โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ค่ายมรณะ

ดัชนี ค่ายมรณะ

มรณะ (Extermination camp หรือ Death camp) สร้างโดยนาซีเยอรมนีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองเพื่อเป็นสถานที่สำหรับสังหารผู้คนเป็นจำนวนล้าน (โดยเฉพาะชาวยิว) อย่างมีระบบ การพันธุฆาตชาวยิวเป็น “วิธีแก้ปัญหาสุดท้ายของปัญหาชาวยิว” (Die Endlösung der Judenfrage) ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ความพยายามของนาซีในการกำจัดชาวยิวทั้งหมดมาเรียกรวมกันว่า “การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์” หรือ “The Holocaust”.

22 ความสัมพันธ์: ชุทซ์ชทัฟเฟิลฟรานซ์ คาฟคากรากุฟการประชุมที่วานเซมาเรีย มันเดอรถไฟฮอโลคอสต์อัคซีโยน 14เอฟ13อารามเอียร์เซอดอล์ฟ ฮิตเลอร์อดอล์ฟ ไอชมันน์ฮอโลคอสต์ฮอโลคอสต์ในโปแลนด์ค่ายกักกันนาซีค่ายกักกันไมดาเนกค่ายกักกันเอาชวิทซ์ค่ายมรณะเบวเชตซ์ค่ายมรณะเทรบลิงคาปฏิบัติการไรน์ฮาร์ดแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ไซคลอน บีเอ็สเอ็ส-โทเทินคอฟเฟอร์แบนเดอ

ชุทซ์ชทัฟเฟิล

ทซ์ชทัฟเฟิล (Schutzstaffel "ᛋᛋ" ที่เป็นอักษรรูน) หรือ เอ็สเอ็ส (SS) เป็นองค์กรกำลังกึ่งทหารสังกัดพรรคนาซีภายใต้คำสั่งของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เดิมมีชื่อองค์กรว่า ซาล-ซุทซ์ (Saal-Schutz) ซึ่งมีสมาชิกเป็นอาสาสมัครของพรรคนาซีเพื่อคุ้มกันและดูแลความปลอดภัยในการประชุมพรรคที่เมืองมิวนิก เมื่อไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์เข้าร่วมองค์กรในปี..

ใหม่!!: ค่ายมรณะและชุทซ์ชทัฟเฟิล · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานซ์ คาฟคา

ลายเซ็นของฟรานซ์ คาฟคา ฟรานซ์ คาฟคา (Franz Kafka) (3 กรกฎาคม ค.ศ. 1883 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 1924) ฟรานซ์ คาฟคาเป็นนักเขียนชาวยิวคนสำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 20 คาฟคาถือกำเนิดมาในครอบครัวที่พูดภาษาเยอรมัน ผู้มีฐานะปานกลางในกรุงปรากใน ราชอาณาจักรโบฮีเมีย ที่ขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันสาธารณรัฐเช็ก) ผลงานเขียนอันเป็นเอกลักษณ์ของคาฟคาที่ส่วนใหญ่เป็นงานที่เขียนค้างไว้ และส่วนใหญ่ตีพิมพ์หลังจากที่เสียชีวิตไปแล้วถือว่าเป็นงานที่มีอิทธิต่องานวรรณกรรมตะวันตกมากที่สุดContijoch, Francesc Miralles (2000) "Franz Kafka".

ใหม่!!: ค่ายมรณะและฟรานซ์ คาฟคา · ดูเพิ่มเติม »

กรากุฟ

กรากุฟ (Kraków) หรือ คราเคา (Krakow หรือ Cracow) เป็นหนึ่งในเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองและเก่าแก่ที่สุดในโปแลนด์และเป็นจุดหมายปลายทางที่นิยมของนักท่องเที่ยวเขตเมืองเก่าได้รับการบรรจุอยู่ในรายชื่อมรดกโลก เมืองตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำวิสตูลาในจังหวัดมาวอปอลสกา (เลสเซอร์โปแลนด์) เมืองมีที่มาตั้งแต่ในคริสต์ศตวรรษที่ 7The Municipality Of Kraków Press Office, 1996–2007, in participation with ACK Cyfronet of the AGH University of Science and Technology, กรากุฟเป็นหนึ่งในเมืองศูนย์กลางชั้นนำอย่างมีแบบแผนของสถาบันการศึกษาโปแลนด์ วัฒนธรรมและชีวิตศิลปะ และยังเป็นหนึ่งเมืองศูนย์กลางสำคัญด้านธุรกิจของโปแลนด์ เป็นเมืองหลวงของโปแลนด์ระหว่างปี..

ใหม่!!: ค่ายมรณะและกรากุฟ · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมที่วานเซ

หาสน์ ณ 56–58 เอเอ็ม โกเบน วานเซ (Am Großen Wannsee) ที่ประชุมวันน์เซ ปัจจุบันเป็นหออนุสรณ์และพิพิธภัณฑ์ การประชุมที่วานเซ (Wannsee Conference; Wannseekonferenz) เป็นการประชุมข้าราชการระดับสูงของนาซีเยอรมนีและผู้นำเอ็สเอ็ส จัดขึ้นที่เมืองวานเซ ชานกรุงเบอร์ลิน ณ วันที่ 20 มกราคม..

ใหม่!!: ค่ายมรณะและการประชุมที่วานเซ · ดูเพิ่มเติม »

มาเรีย มันเดอ

มาเรีย มันเดอ(Maria Mandl) (เช่นเดียวกับการสะกดว่า Mandel; 10 มกราคม ค.ศ. 1912 – 24 มกราคม ค.ศ. 1948) เป็นเจ้าหน้าที่เอ็สเอ็ส-เฮลเฟอริน(SS-Helferin)หรือผู้ช่วยหญิงเอ็สเอ็ส ชาวออสเตรียที่มีชื่อเสียงที่เลวร้ายที่สุดสำหรับบทบาทสำคัญของเธอในการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของนาซีหรือฮอโลคอสต์ในฐานะเจ้าหน้าที่ระดับสูงที่ค่ายมรณะเอาชวิทซ์-เบียร์เคเนา ที่เชื่อว่าเธอมีส่วนร่วมอย่างโดยตรงในการเสียชีวิตของนักโทษหญิงทั้งหมด 500,000 คน ภายหลังสงคราม เธอได้พยายามหลบหนีไปบ้านเกิดแต่กลับถูกจับกุมได้และถูกคุมขังเอาไว้ จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: ค่ายมรณะและมาเรีย มันเดอ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฮอโลคอสต์

รถไฟฮอโลคอสต์เป็นขบวนรถไฟขนส่งที่ถูกดำเนินโดย Deutsche Reichsbahn (การรถไฟแห่งชาติเยอรมัน) ระบบขบวนรถไฟแห่งชาติภายใต้การควบคุมกำกับดูแลอย่างเข้มงวดของนาซีเยอรมันและประเทศพันธมิตร(ฝ่ายอักษะ) เพื่อความมุ่งหมายในการขับไล่เนรเทศชาวยิว, เช่นเดียวกับคนอื่นๆที่ตกเป็นเหยื่อของฮอโลคอสต์ ไปยังค่ายกักกัน ค่ายแรงงานบังคับ และค่ายมรณะของนาซีเยอรมัน นักประวัติศาสตร์สมัยใหม่ได้กล่าวว่า ถ้าหากไม่มีการขนส่งผู้คนจำนวนมากโดยทางรถไฟนั้น สิ่งที่เรียกว่า "มาตราการสุดท้าย"คือการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์อย่างเป็นระบบก็จะเป็นสิ่งที่แทบจะเป็นไปไม่ได้เลย การกำจัดผู้คนที่เป็นถูกกำหนดใน"มาตราการสุดท้าย" ขึ้นอยู่กับสองปัจจัยคือ ความจุปริมาณของค่ายมรณะเพื่อที่จะรมแก๊สเหยื่อ และ"กระบวนจัดการ"กับศพของพวกเขาอย่างที่พอจะรวดเร็วได้ เช่นเดียวกับความจุปริมาณของรถไฟในการขนส่งเหยื่อจากเกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซีและยิวเกตโตในโปแลนด์ภายใต้การยึดครองเยอรมันเพื่อที่จะได้คัดเลือกให้ไปยังสถานที่กำจัดให้สิ้น จำนวนตัวเลขที่ถูกต้องในปัจจุบันบนส่วนหนึ่งของ"มาตราการสุดท้าย"ยังคงขึ้นอยู่กับบันทึกประวัติการขนส่งของการรถไฟเยอรมัน.

ใหม่!!: ค่ายมรณะและรถไฟฮอโลคอสต์ · ดูเพิ่มเติม »

อัคซีโยน 14เอฟ13

ปฏิบัติการ 14เอฟ13, หรือเรียกว่า "Sonderbehandlung (การรักษาแบบพิเศษ) 14เอฟ13" และ อัคซีโยน 14เอฟ13,เป็นโครงการรณรงค์ของนาซีเยอรมนีในการสังหารนักโทษค่ายกักกันนาซี.หรือเรียกอีกอย่างว่า คนป่วย หรือ การให้การุณยฆาตแก่นักโทษ.โครงการรณรงค์นี้ได้สังหารผู้ป่วย, คนแก่ และคนที่ถูกลงความเห็นว่าไม่เหมาะสมสำหรับการใช้แรงงาน,จากส่วนที่เหลือของนักโทษในกระบวนการคัดเลือก,ภายหลังจากที่พวกเขาถูกฆ่าต.โครงการรณรงค์ของนาซีได้เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ค่ายมรณะและอัคซีโยน 14เอฟ13 · ดูเพิ่มเติม »

อารามเอียร์เซ

อารามเอียร์เซ (Reichsabtei Irsee, Irsee Abbey) เป็นอารามคณะเบเนดิกตินที่ตั้งอยู่เมืองเอียร์เซในบาวาเรียในประเทศเยอรมนี ในปัจจุบันอารามเอียร์เซใช้เป็นสถานที่สำหรับการประชุมสัมมนา และศูนย์ฝึกหัดของเขตบริหารชวาเบี.

ใหม่!!: ค่ายมรณะและอารามเอียร์เซ · ดูเพิ่มเติม »

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ใหม่!!: ค่ายมรณะและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อดอล์ฟ ไอชมันน์

ออทโท อดอล์ฟ ไอชมันน์ (Otto Adolf Eichmann, 19 มีนาคม ค.ศ. 1906 - 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1962) เป็นสมาชิกพรรคนาซี และ โอเบอร์ชตูร์มบันน์ฟือเรอร์ (พันโท) ของหน่วยเอ็สเอ็ส และหนึ่งในผู้จัดการการล้างชาติโดยนาซีคนสำคัญ เพราะความสามารถพิเศษในการจัดการเป็นระบบและความน่าเชื่อถือทางอุดมการณ์ ไอชมันน์จึงได้รับมอบหมายจากไรน์ฮาร์ด ฮายดริชให้ปฏิบัติงานอำนวยความสะดวกและจัดการพลาธิการการเนรเทศชาวยิวขนานใหญ่ไปยังเก็ตโตและค่ายมรณะในยุโรปตะวันออกภายใต้การยึดครองของเยอรมนี หลังสงครามยุติ เขาบินไปยังอาร์เจนตินาโดยใช้บัตรอนุญาต (laissez-passer) ออกโดย กาชาดสากล ที่ได้มาโดยตลบแตลง เขาอาศัยอยู่ในอาร์เจนตินาภายใต้รูปพรรณปลอม ทำงานให้กับเมอร์ซิเดสเบนซ์ถึง..

ใหม่!!: ค่ายมรณะและอดอล์ฟ ไอชมันน์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮอโลคอสต์

"การเลือกสรร" ในค่ายกักกันเอาชวิทซ์ พฤษภาคม/มิถุนายน 1944; ผู้ที่ถูกส่งไปอยู่ทางขวา คือ ไปใช้แรงงานทาส ส่วนผู้ที่ถูกส่งไปทางซ้าย คือ ไปห้องรมแก๊ส จากภาพ เป็นชาวยิวฮังการีที่เพิ่งมาถึงค่าย ผู้ถ่าย คือ แอร์นสท์ ฮอฟมันน์หรือเบอร์นาร์ด วอลเตอร์แห่งหน่วยเอสเอส ฮอโลคอสต์, โฮโลคอสต์ (The Holocaust) หรือรู้จักในอีกชื่อว่า haShoah (ภาษาฮีบรู: השואה), Churben (ภาษายิดดิช: חורבן) เป็นพันธุฆาตชาวยิวในยุโรปประมาณ 6 ล้านคนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โครงการฆาตกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐโดยเยอรมนี นำโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ทั่วทั้งดินแดนที่เยอรมนียึดครอง จากชาวยิว 9 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรปก่อนฮอโลคอสต์ ประมาณสองในสามถูกสังหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กชาวยิวกว่า 1 ล้านคนถูกสังหารในฮอโลคอสต์ เช่นเดียวกับหญิงชาวยิวประมาณ 2 ล้านคน และชายชาวยิว 3 ล้านคน นักวิชาการบางส่วนเสนอว่า นิยามของฮอโลคอสต์ยังควรรวมถึงพันธุฆาตประชากรกลุ่มอื่นอีกหลายล้านคนของนาซี รวมทั้งชาวโรมานี นักคอมมิวนิสต์ เชลยศึกโซเวียต พลเรือนโปแลนด์และโซเวียต พวกรักเพศเดียวกัน ผู้ทุพพลภาพ พยานพระยะโฮวา และคู่แข่งทางการเมืองและศาสนาอื่น ๆ ไม่ว่ากลุ่มชาติพันธุ์เยอรมันหรือไม่ก็ตาม นิยามนี้เป็นนิยามที่สามัญที่สุดนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดจนถึงคริสต์ทศวรรษ 1960 หากใช้นิยามนี้ จำนวนเหยื่อฮอโลคอสต์ทั้งสิ้นอยู่ระหว่าง 11 ถึง 17 ล้านคน เฮนรี ฟีแลนเดอร์นิยามฮอโลคอสต์ว่า "การสังหารหมู่มนุษย์ เพราะพวกเขาเป็นสมาชิกของกลุ่มที่นิยามทางชีวภาพ" หมายความว่า "พวกนาซีใช้นโยบายการกำจัดที่คงเส้นคงวาและครอบคลุมเฉพาะกับมนุษย์สามกลุ่ม ผู้พิการ ชาวยิวและพวกยิปซี" การเบียดเบียนและพันธุฆาตมีการดำเนินแบ่งเป็นขั้น มีกฎหมายหลายฉบับที่ดึงชาวยิวออกจากประชาสังคม ที่เห็นชัดที่สุดคือ กฎหมายเนือร์นแบร์ก ซึ่งใช้บังคับในเยอรมนีหลายปีก่อนสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้น มีการสร้างค่ายกักกันซึ่งผู้ถูกกักกันถูกบังคับให้ใช้แรงงานทาสกระทั่งเสียชีวิตด้วยการหมดแรงหรือโรค ที่ใดที่เยอรมนียึดครองดินแดนใหม่ในยุโรปตะวันออก หน่วยเฉพาะที่เรียกว่า ไอน์ซัทซกรุพเพน จะฆาตกรรมยิวและคู่แข่งทางการเมืองในการยิงหมู่ ผู้ยึดครองกำหนดให้ชาวยิวและโรมานีถูกจำกัดอยู่ในเกตโตที่แออัดยัดเยียดก่อนถูกขนส่งโดยรถสินค้าไปยังค่ายมรณะ ที่ซึ่ง หากพวกเขารอดชีวิตจากการเดินทาง จะถูกสังหารไปโดยมากในห้องรมแก.

ใหม่!!: ค่ายมรณะและฮอโลคอสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮอโลคอสต์ในโปแลนด์

อโลคอสต์ในโปแลนด์ภายใต้การยึดครองของเยอรมนี เป็นช่วงสุดท้ายและเป็นขั้นตอนที่ร้ายแรงที่สุดของนาซีคือ การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย (Endlösung der Judenfrage) ซึ่งได้ทำเครื่องหมายโดยการก่อสร้างค่ายมรณะบนประเทศโปแลนด์ที่ถูกเยอรมนียึดครอง การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์อย่างเป็นทางการได้รับการอนุมัติและปฏิบัติการโดยจักรวรรดิไรชส์ที่สามในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เรียกกันโดยรวมแล้วว่า ฮอโลคอสต์ ได้คร่าชีวิตชาวโปลเชื้อสายยิวจำนวนสามล้านคนและจำนวนที่ใกล้เคียงชองชาวโปล ยังไม่รวมถึงความสูญเสียชองพลเรือนชาวโปลของชาติพันธุ์อื่นๆ ค่ายมรณะได้มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการดำเนินการตามนโยบายของเยอรมนีในการทำลายล้างอย่างเป็นระบบและประสบความสำเร็จมากที่สุดเพียง 90% ของจำนวนประชากรโปแลนด์-ยิวของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง ทุกสาขาของระบบการปกครองข้าราชการของเยอรมนีที่ซับซ้อนได้มีส่วนร่วมในกระบวนการสังหาร จากกระทรวงมหาดไทยและกระทรวงการคลัง ไปยังบริษัทเยอรมนีและการรถไฟของรัฐได้ถูกใช้สำหรับการเนรเทศชาวยิว บริษัทเยอรมนีได้เสนอประมูลราคาสำหรับการทำสัญญาในการสร้างเตาเผาศพภายในค่ายกักกันที่ได้ดำเนินการโดยนาซีเยอรมนีในเขตปกครองสามัญ เช่นเดียวกับในส่วนที่อื่นๆของเขตยึดครองโปแลนด์และอื่น ๆ—— Second ed.

ใหม่!!: ค่ายมรณะและฮอโลคอสต์ในโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ค่ายกักกันนาซี

กองกำลังสหรัฐอเมริกา ณ ค่ายกักกันซึ่งได้รับการปลดปล่อย แสดงให้พลเรือนชาวเยอรมันเห็นพร้อมกับหลักฐาน: รถบรรทุกซึ่งเต็มไปด้วยซากศพ นาซีเยอรมนีได้จัดตั้งค่ายกักกันขึ้นตลอดดินแดนยึดครองของตน ค่ายกักกันนาซีในช่วงแรก ๆ เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างมากในเยอรมนีภายหลังเหตุการณ์เพลิงไหม้รัฐสภาไรช์สทัก ในปี..

ใหม่!!: ค่ายมรณะและค่ายกักกันนาซี · ดูเพิ่มเติม »

ค่ายกักกันไมดาเนก

แผนที่ค่ายกักกันและค่ายมรณะของนาซีในโปแลนด์ ไมดาเนกหรือเคเอล ลูบลิน เป็นค่ายกักกันและค่ายมรณะของเยอรมันที่ถูกสร้างขึ้นและปฏิบัติการโดยหน่วยเอ็สเอ็สที่ชานเมืองของลูบลินในช่วงที่เยอรมันยึดครองโปแลนด์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง แม้ว่าจะมีวัตถุประสงค์เพื่อบังคับใช้แรงงานทาสมากกว่าการสังหาร ค่ายแห่งนี้ถูกใช้เพื่อทำการสังหารผู้คนในระดับขนาดอุตสาหกรรมในช่วงปฏิบัติการไรน์ฮาร์ด เยอรมันได้วางแผนเพื่อกำจัดชาวยิวทั้งหมดภายในอานาเขตของรัฐบาลสามัญในโปแลนด์ ค่ายแห่งนี้,ซึ่งได้ปฏิบัติการตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: ค่ายมรณะและค่ายกักกันไมดาเนก · ดูเพิ่มเติม »

ค่ายกักกันเอาชวิทซ์

ทางเข้าค่ายกักกันเอาชวิทซ์ ค่ายกักกันเอาชวิทซ์ หรือ ค่ายกักกันเอาชวิทซ์-เบียร์เคเนา (Auschwitz concentration camp หรือ Auschwitz-Birkenau) เป็นค่ายกักกันและค่ายมรณะที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาค่ายกักกันของนาซีของนาซีเยอรมนีที่ทำการระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ชื่อของค่ายกักกันมาจากชื่อของเมือง "ออชเฟียนชิม" (Oświęcim) หลังจากการบุกครองโปแลนด์ ในเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ค่ายมรณะและค่ายกักกันเอาชวิทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ค่ายมรณะเบวเชตซ์

มรณะเบวเชตซ์ (Bełżec extermination camp) เป็นค่ายมรณะแรกที่สร้างขึ้นโดยนาซีเยอรมนีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองเพื่อสนองจุดประสงค์ของการปฏิบัติการรีนฮาร์ด (Aktion Reinhard) ซึ่งเป็นการปฏิบัติการที่มีจุดมุ่งหมายในการกำจัดชาวยิวจากแผ่นดินเยอรมัน ค่ายมรณะเบวเชตซ์เปิดทำการในปี..

ใหม่!!: ค่ายมรณะและค่ายมรณะเบวเชตซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ค่ายมรณะเทรบลิงคา

ทรบลิงคา()เป็นค่ายมรณะ,ถูกสร้างขึ้นโดยนาซีเยอรมนีในเขตการยึดครองโปลแลนด์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.ตั้งอยู่ที่ในป่าทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงวอร์ซอ,เพียง 4 กิโลเมตร(2.5 ไมล์) ทางตอนใต้ของสถานีรถถไฟเทรบลิงคา ปัจจุบันนี้คือMasovian Voivodeshipหรือจังหวัดมาซอฟแ.ค่ายได้ดำเนินการระหว่างวันที่ 23 กรกฎาคม 1942 และ 19 ตุลาคม 1943 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของปฏิบัติการรีนฮาร.ขั้นตอนสุดท้ายของมาตราการสุดท้าย(Final Solution).ในระหว่างช่วงเวลา,คาดว่าชาวยิวประมาณ 700,000 และ 900,000 คนถูกฆ่าตายในห้องรมก๊าซ,พร้อมกับชาวโรมาเนียกว่า 2,000 คน.ชาวยิวคนอื่นๆถูกสังหารในเทรบลิงคามากกว่าค่ายมรณะของนาซีอื่นๆ นอกเหนือจากค่ายกักกันเอาชวิทซ.

ใหม่!!: ค่ายมรณะและค่ายมรณะเทรบลิงคา · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการไรน์ฮาร์ด

ปฏิบัติการไรน์ฮาร์ด(Aktion Reinhard)เป็นรหัสนามที่มอบให้กับแผนการลับของนาซีเยอรมันที่จะทำการสังหารหมู่ชาวโปแลนด์เชื้อสายยิวส่วนใหญ่ในรัฐบาลสามัญเยอรมันในเขตการยึดครองโปแลนด์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการครั้งนี้เป็นช่วงที่เลวร้ายที่สุดของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยนาซี(Holocaust)และเป็นการแนะนำของค่ายมรณ.

ใหม่!!: ค่ายมรณะและปฏิบัติการไรน์ฮาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันออกเป็นเขตสงครามหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง มีอักษะประเทศในทวีปยุโรป และคู่สงครามร่วมฟินแลนด์ฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียต โปแลนด์และชาติสัมพันธมิตรจำนวนหนึ่งอีกฝ่ายหนึ่งเป็นคู่สงคราม เขตสงครามนี้กินอาณาบริเวณยุโรปตะวันออก บางส่วนของยุโรปเหนือและยุโรปใต้ สู้รบกันระหว่างวันที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: ค่ายมรณะและแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง) · ดูเพิ่มเติม »

ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์

น์ริช ลุทโพลด์ ฮิมม์เลอร์ (Heinrich Luitpold Himmler) เป็นหนึ่งในผู้นำพรรคนาซีในเยอรมนี และเป็น ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส ของหน่วย ชุทซ์ชทัฟเฟิล (เอ็สเอ็ส) รับผิดชอบด้านการคุมกำลังหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สทั้งหมดในไรช์ เขาเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในไรช์ และเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงในการทำฮอโลคอสต์ชาวยิวSource: Der Spiegel, Issue dated 3 November 2008: Hitlers Vollstrecker – Aus dem Leben eines Massenmörders ฮิมม์เลอร์เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: ค่ายมรณะและไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไซคลอน บี

ป้ายฉลากของไซคลอน บีจาก ค่ายกักกันดาเคา ถูกใช้เป็นหลักฐานในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก. แผงแรกและที่สามได้มีข้อมูลเกี่ยวกับชื่อผู้ผลิตและชื่อแบรนด์ ส่วนแผนกลาง อ่านว่า "แก๊สพิษ" การเตรียมไซยาไนด์เพื่อเปิดและถูกใช้งานโดยบุคลากรที่ผ่านการฝึกอบรมเท่านั้น. ไซคลอน บี(Zyklon B)(anglicized หรือแปลว่า ไซโคลน บี)เป็นชื่อทางการค้าของยาฆ่าแมลงที่มีไซยาไนด์เป็นส่วนประกอบ มีการคิดค้นขึ้นในประเทศเยอรมนีในช่วงต้นทศวรรษที่ 1920.มันประกอบด้วยกรดไฮโดรเจนไซยาไนด์(กรดพลัสสิค) รวมทั้งสารระคายเคืองดวงตาและสารดูดซับตัวอื่นๆ เช่น ดิน.ผลิตภัณฑ์นี้เป็นที่น่าอัปยศอดสูสำหรับการถูกใช้งานโดยนาซีเยอรมนีระหว่างการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยนาซีเพื่อการสังหารผู้คนประมาณหนึ่งล้านคนในห้องรมก๊าซที่ถูกติดตั้งในค่ายเอาชวิทซ์-เบียร์เคเนา, ค่ายไมดาเนก,และค่ายมรณะอื่นๆ ไฮโดรเจนไซยาไนด์, เป็นก๊าษพิษที่จะเข้าไปรบกวนการหายใจระดับเซลล์,เป็นครั้งแรกที่ถูกนำมาใช้เป็นยาฆ่าแมลงในรัฐแคลิฟอร์เนียในยุค 1880.การวิจัยที่ Degesch ในเยอรมนีนำไปสู่การพัฒนาของไซคลอน(ต่อมาที่เป็นรู้จักคือไซคลอน เอ),สารกำจัดศัตรูพืชที่จะปลดปล่อยไฮโดรเจนไซยาไนด์ออกมาเมื่อสัมผัสกับน้ำและความร้อน.มันเป็นสิ่งต้องห้ามหลังจากผลิตภัณฑ์ที่มีคล้ายคลึงกันที่ถูกใช้โดยเยอรมันด้วยอาวุธเคมีในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.ในปี 1922 Degesch ถูกซื้อโดย Degussa, ซึ่งทีมนักเคมีรวมทั้ง Walter Heerdt (de) และ Bruno Tesch ได้พัฒนาวิธีการบรรจุภัณฑ์ไฮโดรเจนไซยาไนด์ในภาชนะที่ปิดสนิทพร้อมกับสารระคายเคืองตาและสารดูดซับสารคงตัว.

ใหม่!!: ค่ายมรณะและไซคลอน บี · ดูเพิ่มเติม »

เอ็สเอ็ส-โทเทินคอฟเฟอร์แบนเดอ

อ็สเอ็ส-โทเทินคอฟเฟอร์แบนเดอ (SS-Totenkopfverbände) หรือSS-TV (SS-TV) หรือเรียกว่า หน่วยหัวกะโหลก เป็นองค์กรย่อยของหน่วยชุทซ์ชทัฟเฟิลหรือเอ็สเอ็สที่รับผิดชอบในการบริหารค่ายกักกันนาซีสำหรับจักวรรดิไรซ์ที่สาม, ระหว่างหน้าที่คล้ายกัน.

ใหม่!!: ค่ายมรณะและเอ็สเอ็ส-โทเทินคอฟเฟอร์แบนเดอ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Death campDeath campsExtermination campExtermination campsExtermination camps in the HolocaustNazi death campNazi death campsNazi extermination campNazi extermination campsค่ายมรณะของนาซี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »