่มีความหมายว่า อิสรภาพ เชื่อกันว่าเป็นการเขียนมโนทัศน์ดังกล่าวออกมาเป็นครั้งแรก สัญลักษณ์ อามา-กิ ได้ถูกนำไปใช้ชั่วคราวโดยกลุ่มนักทุนนิยมอนาธิปไตย และกลุ่มนักเสรีนิยม Libertatis Æquilibritas หมวดหมู่:ภาษา.

ใหม่!!: เสรีภาพและอามา-กิ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอมวกเหล็ก

มวกเหล็ก เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสระบุรี มีภูเขา แม่น้ำ ลำธาร ที่เป็นธรรมชาติมาก แต่เดิมเป็นส่วนหนึ่งของแก่งคอย ด้วยภูเขา และต้นไม้ ลำธาร ส่งผลให้คนอย่างน้อย รักธรรมชาติ และมีจิตใจที่สงบ เห็นความสวยงามของธรรมชาติ และมีความต้องการในเสรี.

ใหม่!!: เสรีภาพและอำเภอมวกเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

อดัม สมิธ

อดัม สมิธ (Adam Smith) นักปรัชญาศีลธรรม และ นักเศรษฐศาสตร์การเมืองผู้บุกเบิกชาวสกอตแลนด์ อดัม สมิธ เป็นผู้มีส่วนสำคัญในการกำหนดแนวคิดเศรษฐศาสตร์แนวตลาดเสรี เป็นบุคคลสำคัญในขบวนการที่เป็นที่รู้จักในชื่อว่า "ยุคสว่างของสกอตแลนด์" (Scottish Enlightenment) โดยเป็นที่รู้จักในฐานะผู้แต่งศาสตรนิพนธ์2 เรื่องคือ ทฤษฎีว่าด้วยศีลธรรมเร้าอารมณ์ (พ.ศ. 2302).

ใหม่!!: เสรีภาพและอดัม สมิธ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา

ูปวีรชน 14 ตุลา อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา เป็นสิ่งก่อสร้างที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่รำลึกถึงผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ในวันที่ 14 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ตั้งอยู่เลขที่ 14/16 ถนนราชดำเนินนอก แขวงเสาชิงช้า บริเวณสี่แยกคอกวัว สร้างเสร็จในปี..

ใหม่!!: เสรีภาพและอนุสรณ์สถาน 14 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ฌัก รูโซ

็อง-ฌัก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2255 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2321) เป็นนักปรัชญา นักเขียน นักทฤษฎีการเมือง และนักประพันธ์เพลงที่ฝึกหัดด้วยตนเองแห่งยุคเรืองปัญญ.

ใหม่!!: เสรีภาพและฌ็อง-ฌัก รูโซ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ ดับเบิลยู. บุช

รืออากาศโท จอร์จ วอล์กเกอร์ บุช (George Walker Bush) เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) เป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 43 บุชสังกัดพรรครีพับลิกัน และเกิดในตระกูลบุชซึ่งเป็นตระกูลนักการเมืองตระกูลใหญ่ของสหรัฐอเมริกา โดยพ่อของเขาคือ จอร์จ บุช ประธานาธิบดีคนที่ 41 และน้องชายเขา เจบ บุช เป็นอดีตผู้ว่าการมลรัฐฟลอริดา ก่อนเริ่มเล่นการเมือง จอร์จ ดับเบิลยู บุชเป็นนักธุรกิจบ่อน้ำมัน และเป็นเจ้าของทีมเบสบอล เทกซัส เรนเจอร์ (Texas Rangers) เขาเริ่มเล่นการเมืองระดับท้องถิ่นโดยเป็นผู้ว่าการรัฐเทกซัสคนที่ 46 ชนะการเสนอชื่อลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีของพรรครีพับลิกัน และชนะการเลือกตั้งต่อรองประธานาธิบดี อัล กอร์ใน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) และได้รับการเลือกตั้งสมัยที่สองเมื่อ พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) โดยเอาชนะวุฒิสมาชิก จอห์น เคร์รี ของ พรรคเดโมแครต.

ใหม่!!: เสรีภาพและจอร์จ ดับเบิลยู. บุช · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ล็อก

อห์น ล็อก จอห์น ล็อก (John Locke; 29 สิงหาคม พ.ศ. 2175-28 ตุลาคม พ.ศ. 2247) เป็นนักปรัชญา ชาวอังกฤษ ในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 17 ความสนใจหลักของเขาคือสังคมและทฤษฎีของความรู้ แนวคิดของล็อกที่เกี่ยวกับ "ผู้ปกครองที่ได้รับการยอมรับจากผู้ใต้ปกครอง" และสิทธิธรรมชาติของมนุษย์ ที่เขาอธิบายว่าประกอบไปด้วย ชีวิต, เสรีภาพ, และทรัพย์สิน นั้นมีอิทธิพลอย่างมากต่อพัฒนาการทางปรัชญาการเมือง แนวคิดของเขาเป็นพื้นฐานของกฎหมายและรัฐบาลอเมริกัน ซึ่งผู้บุกเบิกได้ใช้มันเป็นเหตุผลของการปฏิวัติ แนวคิดด้านญาณวิทยาของล็อกนั้นมีอิทธิพลสำคัญไปจนถึงช่วงของยุคแสงสว่าง.

ใหม่!!: เสรีภาพและจอห์น ล็อก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติบังกลาเทศ

งชาติบังกลาเทศ เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 3 ส่วน กว้าง 5 ส่วน ภายในธงมีรูปวงกลมสีแดงค่อนมาทางด้านคันธง 1%.

ใหม่!!: เสรีภาพและธงชาติบังกลาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติกรีซ

งชาติกรีซ (Σημαία της Ελλάδος, โดยทั่วไปนิยมเรียกว่า Γαλανόλευκη หรือ Κυανόλευκη แปลว่า "ธงน้ำเงิน-ขาว") เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นธงเป็นแถบริ้วสีน้ำเงินสลับขาวรวมทั้งหมด 9 แถบ ที่มุมธงบนด้านคันธงเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสีน้ำเงิน กว้างยาวเป็น 5 ใน 9 ส่วนของความกว้างธง ภายในมีรูปกางเขนสีขาวมีปลายจดขอบสีน้ำเงิน กางเขนดังกล่าวนี้หมายถึงศาสนาคริสต์นิกายกรีกออร์โธดอกซ์ซึ่งเป็นศาสนาประจำชาติ ส่วนแถบสีน้ำเงินสลับขาว 9 แถบนั้น โดยทั่วไปชาวกรีกหมายถึงพยางค์ 9 พยางค์ในประโยคภาษากรีกที่ว่า "Ελευθερία ή Θάνατος" (อ่านว่า "เอ-เลฟ-เท-ริ-อา-อิ-ทา-นา-ทอส" ("E-lef-the-ri-a i Tha-na-tos") แปลว่า เสรีภาพหรือความตาย) โดยแถบสีน้ำเงิน 5 แถบหมายถึง 5 พยางค์แรก ส่วนแถบสีขาว 4 แถบ หมายถึง 4 พยางค์สุดท้ายของประโยคดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ยังมีอีกทฤษฎีหนึ่งกล่าวว่า แถบทั้ง 9 แถบนี้หมายถึงเทพธิดามิวเซส (Muses) ผู้เป็นเทพแห่งศิลปวิทยาการต่างๆ ทั้ง 9 องค์ ในตำนานกรีกโบราณ สำหรับสัดส่วนธงอย่างเป็นทางการนั้นกว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน อนึ่ง สีน้ำเงินและสีขาวที่ใช้ในธงนี้มีการตีความความหมายต่างๆ อยู่มาก บ้างก็ว่าหมายถึงสีของท้องฟ้าและน้ำทะเลในประเทศนี้ บ้างก็ว่าเป็นสีของเครื่องแต่งกายชาวกรีกตามธรรมเนียมโบราณ ทั้งนี้ ระดับของสีน้ำเงินในธงชาตินี้มีการเปลี่ยนแปลงมาแล้วหลายครั้ง โดยแบบสีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเริ่มใช้มาตั้งแต่ช่วงปลายคริสต์ทศวรรษที่ 1960 รูปแบบธงดังที่ปรากฏในปัจจุบันนี้ เป็นแบบธงที่ได้รับการรับรองจากที่ประชุมรัฐสภาแห่งชาติของกรีซครั้งแรก ณ เมืองเอปิเดารุส (The First National Assembly at Epidaurus) เมื่อวันที่ 13 มกราคม ค.ศ. 1822.

ใหม่!!: เสรีภาพและธงชาติกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติกัวเตมาลา

งชาติกัวเตมาลา มีลักษณะเป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 5 ส่วน ยาว 8 ส่วน ภายในแบ่งเป็นสามแถบตามแนวตั้ง แต่ละแถบกว้างเท่ากัน แถบนอกทั้งสองแถบเป็นสีฟ้าอ่อน แถบกลางเป็นสีขาว การวางแถบสีธงเช่นนี้ก็เพื่อสะท้อนถึงลักษณะทางกายภาพของประเทศ ซึ่งเป็นแผ่นดินที่ขนาบด้วยมหาสมุทร 2 แห่ง ได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก และทะเลแคริบเบียนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติก นอกจากนี้สีฟ้ายังหมายถึงท้องฟ้าเหนือแผ่นดินกัวเตมาลา ส่วนสีขาวนั้นก็หมายถึงสันติภาพและความบริสุทธิ์ ที่กลางแถบสีขาวของธงนั้นมีรูปตราแผ่นดินของกัวเตมาลา อันประกอบด้วยรูปนก Resplendent Quetzal ซึ่งเป็นนกประจำชาติของกัวเตมาลาและเป็นสัญลักษณ์แห่งเสรีภาพ จับอยู่บนม้วนกระดาษระบุวันที่กัวเตมาลาประกาศเอกราชจากสเปน (วันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1821) เบื้องหลังม้วนกระดาษมีรูปปืนเล็กยาวสองกระบอกไขว้กัน หมายถึงเจตจำนงอันแรงกล้าที่ชาวกัวเตมาลาจะปกป้องตนเองให้ได้ในยามที่จำเป็น พร้อมทั้งรูปดาบสองเล่มไขว้ซึ่งหมายถึงเกียรติยศ เบื้องล่างล้อมด้วยช่อลอเรลอันเป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะ ธงดังกล่าวนี้ใช้เป็นธงชาติสำหรับรัฐบาลและกองทัพ หากเป็นธงดังกล่าวซึ่งไม่มีรูปตราแผ่นดินจะใช้เป็นธงชาติสำหรับพลเรือนโดยทั่วไป ธงชาติกัวเตมาลาดังที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้ เริ่มใช้อย่างเป็นทางการมานับตั้งแต่วันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1871 อันเป็นเวลา 20 ปีให้หลังจากการแยกตัวจากสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลางและได้มีการเปลี่ยนแปลงธงชาติมาหลายคราวอันเนื่องมาจากปัญหาความวุ่นวายทางการเมืองภายในประเท.

ใหม่!!: เสรีภาพและธงชาติกัวเตมาลา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติมาลาวี

งชาติมาลาวี เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2507 ซึ่งเป็นวันที่ไนแอซาแลนด์ประกาศเอกราชจากสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: เสรีภาพและธงชาติมาลาวี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติมาดากัสการ์

23px ธงชาติมาดากัสการ์ สัดส่วนธง 2:3 ธงชาติมาดากัสการ์ เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2501 ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศนี้เตรียมการลงประชามติต่อสถานะของประเทศในประชาคมฝรั่งเศส และเป็นเวลาก่อนหน้าการประกาศเอกราชจากประเทศฝรั่งเศส 2 ปี ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ตอนต้นธงเป็นแถบสีขาวตามแนวตั้ง กว้างเป็น 1 ใน 3 ส่วนของความยาวธง ส่วนที่เหลือตอนปลายธงแบ่งครึ่งตามแนวนอน ครึ่งบนเป็นพื้นสีแดง ครึ่งล่างพื้นสีเขียว สีในธงชาติมาร์ดากัสการ์นี้สะท้อนถึงประวัติศาสตร์ของประเทศ ความปรารถนาในอิสรภาพ และชนชั้นในสังคมมาร์ดากัสการ์ โดยสีแดงและสีขาวนั้นคือสีธงของสมเด็จพระราชินีรานาวาโลนาที่ 3 (Ranavalona III) กษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรเมรินา (Merina kingdom) ซึ่งพ่ายแพ้ต่อฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2439 และสีนี้อาจเป็นเครื่องบ่งบอกว่าชาวมาร์ดากัสการ์มาจากคนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดังปรากฏการใช้สีดังกล่าวนี้ร่วมกันในธงชาติอินโดนีเซีย ส่วนสีเขียวหมายถึงชนชั้นโฮวา (Hova) อันเป็นชนชั้นสามัญชนในสังคมมาร์ดากัสการ์ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการต่อต้านและเรียกร้องเอกราชจากฝรั่ง.

ใหม่!!: เสรีภาพและธงชาติมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐแอฟริกากลาง

20px ธงชาติสาธารณรัฐแอฟริกากลาง สัดส่วนธง 3:5 ธงชาติสาธารณรัฐแอฟริกากลาง เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็นแถบสีขนาดเท่ากัน 4 แถบ ได้แก่แถบสีน้ำเงิน สีขาว สีเขียว และสีเหลือง ที่มุมธงบนด้านคันธงในแถบสีน้ำเงินมีรูปดาวห้าแฉกสีเหลือง 1 ดวง กลางธงชาตินั้นมีแถบสีแดงพาดผ่านตามแนวตัง กว้างประมาณ 1 ใน 5 ส่วนของความยาวธง ธงนี้ออกแบบโดย บาร์เตเลมี โบกองดา (Barthélemy Boganda) ประธานาธิบดีคนแรกของดินแดนปกครองตนเองอูบองกี-ชารี (Oubangui-Chari - ต่อมาคือประเทศสาธารณรัฐแอฟริกากลาง) ซึ่งเชื่อว่า "ฝรั่งเศสและแอฟริกาต้องก้าวเดินไปด้วยกัน" และได้ประกาศใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2501 หลังการประกาศเอกราชจากฝรั่งเศสประมาณ 4 เดือน ด้วยความเชื่อข้างต้น โบกองดาจึงได้รวมเอาสีจากธงชาติฝรั่งเศสเข้ากับสีพันธมิตรแอฟริกาในธงนี้ โดยสีแดงนั้นหมายถึงเลือดของประชาชนที่หลั่งออกมาในการต่อสู้เรียกร้องเอกราช และจะไหลรินเพื่อปกป้องชาติต่อไป สีน้ำเงินหมายถึงท้องฟ้าและเสรีภาพ สีขาวคือตัวแทนของความบริสุทธิ์และความสง่างาม สีเขียวเป็นสัญลักษณ์ของความหวังและความเชื่อมั่น และสีเหลืองเป็นเครื่องหมายของความมีขันติธรรม ดังนั้น ความหมายโดยรวมของธงชาติ จึงหมายถึงความปรารถนาของชาวแอฟริกากลางในความเป็นเอกภาพของชาวโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชนชาวแอฟริกาด้วยกัน.

ใหม่!!: เสรีภาพและธงชาติสาธารณรัฐแอฟริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอิรัก

23x15px สัดส่วนธง 2:3 ธงชาติอิรัก (อาหรับ: علم العراق) มีการเปลี่ยนแปลงมาแล้วหลายครั้ง จากความผันผวนทางการเมืองในประเทศ นับตั้งแต่การก่อตั้งประเทศใน พ.ศ. 2464 เป็นต้นมา ธงชาติแบบที่เปลี่ยนแปลงครั้งล่าสุดนี้ ได้ดัดแปลงจากธงชาติอิรัก พ.ศ. 2457-2551 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีแดง-ขาว-ดำ แบ่งตามแนวนอน มีความกว้างแต่ละแถบเท่ากัน กลางแถบสีขาวมีอักษรคูฟิก เขียนเป็นข้อความภาษาอาหรับว่า "อัลลอหุ อักบัร" แปลว่า พระอัลเลาะห์เจ้าทรงเป็นผู้ยิ่งใหญ่ที่สุด ทั้งนี้ เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมโดยยกเอารูปดาวห้าแฉกสีเขียว 3 ดวงออกจากธงเดิมไป ธงดังกล่าวนี้จะใช้เป็นธงชาติอิรักเป็นการชั่วคราว จนกว่าจะมีการรับรองแบบธงชาติใหม่ใน พ.ศ. 2552 ควรรู้ด้วยว่า ด้านคันธงของธงที่มีอักษรอาหรับจารึกอย่างธงนี้อยู่ทางด้านขวา ไม่ใช่ทางด้านซ้ายของผู้สังเกตอย่างธงปกติทั่วไป.

ใหม่!!: เสรีภาพและธงชาติอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอินโดนีเซีย

งชาติอินโดนีเซีย หรือ ซังเมราห์ปูติห์ (Sang Merah Putih, สีแดง-ขาว) เป็นธงที่มีต้นแบบมาจากธงประจำอาณาจักรมัชปาหิตในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็นสองส่วนตามแนวนอน ครึ่งบนสีแดง หมายถึงความกล้าหาญและอิสรภาพ ครึ่งล่างสีขาว หมายถึงความบริสุทธิ์ยุติธรรม ธงนี้มึความคล้ายคลึงกับธงชาติโปแลนด์และธงชาติสิงคโปร์ และเหมือนกับธงชาติโมนาโกเกือบทุกประการ แต่ต่างกันที่สัดส่วนธงเท่านั้น ธงฉานอินโดนีเซียซึ่งธงผืนนี้ใช้โดยกองทัพเรืออินโดนีเซีย จากภาพธงนี้ชักขึ้นที่เสาธงฉานหน้าหัวเรือรบ ธงผืนนี้มีลักษณะเป็นธงลายแถบแดงและขาว9แ.

ใหม่!!: เสรีภาพและธงชาติอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติทิเบต

งชาติทิเบต สัดส่วนธง 2:3 ธงชาติเขตปกครองตนเองทิเบต เริ่มปรากฏการใช้เมื่อ พ.ศ. 2455 โดยทะไลลามะองค์ที่ 13 แห่งทิเบต ทรงออกแบบขึ้น โดยรวมเอาธงประจำกองทัพของชาวทิเบตในทุกเขตแขวงมาสร้างขึ้นเป็นธงเดียว ดังที่ปรากฏในปัจจุบัน ธงนี้ได้ใช้เป็นสัญลักษณ์ของกองทัพชาวทิเบตทั้งหมดมาจนถึง พ.ศ. 2493 เนื่องจากกองทัพปลดปล่อยประชาชนจีนได้บุกเข้ายึดครองทิเบต และสถาปานาดินแดนแห่งนี้เป็นเขตปกครองตนเองพิเศษของสาธารณรัฐประชาชนจีนThe flag was not completely banned from 1951 to 1959 as exceptional case exists, see Melvyn C. Goldstein, Dawei Sherap, and William R. Siebenschuh,, University of California Press, 2004, pp174-175 ในปัจจุบัน ธงนี้ยังคงใช้เป็นสัญลักษณ์ของรัฐบาลทิเบตพลัดถิ่น ซึ่งตั้งมั่นอยู่ที่เมืองธรรมศาลา ประเทศอินเดีย ส่วนในสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งรวมถึงเขตปกครองตนเองทิเบตในปัจจุบัน ถือว่าเป็นธงนอกกฎหมาย เพราะเป็นสัญลักษณ์ของขบวนการเรียกร้องเอกราชของชาวทิเบต อย่างไรก็ตาม การแสดงธงชาติทิเบตในฮ่องกงนั้น รัฐบาลท้องถิ่นมองว่าเป็นการแสดงออกถึงเสรีภาพของชาวทิเบต เนื่องจากว่าเขตบริหารพิเศษฮ่องกงนั้นมีกฎหมายบางส่วนที่บทบัญญัติใช้ในเขตการปกครองของตนแยกจากกฎหมายหลักของสาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: เสรีภาพและธงชาติทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติคาซัคสถาน

งชาติคาซัคสถาน (Қазақстан байрағы) เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2535 หลังจากได้รับเอกราชจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ. 2534 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีฟ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน กลางธงมีรูปนกอินทรีบิน หันหน้าไปทางมุมธงด้านคันธง ภายใต้ดวงอาทิตย์สีทองมีรัศมี 32 แฉก ที่ด้านคันธงนั้นมีลวดลายอย่างลายหน้ากระดานตามแบบวัฒนธรรมคาซัคสถาน แบบสีธงอย่างมาตรฐานมีดังนี้.

ใหม่!!: เสรีภาพและธงชาติคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติปารากวัย

งชาติปารากวัย (bandera de Paraguay) เริ่มใช้เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2385 ภายหลังได้ปรับแบบให้สร้างได้ง่ายขึ้นในปี พ.ศ. 2534 ลักษณะของธงนี้ที่ด้านหน้าและด้านหลังมีรายละเอียดที่แต่ต่างกันเช่นเดียวกันกับธงชาติมอลโดวา ในแต่ละด้านของธงชาตินั้น เป็นพื้นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน ภายในแบ่งพื้นเป็นแถบสามสี แต่ละแถบมีสีแดง ขาว และน้ำเงิน ทุกแถบกว้างเท่ากัน กลางแถบสีขาวของทั้งสองด้านนั้นมีรูปตราสัญลักษณ์ โดยที่ธงด้านหน้านั้นเป็นภาพตราแผ่นดินของปารากวัย กล่าวคือ เป็นรูปดาวห้าแฉกสีเหลือง ล้อมด้วยช่อใบไม้สีเขียวภายในกรอบวงกลมสีแดง ตามแนวกรอบวงกลมนั้นมีอักษรภาษาสเปนว่า REPUBLICA DEL PARAGUAY ("สาธารณรัฐปารากวัย") พื้นตรานั้นเป็นตรากลมสีขาวขอบสีดำ ส่วนด้านหลังนั้นเป็นตราสิงโตสีเหลืองยืนคุ้มกันหมวกเฟรเจียงสีแดง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของเสรีภาพ เบื้องบนมีแพรแถบโค้งสีแดงบรรจุข้อความคำขวัญประจำชาติว่า Paz y Justicia ("สันติภาพและความยุติธรรม") ตรานี้อยู่ในวงกลมพื้นขาวขอบดำเช่นกัน ลักษณะของธงชาติดังกล่าวนี้พ้องกับธงชาติเนเธอร์แลนด์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: เสรีภาพและธงชาติปารากวัย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาตินิการากัว

งชาตินิการากัว มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน ภายในแบ่งเป็นแถบกว้างเท่ากัน 3 แถบ​ ​แถบกลางเป็นสีขาว กลางแถบมีภาพตราแผ่นดินของนิการากัว แถบบนและแถบล่างที่ขนาบอยู่เป็นสีฟ้า ธงนี้มีต้นแบบมาจากธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง โดยได้แรงบันดาลใจมาจากธงชาติอาร์เจนตินา และได้ประกาศใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2451 และ นำกลับมาใช้อีกครั้งเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2514.

ใหม่!!: เสรีภาพและธงชาตินิการากัว · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติแซมเบีย

งชาติแซมเบีย เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีเขียว กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ที่ด้านปลายธงมีแถบแนวตั้ง 3 แถบ เรียงกันเป็นสีแดง สีดำ และสีแสด แถบเหล่านี้แต่ละแถบกว้างเป็น 1 ใน 9 ส่วนของด้านยาวธง และยาวเป็น 2 ใน 3 ของความกว้างของธง ที่ตอนบนของแถบสีดังกล่าวมีรูปนกอินทรีสีแสดอยู่ในท่ากางปีกจะบิน ธงนี้ออกแบบโดย นางกาเบรียล เอลลิสัน (Mrs Gabriel Ellison) ผู้มีผลงานในการออกแบบภาพตราแผ่นดินของแซมเบีย และตราไปรษณียากรอีกจำนวนมากของประเทศ และได้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2507 ซึ่งเป็นวันที่โรซีเดียเหนือประกาศเอกราชจากสหราชอาณาจักร และก่อตั้งประเทศแซมเบีย ภายหลังในปี พ.ศ. 2539 จึงได้มีการปรับสีพื้นธงชาติให้สว่างขึ้น พื้นธงสีเขียวหมายถึงเกษตรกรรมและกิจการป่าไม้ แถบสีแดงหมายถึงการต่อสู้เพื่อเรียกร้องเสรีภาพ แถบสีดำหมายถึงประชาชนชาวแซมเบีย แถบสีแสดหมายถึงทรัพยากรแร่ธาตุต่างๆ ในประเทศ รูปนกอินทรีหมายถึงความสามารถของประชาชนที่จะเผชิญหน้ากับปัญหาของชาติ โดยตรานกอินทรีนำมาจากธงชาติโรซีเดียเหนือในสมัยอาณานิคม.

ใหม่!!: เสรีภาพและธงชาติแซมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ทอร์ (เครือข่ายนิรนาม)

#ทอร์เบราว์เซอร์ --> ทอร์ (Tor) เป็นซอฟต์แวร์เสรี (ฟรี) ที่ช่วยให้สื่อสารทางอินเทอร์เน็ตอย่างนิรนามได้ด้วยการจัดเส้นทางการสื่อสารแบบหัวหอม รวมทั้งช่วยให้สามารถเรียกดูเว็บไซต์บางแห่งที่ถูกเซ็นเซอร์ได้ ส่วนชื่อเป็นอักษรย่อจากโปรเจ็กต์ซอฟต์แวร์ดั้งเดิมคือ "The Onion Router" (เราเตอร์หัวหอม) ทอร์ส่งการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตผ่านเครือข่ายทั่วโลก ฟรี ให้บริการโดยอาสาสมัคร และมีสถานีส่งต่อ/รีเลย์มากกว่า 7,000 สถานี เพื่อซ่อนตำแหน่งและการใช้งานของผู้ใช้จากใครก็ได้ที่ทำการเพื่อสอดแนมทางเครือข่าย หรือเพื่อวิเคราะห์การสื่อสาร เพราะการใช้ทอร์จะทำให้ตามรอยกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ตกลับไปหาผู้ใช้ได้ยากขึ้น ซึ่งรวมทั้ง "การเยี่ยมใช้เว็บไซต์ การโพสต์ข้อความออนไลน์ การส่งข้อความทันที และรูปแบบการสื่อสารอื่น ๆ" ทอร์มุ่งหมายเพื่อป้องกันความเป็นส่วนตัวของผู้ใช้ รวมทั้งป้องกันเสรีภาพและให้สมรรถภาพในการสื่อสารอย่างเป็นส่วนตัว โดยป้องกันการสื่อสารไม่ให้เฝ้าสังเกตได้ การจัดเส้นทางแบบหัวหอม (Onion routing) ทำให้เกิดผลโดยการเข้ารหัสลับในชั้นโปรแกรมประยุกต์ของโพรโทคอลสแตกที่ใช้ในการสื่อสาร โดยทำเป็นชั้น ๆ เหมือนกับของหัวหอม คือทอร์จะเข้ารหัสข้อมูล รวมทั้งเลขที่อยู่ไอพีของโหนดหรือสถานีต่อไปเป็นชั้น ๆ แล้วส่งข้อมูลผ่านวงจรเสมือนที่ประกอบด้วยสถานีรีเลย์ของทอร์ที่เลือกโดยสุ่มเป็นลำดับ ๆ สถานีรีเลย์แต่ละสถานีจะถอดรหัสชั้นการเข้ารหัสชั้นหนึ่ง เพื่อหาว่า สถานีไหนเป็นรีเลย์ต่อไปในวงจร แล้วส่งข้อมูลเข้ารหัสที่เหลือไปให้ สถานีสุดท้ายจะถอดรหัสชั้นลึกสุด แล้วส่งข้อมูลดั้งเดิมไปยังเป้าหมายโดยไม่เปิดเผยและก็ไม่รู้ด้วยถึงเลขที่อยู่ไอพีซึ่งเป็นแหล่งเบื้องต้น เพราะการจัดเส้นทางการสื่อสารจะปิดไว้ส่วนหนึ่ง ณ สถานีเชื่อมต่อทุก ๆ สถานีภายในวงจร วิธีการนี้กำจัดจุด ๆ เดียวชนิดที่การสอดแนมทางเครือข่ายอาจกำหนดต้นปลายการสื่อสาร แต่ฝ่ายตรงข้ามก็อาจพยายามระบุผู้ใช้โดยวิธีการต่าง ๆ ซึ่งอาจทำได้โดยการถือเอาประโยชน์จากจุดอ่อนของซอฟต์แวร์บนคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ เช่น สำนักงานความมั่นคงแห่งชาติสหรัฐมีเทคนิคที่ใช้จุดอ่อนหนึ่งที่ตั้งชื่อรหัสว่า EgotisticalGiraffe ในเว็บเบราว์เซอร์มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ล้าสมัยรุนหนึ่ง ที่เคยรวมแจกจ่ายกับชุดโปรแกรมทอร์ และโดยทั่วไป สำนักงานจะเพ่งเล็งเฝ้าสังเกตผู้ใช้ทอร์ในโปรแกรมการสอดแนม XKeyscore ขององค์กร การโจมตีทอร์เป็นประเด็นงานวิจัยที่ยังดำเนินการอยู่ ซึ่งโปรเจ็กต์ทอร์เองก็สนับสนุน อย่างไรก็ดี ไม่ใช่เพียงแค่ครั้งหนึ่งเท่านั้นเมื่อต้นคริสต์ทศวรรษ 2000 ที่ทอร์ได้พัฒนาขึ้นโดยบุคคลที่อยู่ใต้สัญญาการว่าจ้างจากสำนักงานโปรเจ็กต์การวิจัยก้าวหน้าของกระทรวงกลาโหมสหรัฐ (DARPA) และจากแล็บวิจัยกองทัพเรือสหรัฐ (U.S. Naval Research Laboratory) แต่ตั้งแต่เริ่มโครงการมา เงินทุนโดยมากก็มาจากรัฐบาลกลางสหรั.

ใหม่!!: เสรีภาพและทอร์ (เครือข่ายนิรนาม) · ดูเพิ่มเติม »

ดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน

ลงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีมีชื่อว่า ดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน (Das Lied der Deutschen, แปลว่า "เพลงแห่งชาวเยอรมัน) หรือในอีกชื่อหนึ่ง คือ ดัสดอยท์ชลันด์ลีด (Das Deutschlandlied, แปลว่า "เพลงแห่งเยอรมนี") สำหรับในต่างประเทศในบางครั้งจะรู้จักกันในชื่อ "ดอยท์ชลันด์อือเบอร์อัลเลส" (Deutschland über alles, แปลว่า "เยอรมนีเหนือทุกสิ่ง") ซึ่งเป็นวรรคแรกและท่อนแยกของเพลงนี้ในบทที่ 1 แต่ชื่อดังกล่าวไม่ใช่ชื่อของเพลงนี้อย่างแท้จริง ทำนองของเพลงนี้ประพันธ์โดย โจเซฟ ไฮเดิน เมื่อปี..

ใหม่!!: เสรีภาพและดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 15

อะเมซิ่ง เรซ 15 (The Amazing Race 15) เป็นฤดูกาลที่ 15 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส ซึ่งฤดูกาลนี้จะเริ่มฉายในวันที่ 28 กันยายน..

ใหม่!!: เสรีภาพและดิอะเมซิ่งเรซ 15 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1770

..

ใหม่!!: เสรีภาพและคริสต์ทศวรรษ 1770 · ดูเพิ่มเติม »

ความเสมอภาคทางสังคม

วามเสมอภาค (Equality) เป็นมโนทัศน์พื้นฐานที่สุดเรื่องหนึ่งไม่ว่าจะกล่าวในมิติทางการเมืองหรือในทางเศรษฐกิจ คนทั่วไปมักสับสนคำว่า “เสมอภาค” กับ “เหมือนกัน” (sameness) กล่าวคือ คิดว่าการรับรองความเสมอภาคของมนุษย์เท่ากับการทำให้มนุษย์ทุกคนเท่ากัน จนมักโต้แย้งว่าความเสมอภาคไม่มีทางเป็นไปได้ จึงควรทำความเข้าใจเบื้องต้นว่าหลักการของความเสมอภาค ไม่ได้และไม่เคยเรียกร้องให้มนุษย์ทุกคนต้องเหมือนกันหมด เพราะมนุษย์ย่อมแตกต่างกันเป็นธรรมชาติทั้งโดยชาติพันธุ์ รูปร่าง ผิวพรรณ เพศสภาพ บุคลิก ความเชื่อ ศาสนา วัฒนธรรม และอื่นๆ แต่ความแตกต่างนั้นไม่ได้เป็นเหตุผลทำให้มนุษย์ต้องไม่เสมอภาคกัน เพราะความเสมอภาค (Equality) ตรงข้ามกับความไม่เสมอภาค (Inequality) ไม่ได้ตรงข้ามกับคำว่าความแตกต่าง (Difference) อย่างที่หลายคนทึกทัก นั่นหมายความว่า มนุษย์เราแตกต่างกันโดยธรรมชาติ แต่ก็สามารถและควรเท่าเทียมกันได้ (different but Equal) ดังนั้นเมื่อกล่าวว่า คนเสมอภาคกัน จึงไม่ได้หมายความว่าคนเหมือนกันทุกด้านไม่ว่าจะเป็นชาติตระกูล หน้าตา ความสามารถ สติปัญญา แต่การที่บอกว่าเสมอภาคกันมีความหมายว่า มนุษย์เท่าเทียมกันทั้งในความเป็นมนุษย์ และตามกฎหมายของรัฐ (Kurian, 2011: 515) ดังที่มีวลีสำคัญที่สะท้อนความเสมอภาคคือ “Equality Before the Law” ซึ่งหมายความว่าบุคคลทุกผู้ทุกนามย่อมมีสิทธิได้รับความคุ้มครองตามกระบวนของกฎหมายอย่างเป็นธรรม หรือความเสมอภาคกันในทางการเมืองคือ พลเมืองที่มีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกำหนดย่อมสามารถใช้สิทธิเลือกตั้งได้อย่างเท่าเทียมกัน ในบางกรณี ที่ความเสมอภาคยึดโยงเข้ากับหลักความเป็นธรรม (Justice) จะนำไปสู่การปฏิบัติต่อผู้คนที่แตกต่างกันด้วยมาตรการเฉพาะเพื่อช่วยให้ความแตกต่างกันโดยธรรมชาติได้รับการแก้ไขให้เกิดความเสมอภาคมากขึ้น เช่น มาตรการช่วยเหลือคนด้อยโอกาส คนทุพพลภาพ เพื่อความเสมอภาคในสังคม ดังนั้น การมองอย่างฉาบฉวยว่าการเรียกร้องให้คนเท่ากันหมายถึงการเรียกร้องให้คนเหมือนกันนั้น จึงเป็นความเข้าใจผิดในประเด็นพื้นฐาน.

ใหม่!!: เสรีภาพและความเสมอภาคทางสังคม · ดูเพิ่มเติม »

ความเป็นพลเมือง

วามเป็นพลเมือง (citizenship) คือ สถานภาพของบุคคลที่จารีตประเพณีหรือกฎหมายของรัฐรับรองซึ่งให้แก่สิทธิและหน้าที่แห่งความเป็นพลเมืองแก่บุคคล (เรียก พลเมือง) ซึ่งอาจรวมสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง การทำงานและอาศัยอยู่ในประเทศ สิทธิกลับประเทศ สิทธิครอบครองอสังหาริมทรัพย์ การคุ้มครองทางกฎหมายต่อรัฐบาลของประเทศ และการคุ้มครองผ่านกองทัพหรือการทูต พลเมืองยังมีหน้าที่บางอย่าง เช่น หน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมายของรัฐ จ่ายภาษี หรือรับราชการทหาร บุคคลอาจมีความเป็นพลเมืองมาก และบุคคลที่ไม่มีความเป็นพลเมือง เรียก ผู้ไร้สัญชาติ (stateless) สัญชาติมักใช้เป็นคำพ้องกับความเป็นพลเมืองในภาษาอังกฤษ ที่สำคัญในกฎหมายระหว่างประเทศ แม้คำนี้บางครั้งเข้าใจว่าหมายถึงการเป็นสมาชิกชาติ (กลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่) ของบุคคล ในบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สัญชาติและความเป็นพลเมืองมีความหมายต่างกัน หมวดหมู่:สัญชาติ หมวดหมู่:การปกครอง หมวดหมู่:มโนทัศน์ทางการเมือง หมวดหมู่:กฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง.

ใหม่!!: เสรีภาพและความเป็นพลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของกัวเตมาลา

ตราแผ่นดินของกัวเตมาลา (Escudo de Guatemala) ประกอบด้วย.

ใหม่!!: เสรีภาพและตราแผ่นดินของกัวเตมาลา · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง

ตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง, หรือที่รู้จักกันในชื่อ สหมณฑลแห่งอเมริกากลาง ได้รับการรับรองโดยรัฐสภาสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม ค.ศ. 1823 ภายหลังจากที่ได้แยกตัวประกาศอิสรภาพจากสเปน.

ใหม่!!: เสรีภาพและตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของนิการากัว

ตราแผ่นดินของนิการากัว ประกาศใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรก เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม ค.ศ. 1823 ดวงตราแผ่นดินนี้ มีต้นแบบมาจากตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง ในระยะเวลาต่อมาได้มีการแก้ไขแบบตราแผ่นดินอยู่หลายครั้ง โดยแบบตราปัจจุบันเริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อปี ค.ศ. 1971 (โดยแก้ไขแบบตราแผ่นดินครั้งล่าสุดในปี ค.ศ. 1999).

ใหม่!!: เสรีภาพและตราแผ่นดินของนิการากัว · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตย

รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.

ใหม่!!: เสรีภาพและประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยที่ไม่เสรี

ประชาธิปไตยที่ไม่เสรี (Illiberal Democracy) หมายถึงรูปแบบประชาธิปไตยที่แม้จะมีรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง แต่สิทธิพลเมือง (civil liberties) ของประชาชนมักถูกจำกัด ละเมิด หรือไม่ได้รับความคุ้มครอง มีการปิดกั้นการเข้าถึงข้อมูล สื่อถูกควบคุม และการแสดงความคิดเห็นของประชาชนอยู่ภายใต้การควบคุมอย่างเข้มงวดจากรัฐ นอกจากนี้ในระบอบประชาธิปไตยที่ไม่เสรี กระบวนการเลือกตั้งมักไม่เป็นไปตามหลักการเลือกตั้งในระบอบเสรีประชาธิปไตย ที่เน้นความโปร่งใส (transparency) เป็นอิสระ (free) จากการครอบงำโดยผู้กุมอำนาจรัฐหรืออำนาจอื่นใด การแข่งขันเลือกตั้งให้ความเป็นธรรม (fair) กับผู้แข่งขันและผู้สนับสนุนทุกฝ่าย และประกันความลับของผู้ลงคะแนนเลือกตั้ง (secret ballot) ระบอบประชาธิปไตยที่ไม่เสรีมักเกิดขึ้นในสังคมที่อยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่านจากระบอบที่ไม่เป็นประชาธิปไตยไปสู่การเป็นประชาธิปไตย ซึ่งมักจะเกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนา (developing country) หรือประเทศประชาธิปไตยใหม่ (new democracies) แต่บางครั้งประเทศที่พัฒนาแล้วบางประเทศก็อาจมีมิติของประชาธิปไตยที่ไม่เสรีปรากฏให้เห็นได้ด้วยเช่นกัน อาทิ ในสิงคโปร์ที่มีการเลือกตั้งที่สร้างกติกาปิดกั้นการแข่งขัน กีดกันผู้สมัครฝ่ายค้าน ไม่ประกันความลับของผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง และการจำกัดสิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชนและประชาชนในการแสดงความคิดเห็น (Zakaria, 1997: 22-43).

ใหม่!!: เสรีภาพและประชาธิปไตยที่ไม่เสรี · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยแนวเจฟเฟอร์สัน

แรมบรันด์ท พีล ค.ศ. 1800 ประชาธิปไตยแนวเจฟเฟอร์สัน (Jeffersonian democracy) เป็นประเด็นของจุดประสงค์ทางการเมืองต่างๆ ที่ตั้งตามชื่อประธานาธิบดีทอมัส เจฟเฟอร์สัน ประชาธิปไตยแนวเจฟเฟอร์สันมีอิทธิพลเป็นอันมากต่อการเมืองอเมริกันระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1800 จนถึงคริสต์ทศวรรษ 1820 และเป็นแนวคิดที่ตรงกันข้ามกับประชาธิปไตยแนวแจ็คสันที่มามีอิทธิพลต่อจากแนวเจฟเฟอร์สัน บุคคลสำคัญๆ ที่สนับสนุนรายละเอียดของประชาธิปไตยแนวนี้คือตัวเจฟเฟอร์สันเอง, แอลเบิร์ต กาลลาติน, จอห์น แรนดอล์ฟ โรอันโนค และ แนธาเนีย เมคอน หัวใจของประชาธิปไตยแนวเจฟเฟอร์สันมีลักษณะที่ประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆ ข้างล่างที่กลุ่มเจฟเฟอร์สันได้ทำการเสนอในรูปของสุนทรพจน์และกฎหมายต่างๆ.

ใหม่!!: เสรีภาพและประชาธิปไตยแนวเจฟเฟอร์สัน · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยเชิงเนื้อหา

ประชาธิปไตยเชิงเนื้อหา (Substantive Democracy) เป็นรูปแบบหนึ่งของประชาธิปไตยที่เน้นเรื่องของผลลัพธ์ (outcome) ของกระบวนการและกลไกต่างๆ ในระบอบประชาธิปไตย โดยเกณฑ์หรือมาตรวัดความเป็นประชาธิปไตยเชิงเนื้อหามักประกอบด้ว.

ใหม่!!: เสรีภาพและประชาธิปไตยเชิงเนื้อหา · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยเสรีนิยม

รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2449 ประชาธิปไตยเสรีนิยม หรือ ประชาธิปไตยแบบเสรีนิยม (Liberal democracy) หรือบางครั้งเรียกว่า ประชาธิปไตยแบบตะวันตก เป็นทั้งคตินิยมทางการเมืองและระบอบการปกครองรูปแบบหนึ่ง ที่การปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนจะดำเนินการใต้หลักเสรีนิยม คือ การพิทักษ์สิทธิของปัจเจกบุคคล ซึ่งโดยทั่วไปจะระบุไว้ในกฎหมาย ระบอบมีลักษณะเฉพาะ คือ.

ใหม่!!: เสรีภาพและประชาธิปไตยเสรีนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง

ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิชารัฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมืองเป็นวิชาที่มีลักษณะเป็นสหวิทยาการ (interdisciplinary) ระหว่างวิชาประวัติศาสตร์ และปรัชญาการเมือง.

ใหม่!!: เสรีภาพและประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซ

กรีซ (Greece; Ελλάδα, Elládha เอลาฑา หรือ Ελλάς, Ellás) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเฮลเลนิก (Hellenic Republic; Ελληνική Δημοκρατία, Ellinikí Dhimokratía) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ตอนใต้สุดของคาบสมุทรบอลข่าน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศบัลแกเรีย มาซิโดเนีย และแอลเบเนีย มีพรมแดนทางตะวันออกติดกับประเทศตุรกี อยู่ติดทะเลอีเจียนทางด้านตะวันออก ติดทะเลไอโอเนียนและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านตะวันตกและใต้ กรีซนับว่าเป็นแหล่งอารยธรรมตะวันตกอันยิ่งใหญ่ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ซึ่งกรีซได้แผ่อิทธิพลไปยัง 3 ทวีป ชาวกรีกเรียกประเทศตัวเองว่า Hellas ซึ่งภาษากรีกในปัจจุบันออกเสียง ว่า Ellas โดยในการพูดทั่วไปจะใช้คำว่า Ellada และมักจะเรียกตัวเองว่า Hellenes แม้กระทั่งในภาษาอังกฤษ ซึ่งคำภาษาอังกฤษ "Greece" มาจากชื่อละตินว่า Graecia หมายถึงพื้นที่ทางเหนือของกรีซในปัจจุบัน ซึ่งมีกลุ่มคนที่เรียกว่า Graikos อาศัยอยู.

ใหม่!!: เสรีภาพและประเทศกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนามิเบีย

นามิเบีย (Namibia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐนามิเบีย (Republic of Namibia) เป็นประเทศในทวีปแอฟริกาตอนใต้ ริมฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก มีพรมแดนติดด้านเหนือกับประเทศแองโกลา และแซมเบีย ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับซิมบับเว ทางตะวันออกติดกับบอตสวานา และทางใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ นามิเนียได้รับเอกราชคืนจากประเทศแอฟริกาใต้เมื่อ..

ใหม่!!: เสรีภาพและประเทศนามิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2525

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2525 ในประเทศไท.

ใหม่!!: เสรีภาพและประเทศไทยใน พ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: เสรีภาพและปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

โอ อารายส์ ออล ยู ซัน

"โออะไรส์ ออลล์ยูซันส์" คือ เพลงชาติของประเทศปาปัวนิวกินี ได้รับการนำมาใช้เป็นเพลงชาติเมื่อปาปัวนิวกินีได้รับอิสรภาพในวันที่ 16 กันยายน..

ใหม่!!: เสรีภาพและโอ อารายส์ ออล ยู ซัน · ดูเพิ่มเติม »

ไรส์แอนด์ฟอล: ซิวิไลเซชันแอทวอร์

รส์แอนด์ฟอล: ซิวิไลเซชันแอทวอร์ (Rise and Fall: Civilizations at War) เป็นเกมกลยุทธ์เรียลไทม์ที่ได้รับการพัฒนาโดยสเตนเลสสตีลสตูดิโอและมิดเวย์เกมส์ โดยได้รับการเปิดตัว ณ วันที่ 12 มิถุนายน..

ใหม่!!: เสรีภาพและไรส์แอนด์ฟอล: ซิวิไลเซชันแอทวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเรดนิวส์

วิวาทะ ฉบับ ไทย เรดนิวส์ เป็นหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์เชิงวิเคราะห์เจาะลึกการเมืองไทย นำเสนอข่าวสารเชิงลึก เพื่อเปิดเผยความจริง และสร้างสรรค์สังคม พร้อมเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหา ให้ความรู้ที่ถูกต้องแก่สังคม ก่อตั้งโดย นายวิบูลย์ แช่มชื่น อดีตสมาชิกวุฒิสภา และ นายสมยศ พฤกษาเกษมสุข ผู้แทนองค์กรพัฒนาเอกชนด้านแรงงาน วางแผงเป็นฉบับแรก เมื่อวันศุกร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2552 จำหน่ายราคาฉบับละ 20.00 บาท หนังสือพิมพ์ ไทย เรดนิวส์ มีคณะที่ปรึกษา ประกอบด้วย นายมานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ, ศาสตราจารย์ บุญทัน ดอกไธสง, นายแพทย์ เหวง โตจิราการ, นายคณิน บุญสุวรรณ, นายอดิศร เพียงเกษ, นายพศ อดิเรกสาร, นางประทีป อึ้งทรงธรรม ฮาตะ, นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล, นายวรพล พรหมิกบุตร, นายสมพงษ์ สระกวี, นายสุธาชัย ยิ้มประเสริฐ, นายพิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์ และ พลตำรวจเอก ดรุณ โสตถิพันธุ์ อนึ่ง เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ออกคำสั่งที่ 71/2553 ตามอำนาจของ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พุทธศักราช 2548 ห้ามมิให้หนังสือพิมพ์วิวาทะ ฉบับไทยเรดนิวส์ เสนอข่าวสาร หรือทำให้ปรากฏแพร่หลายซึ่งข่าวสาร ที่มีข้อความและเนื้อหา ที่กระทบกระเทือนต่อความมั่นคง และความสงบเรียบร้อย ภายในราชอาณาจักร อันทำให้เกิดความปั่นป่วน หรือกระด้างกระเดื่องในหมู่ประชาชน และบั่นทอนความเป็นปึกแผ่น แน่นแฟ้นของคนในชาติ หากฝ่าฝืน ต้องระวางโทษ จำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรั.

ใหม่!!: เสรีภาพและไทยเรดนิวส์ · ดูเพิ่มเติม »

เสรี

รี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เสรีภาพและเสรี · ดูเพิ่มเติม »

เสรีภาพ

รีภาพ, อิสรภาพ หรือเสรีธรรม ในทางปรัชญา หมายถึง เจตจำนงเสรี ซึ่งตรงข้ามกับนิยัตินิยม ในทางการเมือง เสรีภาพประกอบด้วยเสรีภาพทางสังคมและการเมืองที่รับประกันแก่พลเมืองทุกคน ในทางเทววิทยา เสรีภาพ คือ อิสรภาพจากพันธะบาป.

ใหม่!!: เสรีภาพและเสรีภาพ · ดูเพิ่มเติม »

เสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ

รีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ (Liberté, Égalité, Fraternité) เป็นคำขวัญประจำชาติของสาธารณรัฐฝรั่ง.

ใหม่!!: เสรีภาพและเสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

เสรีภาพสื่อ

เสรีภาพของสื่อ (freedom of the press หรือ freedom of the media) เป็น เสรีภาพรูปแบบหนึ่ง เกี่ยวกับการสื่อสารโทรคมนาคมและสื่อมวลชน รวมถึงสื่ออีเลกโทนิก และ และสื่อสิ่งพิมพ์ โดยปราศจากการแทรกแซงของรัฐ โดยประเทศไทยในปี..

ใหม่!!: เสรีภาพและเสรีภาพสื่อ · ดูเพิ่มเติม »

เสรีภาพทางความคิด

รีภาพทางความคิด (Freedom of thought) คือเสรีภาพของบุคคลในการยึดถือหรือพิจารณาข้อเท็จจริง, มุมมอง, ความคิด, หรือมีอิสรภาพจากความคิดของผู้อื่น และมีความหมายคล้ายกับเสรีภาพในการแสดงออก.

ใหม่!!: เสรีภาพและเสรีภาพทางความคิด · ดูเพิ่มเติม »

เสรีนิยม

เสรีนิยม (liberalism) เป็นปรัชญาการเมืองหรือมุมมองทางโลกซึ่งตั้งอยู่บนความคิดเสรีภาพและความเสมอภาค นักเสรีนิยมยอมรับมุมมองหลากหลายขึ้นอยู่กับความเข้าใจหลักการเหล่านั้น แต่โดยทั่วไปสนับสนุนความคิดอย่างเสรีภาพในการพูด เสรีภาพสื่อ เสรีภาพทางศาสนา ตลาดเสรี สิทธิพลเมือง สังคมประชาธิปไตย รัฐบาลฆราวาส ความเสมอภาคทางเพศและการร่วมมือระหว่างประเทศ ทีแรก เสรีนิยมเป็นขบวนการทางการเมืองต่างหากระหว่างยุคเรืองปัญญา เมื่อได้รับความนิยมในหมู่นักปรัชญาและนักเศรษฐศาสตร์ในโลกตะวันตก เสรีนิยมปฏิเสธความคิดซึ่งสามัญในเวลานั้น เช่น เอกสิทธิ์แบบสืบเชื้อสาย ศาสนาประจำชาติ สมบูรณาญาสิทธิราชและเทวสิทธิ์ของกษัตริย์ มักยกย่องจอห์น ล็อก นักปรัชญาสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 ว่าเป็นผู้ก่อตั้งเสรีนิยมเป็นประเพณีปรัชญาต่างหาก ล็อกแย้งว่ามนุษย์มีสิทธิธรรมชาติในชีวิต เสรีภาพและทรัพย์สิน และตามสัญญาสังคม รัฐบาลต้องไม่ละเมิดสิทธิเหล่านี้ นักเสรีนิยมคัดค้านอนุรักษนิยมประเพณีและมุ่งเปลี่ยนสมบูรณาญาสิทธิ์ในการปกครองเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนและหลักนิติธรรม นักปฏิวัติผู้โด่งดังในการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ การปฏิวัติอเมริกา และการปฏิวัติฝรั่งเศสใช้ปรัชญาเสรีนิยมเพื่ออ้างความชอบธรรมการโค่นสิ่งที่มองว่าเป็นการปกครองทรราชด้วยอาวุธ เสรีนิยมเริ่มลามอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีการตั้งรัฐบาลเสรีนิยมในประเทศต่าง ๆ ทั้งในทวีปยุโรป อเมริกาใต้และอเมริกาเหนือ ในช่วงนี้คู่แข่งอุดมการณ์หลัก คือ อนุรักษนิยม แต่ภายหลังเสรีนิยมรอดการท้าทายทางอุดมการณ์วสำคัญจากคู่แข่งใหม่อย่างฟาสซิสต์และลัทธิคอมมิวนิสต์ ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 20 ความคิดเสรีนิยมยิ่งลามอีกเมื่อประชาธิปไตยเสรีนิยมเป็นฝ่ายชนะสงครามโลกทั้งสองครั้ง ในทวีปยุโรปและอเมริกา การสถาปนาเสรีนิยมสังคม (social liberalism) เป็นองค์ประกอบสำคัญของการขยายรัฐสวัสดิการ ปัจจุบัน พรรคการเมืองเสรีนิยมยังครองอำนาจและอิทธิพลทั่วโลก หมวดหมู่:ขบวนการทางปรัชญา หมวดหมู่:ปรัชญาการเมือง หมวดหมู่:อุดมการณ์ทางการเมือง หมวดหมู่:วัฒนธรรมทางการเมือง หมวดหมู่:ทฤษฎีสังคม หมวดหมู่:ปัจเจกนิยม.

ใหม่!!: เสรีภาพและเสรีนิยม · ดูเพิ่มเติม »

12 มิถุนายน

วันที่ 12 มิถุนายน เป็นวันที่ 163 ของปี (วันที่ 164 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 202 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เสรีภาพและ12 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

23 มีนาคม

วันที่ 23 มีนาคม เป็นวันที่ 82 ของปี (วันที่ 83 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 283 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เสรีภาพและ23 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 เมษายน

วันที่ 23 เมษายน เป็นวันที่ 113 ของปี (วันที่ 114 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 252 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เสรีภาพและ23 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

28 เมษายน

วันที่ 28 เมษายน เป็นวันที่ 118 ของปี (วันที่ 119 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 247 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เสรีภาพและ28 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Libertyอิสรภาพเสรีธรรม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »