โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

ดัชนี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

379 ความสัมพันธ์: บลอนดี (หมา)บักส์ บันนีบัลดูร์ ฟอน ชีรัคบันทึกการประชุมฮอสส์บาคชาร์ล เดอ โกลชาร์ลี แชปลินชาวยิวชาวออสเตรียชุทซ์ชทัฟเฟิลบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์บีตวาซามอสค์วูชตูร์มับไทลุงฟรันซ์ ฟอน พาเพินฟรันซ์ ฮัลเดอร์ฟริทซ์ เซาค์เคิลฟรินซ์ แกร์ลิกฟรีดริช ออลบริชท์ฟรีดริช เพาลุสฟาเธอร์แลนด์ (นวนิยาย)ฟิลิพพ์ ฟอน เบอเซลาแกร์ฟือเรอร์พ.ศ. 2432พ.ศ. 2468พ.ศ. 2475พ.ศ. 2478พ.ศ. 2481พ.ศ. 2482พ.ศ. 2487พ.ศ. 2488พรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมบัลแกเรียพรรคกรรมกรเยอรมันพรรคสังคมประชาธิปไตยไทยพรรคนาซีพรรคนาซีอเมริกันพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซียพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์พระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรียพันเซอร์ไกรฟท์อันพินัยกรรมฉบับหลังสุดของอดอลฟ์ ฮิตเลอร์กบฏโรงเบียร์กฎบัตรแอตแลนติกกฎหมายเนือร์นแบร์กกระทรวงโฆษณาแถลงข่าวและโฆษณาชวนเชื่อกฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาคกองบัญชาการใหญ่กองทัพบกเยอรมันกองบัญชาการใหญ่แห่งเวร์มัคท์กองพลทหารภูเขาวัฟเฟินที่ 13 แห่งเอ็สเอ็ส ฮันด์ซาร์ (โครเอเชียนที่ 1)กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 1 ไลบ์ชตันดาร์เทอเอ็สเอ็ส อดอล์ฟ ฮิตเลอร์กองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์)...กัปตันอเมริกา: อเวนเจอร์ที่ 1การบังคับให้ฆ่าตัวตายการบุกครองยูโกสลาเวียการบุกครองนอร์ม็องดีการบุกครองโปแลนด์การบุกครองเยอรมนีของสัมพันธมิตรตะวันตกการชุมนุมที่เนือร์นแบร์คการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์คการยกพลขึ้นบกที่นอร์ม็องดีการยึดครองเชโกสโลวาเกียของเยอรมนีการรณรงค์งดสูบบุหรี่ในนาซีเยอรมนีการสร้างเสริมอาวุธยุทธภัณฑ์ของเยอรมนีการสงบศึก 22 มิถุนายน ค.ศ. 1940การจำยอมสละการทัพทะเลทรายตะวันตกการทัพนอร์เวย์การทำความเคารพฮิตเลอร์การทำให้เป็นประชาธิปไตยการขับไล่ชาวโปแลนด์โดยนาซีเยอรมนีการตีฝ่าช่องแคบการต่อต้านยิวการต่อต้านระบอบนาซีของชาวเยอรมันการประชุมรัฐบาลไรช์ 12 ธันวาคม ค.ศ. 1941การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้ายการโจมตีของทหารราบกางเขนเหล็กกางเขนอัศวินกำแพงเบอร์ลินกุสทัฟ ริทเทอร์ ฟอน คาร์กุหลาบขาวฝ่ายอักษะฝ่ายปกครองทหาร (นาซีเยอรมนี)มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มักซิม ยาคอบเซนมักซ์ พลังค์มักซ์ เวเบอร์มัคท์แอร์ไกรฟุงมิวนิกมีคาอิล ตูคาเชฟสกียอน ราเบอยุทธการที่บริเตนยุทธการที่มอสโกยุทธการที่ดันเคิร์กยุทธการที่เบอร์ลินยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1941)ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กยุทธการตอกลิ่มยุทธการเดือดเชือดนาซียูลิอุส เชร็คยูลีอุส ชไตรเชอร์ระเบียบใหม่ (ลัทธินาซี)รัฐบาลเฟล็นส์บวร์ครัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวียรัฐซัคเซินรังอินทรีราชอาณาจักรอิตาลีราชอาณาจักรโรมาเนียรายชื่อสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามผู้มีชื่อเสียงรายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลรายชื่อธงในประเทศเยอรมนีรายชื่อธงในเยอรมนี (ค.ศ. 1933–1935)รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิกรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศสรูดอล์ฟ เฮสส์รูดอล์ฟ เฮิสส์รีนซีลัทธิฟาสซิสต์ลัทธิสตรัสเซอร์ลัทธิสตาลินลัทธิคอมมิวนิสต์ลัทธิเหนือจริงลันด์ครอยเซอร์ พี.1000 รัตต์ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1942)ลุทซ์ กรัฟ ชเวริน ฟอน โครซิจค์ลุดวิก ชตูร์มเฟกเกอร์วอลเทอร์ ฮีเวลวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สวัลเทอร์ ฟอน เบราชิทช์วัลเทอร์ ฟุงค์วันชัยในทวีปยุโรปวันแสนทรหดวันเกิดครบรอบ 50 ปีของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์วิลเฮล์ม บูร์กดอร์ฟวิลเฮล์ม ฟริควิลเฮล์ม มอนเคอวิลเฮล์ม คานาริสวินสตัน เชอร์ชิลศิลปะของการเขียนภาพ (เฟอร์เมร์)สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนียสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนีสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมสันนิบาตสาวเยอรมันสาธารณรัฐไวมาร์สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สองสุภาษ จันทระ โพสสงครามกลางเมืองสเปนสงครามแปซิฟิกสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่สองในยูโกสลาเวียสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทยสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสตาลินกราด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2533)สตาลินกราดสกายาบีตวาสนธิสัญญาว่าด้วยความช่วยเหลือซึ่งกันและกันฝรั่งเศส-โซเวียตสนธิสัญญาแวร์ซายสนธิสัญญาไม่รุกรานเยอรมนี–โปแลนด์หอไอเฟลอสัญกรรมของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ออสโวบอจเดนีออทโท กึนเชอออทโท สตรัสเซอร์ออทโท แอนสท์ เรเมอร์อะนอฟธัลมัส ฮิตเลริอัลกุรอานเลือดอัลแบร์ท ชเปียร์อัลเฟรด โรเซินแบร์กอัดเลอร์ฮอสท์อัคซีโยน เท4อังเกอลา ฮิตเลอร์อันชลุสส์อันทอน เดร็กซ์เลอร์อันเนอ ฟรังค์อาชีพทางทหารของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์อาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิก แห่งออสเตรีย (2461-2550)อาร์ทูร์ อักซ์มันน์อาร์ทูร์ ไซสส์-อินคัวร์ทอาลัวส์ ฮิตเลอร์อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันอีมิล มารีเซออีดี อามินฮยัลมาร์ ชัคท์ฮอสท์ เวสเซิลฮอโลคอสต์ฮันส์ บาเออร์ฮันส์ ฟรังค์ฮันส์ ฟริซเชอฮูโก้ กัทมันนท์ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองฌ็อง-มารี โลแรจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนีธัชวิทยาธีโอดอร์ โมเรลธีโอดอร์ โรสเวลต์ธงชัย (โซเวียต)ธงชาตินาซีเยอรมนีธงชาติเยอรมนีทฤษฎีสมคบคิดทวนศักดิ์สิทธิ์ทำเนียบรัฐบาลฮิตเลอร์ทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ดรีทริซ ฟอน โคลทิซดีด็อยท์เชอว็อคเคินเชาครีกซมารีเนอคลารา ฮิตเลอร์ความตกลงมิวนิกคอมมานด์ & คองเคอร์คอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ตคอนชตันทิน ฟอน นอยรัทคาร์ล บรันท์คาร์ล ฟรีดริช เกอร์เดแลร์คาร์ล ฮันเคอคาร์ล โบเดนชัทซ์คาร์ล เดอนิทซ์คาร์ล-ไฮน์ริช ฟอน ชตึลพ์นาเกิลคำสั่งคอมมานโดคืนมีดยาวคูร์ท ฟอน ชไลเชอร์คณะรัฐมนตรีฮิตเลอร์คดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505ค่ายกักกันดาเคาค่ายมรณะค่าปฏิกรรมสงครามโลกครั้งที่หนึ่งงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวตำนานแทงข้างหลังซอลดาตืยสโวโบดืยซีปังซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธาปฏิบัติการบาร์บารอสซาปฏิบัติการพันแซร์เฟาสท์ปฏิบัติการมาร์กาเรตปฏิบัติการยูเรนัสปฏิบัติการลิตเติลแซเทิร์นปฏิบัติการวาลคิรีปฏิบัติการสีน้ำเงินปฏิบัติการซิทาเดลประชาธิปไตยเสรีนิยมประวัติศาสตร์ยุโรปประวัติศาสตร์รัสเซียประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516)ประวัติศาสตร์เยอรมนีประวัติศาสนาพุทธประธานาธิบดีเยอรมนีประเทศอิตาลีประเทศเยอรมนีปรากปรีดี พนมยงค์ปัญหาเยอรมันปาแลเดอชาโยปาเดนีเอเบียร์ลีนาปิดตำนานบุรุษล้างโลกปืนเล็กยาวจู่โจมปีเตอร์ โฮเกลปีเตอร์หัวกระเซิงป่ากงเปียญนายกรัฐมนตรีเยอรมนีนาซี (แก้ความกำกวม)นาซีเยอรมนีนีโอนาซีนโปเลียนที่ 2แบร์ชเทิสกาเดินแบร์กฮอฟแม็กดา เกิบเบลส์แวร์วูล์ฟ (กองบัญชาการเวร์มัคท์)แวร์เนอร์ ฟอน บลอมแบร์กแวร์เนอร์ ฟอน ฟริทช์แวร์เนอร์ ไฮเซินแบร์กแอริช ลูเดินดอร์ฟแอร์วิน ชเรอดิงเงอร์แอร์ฮาร์ด ไฮเดินแอร์นสท์ กึนเทอร์ เชนค์แอนสท์ ฮันฟ์ชเต็งเงิลแอนสท์ คัลเทนบรุนเนอร์แอนสท์ เริมแอนสท์-โรเบิร์ต กราวิทซ์แอนโทนี ฮ็อปกินส์แอ็นสท์ เทลมันแฮร์มันน์ เกอริงแฮร์แบร์ท บาเคอแผนลับ 20 กรกฎาคมแผนสี่ปีแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)แนวร่วมดำแนวร่วมแรงงานเยอรมันแนวซีกฟรีดโฟล์กสวาเกนโฟล์กสวาเกน บีเทิลโฟล์คสชทูร์มโฟล์คสฮัลเลอโพราจมอสโยอาคิม ฟอน ริบเบนทรอพโยฮันน์ เกออร์ก แอลเซอร์โยเซฟ เบร็คโทลด์โยเซฟ เกิบเบลส์โรคุส มิสช์โรแบร์ท ริทเทอร์ ฟอน ไกรม์โรแบร์ท ลายโวล์ฟ เมสซิ่งโอลิมปิกฤดูร้อนโอลิมปิกฤดูร้อน 1936โอลิมปิกฤดูหนาว 1936โจ ไซมอนโจวันนาแห่งอิตาลี สมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรียโจเซฟ สตาลินโคโลเนลบูกีมาร์ชไมน์คัมพฟ์ไมเซินไรชส์ทาค (รัฐสภาเยอรมัน)ไรชส์ทาค (สาธารณรัฐไวมาร์)ไรชส์ทาค (นาซีเยอรมนี)ไรชส์คอมมิสซาเรียทไรน์ฮาร์ด ฮายดริชไวรัส Adolphไอน์ซัทซกรุพเพนไฮนซ์ บรันดท์ไฮนซ์ ฮิตเลอร์ไฮนซ์ แลงก์ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ไฮเดิลแบร์คไทม์ไนอาลาโธเทปเบลืยติกร์ สงครามรถถังประจัญบานเบนิโต มุสโสลินีเฟดอร์ ฟอน บอคเพลิงโอลิมปิกเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กเกรกอร์ สตรัสเซอร์เกลี เราบัลเกอร์ดา คริสเตียนเกาะแอ็นสท์ เทลมันเกาไลแตร์เยอรมันเชเพิร์ดเยอรมนีภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตรเรือประจัญบานบิสมาร์คเลออน ทรอตสกีเลโอนิด เบรจเนฟเวร์มัคท์เส้นเวลาของยุคใหม่เหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาคเอฟา เบราน์เอมิล นอลเดอเอริช เฟ็ลล์กีเบิลเอลเซท 129 ฮินเดนบูร์กเอาโทบานเอียน อันโตเนสคูเอ็สเอ็ส-เวอร์ฟือกุนจ์สทรูปเปอร์เอ็ดเวิร์ด วูด เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์เฮลมุท ไวด์ลิงเฮนนิง ฟอน เทรสคอว์เจ. อาร์. อาร์. โทลคีนเจียง ไคเชกเจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวีเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งบัลแกเรียเจ้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะเจเนรัลพลันโอสท์เทราดล์ ยุงเกอเขตปกครองสามัญเดอะบริดจ์ออนเดอะริเวอร์แควเดอะบลิตซ์เดนนิส กาบอร์เด็กเก็บว่าวเครื่องหมายบาดเจ็บเคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์กเซพพ์ ดีทริซเซมนัดซัตมกโนเวนีย์เวสนืยเนวิล เชมเบอร์ลินเนเธอร์แลนด์ในสงครามโลกครั้งที่สอง13 มีนาคม16 มีนาคม18 กรกฎาคม2 กุมภาพันธ์2 สิงหาคม20 กรกฎาคม20 เมษายน26 กุมภาพันธ์30 เมษายน ขยายดัชนี (329 มากกว่า) »

บลอนดี (หมา)

ลอนดี(1941-29 เมษายน 1945)เป็นสุนัขพันธุ์เยอรมันเชพเพิร์ดของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์,ซึ่งได้รับของขวัญเป็นลูกสุนัขจากนายมาร์ติน บอร์มันน์ในปี 1941.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และบลอนดี (หมา) · ดูเพิ่มเติม »

บักส์ บันนี

ักส์ บันนี ของ ลูนีทูนส์ ในตอน "แรบบิต ทรานซิต" บักส์ บันนี บนแสตมป์ของสหรัฐอเมริกา บักส์ บันนี (Bugs Bunny) เป็นตัวการ์ตูนใน ลูนีย์ทูนส์ และเดอะ ลูนี่ตูนส์ โชว์ ซึ่งการ์ตูนซีรีส์เป็นตอน ๆ และเป็นตัวการ์ตูนที่เป็นที่รู้จักไปทั่วโลก บักส์บอกว่าเขาเกิดในปี พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) ที่ย่านบรูกลิน ในนครนิวยอร์ก แต่เสียงของ เมล แบลงก์ ซึ่งพากย์เสียงของ บักส์ บันนี เป็นสำเนียงลูกผสมระหว่างคนย่านบรองซ์กับบรูกลิน บักส์เป็นที่รู้จักกันดีจากการเป็นคู่แค้นกับ เอลเมอร์ ฟัดด์ โยเซมิตี แซม มาร์วิน มาร์เชียนแม้กระทั่ง ไวลี อี. ไคโยตี (ซึ่งโดยปกติแล้วจะไล่ล่า โรด รันเนอร์) (แต่ใน เดอะ ลูนี่ตูนส์ โชว์ พวกเขาเป็นเพื่อนของบักส์) ทุกครั้งที่มีเรื่องมีราวกัน บักส์จะลงเอยเป็นผู้ชนะเสมอ โดยเฉพาะตอนที่กำกับโดย ชัคก์ โจนส์ ผู้ซึ่งชอบจับคู่ชน ระหว่าง "ผู้ชนะ" กับ "ผู้แพ้" เนื่องจากโจนส์เป็นห่วงว่า ในที่สุดผู้ชมจะหมดความเห็นอกเห็นใจให้กับ บักส์ ซึ่งเป็นผู้ชนะตลอด (โดยปกติ ผู้ชนะมักจะเป็นฝ่ายที่ก้าวร้าวกว่า) โจนส์จึงได้วางเนื้อเรื่องให้บักส์นั้นถูกรังแก ถูกล่อลวง และถูกข่มขู่ ซ้ำแล้วซ้ำเล่า จากอีกฝ่ายที่มีเรื่องกันเสมอ หลังจากถูกหาเรื่อง (ปกติแล้วจะเกิดขึ้น 3 ครั้ง) บักส์ก็จะพูดว่า "Of course, you realize this means war" (แน่นอน คุณก็เห็นว่านี่คือสงคราม) เป็นคำพูดที่โจนส์เอามาจาก เกราโช มาร์กซ และผู้ชมก็จะไม่ว่าอะไร ในลักษณะเป็นเชิงให้อนุญาตให้บักส์นั้น เริ่มใช้ความรุนแรงตอบโต้ได้ แต่ในตอนที่บักส์ พบกับตัวการ์ตูนที่เป็น "ผู้ชนะ" เหมือนกัน เช่น ซิซิล เดอะ เทอเทิล ใน Tortoise Beats Hare (กระต่ายกับเต่า) หรือใน WWII (สงครามโลกครั้งที่สอง) the Gremlin of Falling Hare บักส์มักจะเสียสถิติในการเป็นผู้ชนะ เนื่องจากความมั่นใจในตัวเองมากเกินไป.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และบักส์ บันนี · ดูเพิ่มเติม »

บัลดูร์ ฟอน ชีรัค

ัลดูร์ เบเนอดิคท์ ฟอน ชีรัค (Baldur Benedikt von Schirach) เป็นนักการเมืองนาซี ผู้เป็นที่รู้จักในฐานะผู้นำฝ่ายเยาวชนของพรรคนาซีโดยดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าของยุวชนฮิตเลอร์ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และบัลดูร์ ฟอน ชีรัค · ดูเพิ่มเติม »

บันทึกการประชุมฮอสส์บาค

ันทึกการประชุมฮอสส์บาค (Hossbach Memorandum) คือบันทึกสรุปการประชุมเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และบันทึกการประชุมฮอสส์บาค · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ล เดอ โกล

ร์ล อ็องเดร โฌแซ็ฟ มารี เดอ โกล (Charles André Joseph Marie de Gaulle) หรือ ชาร์ล เดอ โกล (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2433 – 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นนายทหารและรัฐบุรุษชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเป็นที่รู้จักในนาม นายพลเดอ โกล ก่อนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักยุทธวิธีการรบด้วยรถถัง และผู้นิยมการรบด้วยการใช้ยานเกราะและกองกำลังทางอากาศ เขาเป็นผู้นำการปลดปล่อยฝรั่งเศสในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง และผู้นำรัฐบาลชั่วคราวในช่วงปี พ.ศ. 2487 (ค.ศ. 1944) ถึง พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) ถูกเรียกตัวไปจัดตั้งรัฐบาลในปี พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) เขาได้เป็นแรงบันดาลใจในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และเป็นประธานาธิบดีฝรั่งเศสคนแรกในยุคสาธารณรัฐที่ 5 ระหว่างปี พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ถึงปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) แนวคิดทางการเมืองของเขาเป็นที่รู้จักในนามของลัทธินิยมโกล และมีอิทธิพลอย่างมากต่อการเมืองฝรั่งเศสในยุคต่อม.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และชาร์ล เดอ โกล · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ลี แชปลิน

ซอร์ชาลส์ สเปนเซอร์ แชปลิน จูเนียร์ (Sir Charles Spencer Chaplin, Jr., KBE) หรือรู้จักกันในชื่อ ชาร์ลี แชปลิน (Charlie Chaplin) (16 เมษายน ค.ศ. 1889–25 ธันวาคม ค.ศ. 1977) นักแสดงชาวสหราชอาณาจักรผู้มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่ง ในยุคต้นถึงยุคกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ของฮอลลีวูด อีกทั้งยังเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ซึ่งมีผลงานโดดเด่นหลายเรื่องด้วยกัน ตัวละครที่เขาแสดงซึ่งมีผู้จดจำได้มากที่สุดคือ "คนจรจัด" (The Tramp) ซึ่งมักปรากฏตัวในลักษณะคนจรจัดซึ่งสวมเสื้อนอกคับตัว สวมกางเกงและรองเท้าหลวม สวมหมวกดาร์บีหรือหมวกโบว์เลอร์ ถือไม้เท้าซึ่งทำจากไม้ไผ่ และไว้หนวดจุ๋มจิ๋ม แชปลินเป็นบุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์มากที่สุดคนหนึ่งในยุคภาพยนตร์เงียบ ดังจะเห็นได้จากการที่เขาทั้งแสดง กำกับ เขียนบท อำนวยการสร้าง และรวมไปถึงประพันธ์ดนตรีประกอบในภาพยนตร์ของเขาเอง ผลงานบางเรื่องของเขาเช่นอีก่อ.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และชาร์ลี แชปลิน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวยิว

ว (ภาษาฮิบรู: יהודים) หรือที่เรียกว่า ชาวยิว (Jewish people) เป็นชนชาติและกลุ่มศาสนพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีเชื้อสายมาจากวงศ์วานอิสราเอลหรือชนเผ่าฮีบรูในแผ่นดินตะวันออกใกล้ยุคโบราณ ซึ่งคัมภีร์ฮีบรูได้ระบุว่า ชาวยิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงเลือกสรรที่จะอุปถัมป์ค้ำชูไว้เหนือชาติอื่นๆ ด้วยความเชื่อว่ายิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงค้ำชูและมีศาสนายูดาห์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนี้เอง ทำให้แม้ชาวยิวจะกระจัดกระจายไปในหลายดินแดน แต่ก็ยังคงความเป็นกลุ่มก้อนและมีการสืบทอดความเป็นยิวจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไม่มีเสื่อมถอย ปัจจุบันบุคคลเชื้อสายยิวทั่วทั้งโลกมีอยู่ราว 14.4 ถึง 17.5 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอลและสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

ชาวออสเตรีย

วออสเตรีย (Österreicher) เป็นกลุ่มคนเผ่าพันธุ์เจอรมานิก ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศออสเตรี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และชาวออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ชุทซ์ชทัฟเฟิล

ทซ์ชทัฟเฟิล (Schutzstaffel "ᛋᛋ" ที่เป็นอักษรรูน) หรือ เอ็สเอ็ส (SS) เป็นองค์กรกำลังกึ่งทหารสังกัดพรรคนาซีภายใต้คำสั่งของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เดิมมีชื่อองค์กรว่า ซาล-ซุทซ์ (Saal-Schutz) ซึ่งมีสมาชิกเป็นอาสาสมัครของพรรคนาซีเพื่อคุ้มกันและดูแลความปลอดภัยในการประชุมพรรคที่เมืองมิวนิก เมื่อไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์เข้าร่วมองค์กรในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และชุทซ์ชทัฟเฟิล · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

บีตวาซามอสค์วู

ีตวาซามอสค์วู (Битва за Москву) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ของสหภาพโซเวียต มีเนื้อเรืองเกี่ยวกับยุทธการที่มอสโก กำกับโดยยูรี โอเซรอฟ ภาพยนตร์มีทั้งหมด 2 ภาค คือ Aggression และ Typhoon ภาคละ 2 ตอน รวมเป็น 4 ตอน เป็นภาพยนตร์ร่วมมือกันระหว่าง สหภาพโซเวียต, เยอรมนีตะวันออก, เชโกสโลวาเกีย และ เวียดนาม บทภาพยนตร์ดังกล่าวก็ได้ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสครบรอบ 40 ปี ที่สหภาพโซเวียตได้รับชัยชนะในสงครามโลกครั้งที่สอง และฉลองครบรอบ 20 ปี ที่กรุงมอสโกได้รับเลือกให้เป็นนครวีรชน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และบีตวาซามอสค์วู · ดูเพิ่มเติม »

ชตูร์มับไทลุง

ตูร์มับไทลุง (Sturmabteilung; ชื่อย่อ เอสเอ (SA);; แปลว่า "กองกำลังพายุ") เป็นหน่วยกองกำลังกึ่งทหารเดิมของพรรคนาซี หน่วยเอสเอมีบทบาทสำคัญในการก้าวขึ้นสู่อำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในทศวรรษที่ 1920 ถึง 1930 โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการคุ้มกันการเคลื่อนทัพและการระดมพลของนาซี เข้าก่อกวนการประชุมพรรคฝ่ายค้าน สู้กับหน่วยกึ่งทหารของฝ่ายตรงข้าม เช่น สันนิบาตนักสู้แนวหน้าสีแดง (Rotfrontkämpferbund) ของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี รวมถึงสร้างความหวาดกลัวให้แก่ชาวสลาวิกและโรมัน กลุ่มลัทธิ และกลุ่มยิว เช่นในช่วงการคว่ำบาตรชาวยิวของนาซี กลุ่มเอสเอบ้างก็รู้จักในยุคสมัยนั้นว่าพวกชุดกากี (Braunhemden) ทำนองเดียวกับกลุ่มชุดดำของมุโสลินี กลุ่มเอสเอมียศกึ่งทหารเป็นของตนเองซึ่งนำไปใช้กับกลุ่มนาซีหลายกลุ่ม โดยกลุ่มที่เป็นหัวหน้าก็เช่นกลุ่มชุทซ์ชทัฟเฟิล ซึ่งเคยอยู่ภายใต้กลุ่มเอสเอก่อนแยกตัวออกมาภายหลัง เหตุที่ใช้ชุดกากีเพราะว่าในสงครามโลกครั้งที่ 1 มีชุดเหล่านี้จำนวนมากและราคาถูก เพราะได้เคยมีการสั่งชุดนี้สำหรับทหารประจำอาณานิคมของดินแดนอาณานิคมของเยอรมัน กลุ่มเอสเอสูญเสียอำนาจหลังจากฮิตเลอร์สั่งให้มีการฆ่าล้างอย่างโหดเหี้ยมในเหตุการณ์คืนมีดยาว (die Nacht der langen Messer) และถูกแทนที่โดยกลุ่มเอสเอส แต่กลุ่มเอสเอก็ยังไม่ถูกเลิกถาวรจนกระทั่วอาณาจักรไรซ์ที่ 3 ยอมจำนนต่อฝ่ายสัมพันธมิตรในปี 1945.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และชตูร์มับไทลุง · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซ์ ฟอน พาเพิน

ฟรันซ์ โยเซฟ แฮร์มัน ไมเคิล มาเรีย ฟอน พาเพิน ซู คอนนิเกน(Franz Joseph Hermann Michael Maria von Papen zu Köningen)(29 ตุลาคม ค.ศ.1879 – 2 พฤษภาคม ค.ศ.1969)เป็นขุนนางเยอรมัน,เจ้าหน้าที่เสนาธิการและนักการเมือง เขาทำหน้าที่นายกรัฐมนตรีของเยอรมนีในปี..1932 และในฐานะรองนายกรัฐมนตรีภายใต้การนำของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในปี..1933–1934 เขาเป็นกลุ่มที่ปรึกษาใกล้ชิดกับประธานาธิบดีเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กในช่วงปลายของสาธารณรัฐไวมาร.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฟรันซ์ ฟอน พาเพิน · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซ์ ฮัลเดอร์

ฟรันซ์ ฮัลเดอร์ (Franz Halder) เป็นพลเอกเยอรมันและเป็นเสนาธิการกองบัญชาการสูงสุดกองทัพบกเยอรมัน(OKH) ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฟรันซ์ ฮัลเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟริทซ์ เซาค์เคิล

แอนสท์ ฟริซดิซ คริสตอฟ "ฟริทซ์" เซาค์เคิล(27 ตุลาคม ค.ศ. 1894 – 16 ตุลาคม ค.ศ. 1946) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมัน,เกาไลแตร์แห่งทูริงเกียและนายพลผู้มีอำนาจสูงสุดสำหรับโครงการการพัฒนาในการบังคับใช้แรงงานทาส ตั้งแต่เดือนมีนาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฟริทซ์ เซาค์เคิล · ดูเพิ่มเติม »

ฟรินซ์ แกร์ลิก

ฟริตซ์ แกร์ลิก (1929) คาร์ล อัลเบิร์ต ฟริตซ์ (ไมเคิล) แกร์ลิก (Carl Albert Fritz (Michael) Gerlich; 15 กุมภาพันธ์ 1883 - 30 มิถุนายน 1934) เป็นชาวเยอรมัน เป็นนักข่าวและนักประวัติศาสตร์ เป็นผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ต่อต้านอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ฟริตซ์นั้นมองเห็นความชั่วร้ายของอุดมการณ์ของฮิตเลอร์และพรรคนาซีจึงได้เขียนหนังสือพิมพ์โจมตีฮิตเลอร์และพรรคนาซีตลอดมา หลังจากฮิตเลอร์และพรรคนาซีมีอำนาจมากขึ้นในเยอรมนี เขาถูกจับกุมและส่งไปที่ค่ายกักกันดาเคา และถูกฆ่าตายที่นั่นในระหว่างเหตุการณ์คืนมีดยาว เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน..1934 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2426 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2477 หมวดหมู่:ชาวเยอรมัน หมวดหมู่:ผู้ถูกประหารชีวิตที่ค่ายกักกันนาซี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฟรินซ์ แกร์ลิก · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีดริช ออลบริชท์

ฟรีดริช ออลบริชท์ (Friedrich Olbricht) เป็นนายพลเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและเป็นหนึ่งในผู้ร่วมสมคิดในเหตุการณ์แผนลับ 20 กรกฎาคมในความพยายามจะลอบสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฟรีดริช ออลบริชท์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีดริช เพาลุส

ฟรีดริช วิลเฮล์ม แอร์นสท์ เพาลุส (Friedrich Wilhelm Ernst Paulus; 23 กันยายน ค.ศ. 1890 - 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1957) เป็นนายทหารในกองทัพเยอรมันตั้งแต..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฟรีดริช เพาลุส · ดูเพิ่มเติม »

ฟาเธอร์แลนด์ (นวนิยาย)

ฟาเธอร์แลนด์ เป็นนวนิยายขายดีในปี พ.ศ. 2535 มีเนื้อหาแนวสืบสวน-ฆาตกรรม เขียนโดยนักข่าวอังกฤษ รอเบิร์ต แฮร์ริส โดยมีจุดเด่นคือ ประวัติศาสตร์สมมุติว่า หากนาซีเยอรมนีชนะสงครามโลกครั้งที่สอง โลกจะเป็นอย่างไร ผู้จัดพิมพ์ในประเทศไทยคือ ปราดเปรียวสำนักพิม.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฟาเธอร์แลนด์ (นวนิยาย) · ดูเพิ่มเติม »

ฟิลิพพ์ ฟอน เบอเซลาแกร์

ฟิลิพพ์ ฟอน เบอเซลาแกร์(6 กันยายน ค.ศ. 1917 – 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2008) เป็นสมาชิกคนที่สองที่เหลือรอดชีวิตในแผนลับ 20 กรกฎาคม ผู้ส่วมรู้ร่วมคิดระหว่างเจ้าหน้าที่นายทหารแห่งกองทัพเวร์มัคท์ เพื่อลอบสังหารผู้นำเผด็จการเยอรมัน อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฟิลิพพ์ ฟอน เบอเซลาแกร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟือเรอร์

ฟือเรอร์ (Führer) ในภาษาเยอรมัน หมายถึง "ผู้นำ" โดยคำว่า "ฟือเรอร์" มักจะหมายถึง ฉายาของผู้นำนาซีเยอรมนี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และเป็นตำแหน่งสำคัญในคณะรัฐบาลสมัยนาซีเยอรมนี และองค์กรกึ่งทหาร (โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยเอ็สเอ็ส) โดยคำดังกล่าวเป็นการเอาอย่างจากคำว่า อิลดูเช ในภาษาอิตาลี ซึ่งมีความหมายอย่างเดียวกัน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฟือเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2432

ทธศักราช 2432 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1889 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพ.ศ. 2432 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพ.ศ. 2468 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพ.ศ. 2478 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมบัลแกเรีย

รรคกรรมกรชาติสังคมนิยมบัลแกเรีย (Българска Национал-Социалистическа Работническа Партия) เป็นพรรคการเมืองนิยมแนวชาติสังคมนิยมของราชอาณาจักรบัลแกเรีย เป็นหนึ่งในจำนวนกลุ่มต่อต้านยิวที่จะปรากฏอยู่ในประเทศบัลแกเรียในช่วงภายหลังของการขึ้นสู่อำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในประเทศเยอรมนี,ด้วยกลุ่มอื่นๆที่โดดเด่น รวมทั้งสหภาพแห่งกองทหารชาติบัลแกเรียและ Ratniks พรรคนี้ถูกจัดตั้งขึ้นโดย ดร.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคกรรมกรเยอรมัน

รรคกรรมกรเยอรมัน (Deutsche Arbeiterpartei, ย่อ DAP) เป็นพรรคการเมืองเยอรมันซึ่งได้ถูกก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคกรรมกรเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสังคมประชาธิปไตยไทย

รรคสังคมประชาธิปไตยไทย (อักษรย่อ: ส.ป.ท. Thai Social Democratic Party - TSDP) เป็นพรรคที่ก่อตั้งโดยมีพื้นฐานมาจากกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) เดิมเคยใช้ชื่อว่า พรรคการเมืองใหม่ (ก.ม.ม.) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2552 และจดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคสังคมประชาธิปไตยไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคนาซี

รรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (Nationalsozialistische Deutsche Arbeiterpartei, ย่อ: NSDAP) หรือ พรรคนาซี เดิมมีผู้เข้าร่วมเพียง 7 คน เป็นพรรคการเมืองที่ปกครองประเทศเยอรมนีช่วงไรช์ที่สาม ตั้งแต..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี · ดูเพิ่มเติม »

พรรคนาซีอเมริกัน

รรคนาซีอเมริกัน (ANP) เป็นพรรคการเมืองลัทธินาซีในสหรัฐอเมริกาแห่งแรกที่ถูกก่อตั้งโดยจอร์จ ลินคอล์น รอกเวลล์ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่นครอาร์ลิงตัน รัฐเวอร์จิเนีย รอกเวลล์ได้ก่อตั้งองค์กรด้วยการตั้งชื่อว่า องค์กรอิสระชาติสังคมนิยมแห่งสหภาพโลก (World Union of Free Enterprise National Socialists-WUFENS) แต่ได้ถูกเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "พรรคนาซีอเมริกัน" ในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซีอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)

ระเจ้าช้างเผือก (The King of the White Elephant) เป็นภาพยนตร์ไทยขาวดำ ในระบบ 35 มม.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย

ระเจ้าฟรีดริชที่ 2 (เยอรมัน: Friedrich II.; อังกฤษ: Frederick II หรือ พระเจ้าฟรีดริชมหาราช (24 มกราคม ค.ศ. 1712 - 17 สิงหาคม ค.ศ. 1786 เป็นพระมหากษัตริย์ปรัสเซียจากราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น โดยทรงครองราชย์ระหว่างปีค.ศ. 1740 จนถึงปีค.ศ. 1786 พระองค์ทรงเป็นลำดับที่สามและ ‘กษัตริย์ในปรัสเซีย(King in Prussia)’ องค์สุดท้าย ก่อนที่จะฉลองพระอิสรยยศขึ้นเป็น ‘กษัตริย์แห่งปรัสเซีย(King of Prussia)’ หลังจากที่ได้รับดินแดนทางประวัติศาสตร์ดั้งเดิมของปรัสเซีย นอกจากนั้นก็ยังทรงดำรงตำแหน่งผู้คัดเลือกแห่งบรันเดนบวร์กในพระนามว่า “ฟรีดริชที่ 4” และทรงได้รับสมญานามว่า ‘พระเจ้าฟรีดริชมหาราช’ และมีพระนามเล่นว่า ‘เจ้าฟริทซ์แก่(der Alte Fritz)” พระเจ้าฟรีดริชทรงมีความสนพระทัยทางศิลปะตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์และทรงพยายามหนีจาการควบคุมจากพระบิดาครั้งหนึ่งแต่ไม่สำเร็จ พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 พระราชบิดาทรงเข้มงวดจนได้รับสมญานามว่า “กษัตริย์ทหาร” เมื่อยังทรงพระเยาว์ฟรีดริชทรงถูกบังคับให้ดูการประหารชีวิตอย่างทารุณของพระสหายที่ทรงรู้จักกันมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เมื่อทรงขึ้นครองราชย์ในปีแรกทรงโจมตีจักรวรรดิออสเตรียและยึดครองบริเวณไซลีเซีย ซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศโปแลนด์ปัจจุบันซึ่งเป็นดินแดนยึดครองที่มีส่วนสำคัญในการวางรากฐานในการขยายดินแดนของปรัสเซียและเพิ่มความแข็งแกร่งให้แก่ราชอาณาจักรปรัสเซีย ในบั้นปลายของชีวิตพระเจ้าฟรีดริชทรงรวมอาณาจักรต่าง ๆ ที่เคยเป็นราชรัฐเล็กของปรัสเซียเข้าด้วยกันรวมทั้งดินแดนที่ทรงได้มาจากการแบ่งแยกโปแลนด์ พระเจ้าฟรีดริชทรงเป็นผู้สนับสนุนการปกครองระบบที่มีพื้นฐานมาจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม ทรงติดต่อสื่อสารกับวอลแตร์ นักปรัชญาเป็นเวลาราวห้าสิบปี และมีความสนิทสนมกันมากแต่ในขณะเดียวกันความสัมพันธ์ก็เต็มไปด้วยความขัดแย้งโดยตลอด พระราชกรณียกิจที่สำคัญ ๆ คือการปรับปรุงระบบการบริหารราชการและข้าราชการ และยังทรงสนับสนุนเสรีภาพของการนับถือศาสนา ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์ศิลปินและนักปรัชญา เมื่อสิ้นพระชนม์ร่างของพระองค์ถูกฝังอยู่ที่พระราชวังที่โปรดปรานที่วังซองส์ซูซิที่เมืองพอทสดัม เมื่อสิ้นพระชนม์ บัลลังก์ตกไปเป็นของพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 พระราชนัดดาเพราะพระองค์เองไม่มีพระราชโอรส ฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 เป็นพระโอรสของเจ้าชายเอากุสท์ วิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย พระอนุชาของพระเจ้าฟรีดริชเอง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์

ระเจ้าฟารูกที่ 1 แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فاروق الأول Fārūq al-Awwal) (11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1920-18 มีนาคม ค.ศ. 1965) กษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดาน และองค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ แห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี โดยพระองค์ครองราชย์ต่อจากพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ พระราชบิดา ส่วนพระขนิษฐาของพระองค์ เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ ได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี เป็นราชินีแห่งอิหร่าน ก่อนเกิดการปฏิวัติอียิปต์ ค.ศ. 1952 ได้ทำการถอดพระองค์ออกจากราชสมบัติ แล้วยกพระราชโอรสของพระองค์เป็นกษัตริย์องค์ต่อมาพระนามว่า พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ แต่ปกครองได้เพียงปีเดียวรัฐบาลก็ได้ทำการล้มล้างราชวงศ์ เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบสาธารณรั.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย

ระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย(30 มกราคม พ.ศ. 2437 - 28 สิงหาคม พ.ศ. 2489)(พระนามเต็ม:บอริส คลีเมนต์ โรเบิร์ต มาเรีย ปิอุส ลุดวิก สตานิสเลาส์ ซาเวียร์)เป็นพระโอรสในพระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรียกับเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งปาร์มา พระองค์ทรงขึ้นครองราชสมบัติหลังจากพระบิดาทรงสละราชบัลลังก์ในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

พันเซอร์ไกรฟท์อัน

ันเซอร์ไกรฟท์อัน (Panzer Greift An; Tank Attacks) เป็นหนังสือเล่มใหม่ที่ยังเขียนไม่เสร็จในยุทธวิธีและการสู้รบหุ้มเกราะโดยแอร์วิน รอมเมิล หนังสือเล่มนี้เป็นฉบับติดตามและผลงานคู่เคียงเล่มก่อนหน้าที่ประสบความสำเร็จสูงอย่างการโจมตีของทหารราบ ซึ่งตีพิมพ์ในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพันเซอร์ไกรฟท์อัน · ดูเพิ่มเติม »

พินัยกรรมฉบับหลังสุดของอดอลฟ์ ฮิตเลอร์

หน้าแรกของพินัยกรรมทางการเมือง ความประสงค์และพินัยกรรมครั้งสุดท้ายของอดอลฟ์ ฮิตเลอร์ (last will and testament of Adolf Hitler) ได้เกิดขึ้นหลังจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้รับโทรเลขจากจอมพล แฮร์มันน์ เกอริง ขอสืบทอดตำแหน่งเป็นผู้นำคนใหม่ หลังถูกตัดขาดจากภายนอกร์ร่วมกับข่าวของการเจรจาขอยอมจำนนต่อสัมพันธมิตรตะวันตกจากไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ และได้รับรายงานว่าทหารแห่งกองทัพแดงได้เข้ามาใกล้ทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์เพียงสองหรือสามช่วงตึก พินัยกรรมได้ถูกเขียนขึ้นโดยฮิตเลอร์และเลขานุการส่วนตัว เทราด์ ยุงเกอร์ในฟือเรอร์บุงเคอร์ เมื่อวันที่ 29 เมษายน ปี 1945 ในวันที่ฮิตเลอร์และเอฟา เบราน์ได้แต่งงานกัน พวกเขาได้กระทำอัตวินิบาตกรรมพร้อมกันในเช้าวันรุ่งขึ้นเมื่อวันที่ 30 เมษายน สองวันที่ก่อนกองทัพเยอรมันในกรุงเบอรลินจะยอมจำนนต่อกองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียตในวันที่ 2 พฤษภาคม และเพียงสัปดาห์กว่าก่อนการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สองในยุโรปในวันที่ 8 พฤษภาคม พินัยกรรมประกอบไปด้วยเอกสารสองชุดคือความประสงค์ส่วนตัวและการมอบตำแหน่งทางการเมือง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพินัยกรรมฉบับหลังสุดของอดอลฟ์ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏโรงเบียร์

กบฏโรงเบียร์ ยังได้เป็นที่รู้จักกันคือ กบฏมิวนิก(Munich Putsch), และในเยอรมัน ได้ถูกเรียกว่า กบฏฮิตเลอร์(Hitlerputsch)หรือกบฏฮิตเลอร์-ลูเดนดอฟฟ์(Hitler-Ludendorff-Putsch) เป็นความพยายามก่อการปฏิวัติอันล้มเหลวโดยหัวหน้าพรรคนาซี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์-พร้อมกับเจ้ากรมพลาธิการ (Generalquartiermeister) แอริช ลูเดินดอร์ฟ และผู้นำหัวหน้าคัมพฟ์บุนด์คนอื่น ๆ -เพื่อยึดอำนาจในมิวนิก บาวาเรีย ในช่วงระหว่างวันที่ 8-9 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และกบฏโรงเบียร์ · ดูเพิ่มเติม »

กฎบัตรแอตแลนติก

อร์ชิลล์พบกับรูสเวลต์บนเรือยูเอสเอส ออกัสตาในการประชุมลับนอกฝั่งนิวฟันด์แลนด์ เชอร์ชิลล์พบกับรูสเวลต์บนเรือราชนาวีพรินซ์ออฟเวลส์ ร่างกฎบัตรแก้ไขลายมือเชอร์ชิลล์ กฎบัตรแอตแลนติก (Atlantic Charter) คำประกาศหลักการแห่งนโยบายแห่งชาติโดยประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. รูสเวลต์แห่งสหรัฐอเมริกา และนายกรัฐมนตรีวินสตัน เชอร์ชิลล์แห่งอังกฤษ หลังการประชุมลับบนเรือรบยูเอสเอส ออกัสตานอกชายฝั่งนิวฟันด์แลนด์ เพื่อเป็นการสะท้อนประเด็น 14 ข้อของประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสันและคำประกาศ "สี่เสรีภาพ" ของประธานาธิบดีรูสเวลท์ในวันสาบานตัวเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีเมื่อเดือนมกราคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และกฎบัตรแอตแลนติก · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายเนือร์นแบร์ก

รชกิจจานุเบกษา (Reichsgesetzblatt) เล่ม 100 ซึ่งลงประกาศกฎหมายนี้ ออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 1935 กฎหมายเนือร์นแบร์ก (Nürnberger Gesetze; Nuremberg Laws) เป็นกฎหมายการต่อต้านยิวในนาซีเยอรมนี ซึ่งเสนอต่อไรชส์ทาค เมื่อวันที่ 15 กันยายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และกฎหมายเนือร์นแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงโฆษณาแถลงข่าวและโฆษณาชวนเชื่อ

กระทรวงโฆษณาแถลงข่าวและโฆษณาชวนเชื่อ (Reichsministerium für Volksaufklärung und Propaganda, RMVP หรือ Propagandaministerium) เป็นหน่วยงานของรัฐนาซีเพื่อสนับสนุนอุดมการณ์ระบอบนาซี กระทรวงฯ ก่อตั้งขึ้นหลังการยึดอำนาจของรัฐบาลอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี 1933 มีเจ้ากระทรวง คือ โยเซฟ เกิบเบลส์ และรับผิดชอบต่อการควบคุมสื่อข่าว วรรณคดี ทัศนศิลป์ การผลิตภาพยนตร์ สถานมหรสพ ดนตรีและการแพร่สัญญาณ กระทรวงฯ เป็นสำนักงานกลางของการโฆษณาชวนเชื่อนาซี และกำกับดูแลวัฒนธรรมและสื่อมวลชนของนาซีเยอรมนีอย่างครอบคลุม.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และกระทรวงโฆษณาแถลงข่าวและโฆษณาชวนเชื่อ · ดูเพิ่มเติม »

กฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาค

ประกาศของตำรวจอันเป็นผลมาจากกฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาค คำสั่งประธานาธิบดีไรช์ว่าด้วยการป้องกันประชาชนและรัฐ หรือรู้จักกันในชื่อ กฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาค (Reichstagsbrandverordnung) เป็นคำสั่งของฝ่ายบริหารที่เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก ประธานาธิบดีเยอรมนี ออกเพื่อตอบโต้เหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค เมื่อวันที่ 27 กุมภาพัน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และกฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาค · ดูเพิ่มเติม »

กองบัญชาการใหญ่กองทัพบกเยอรมัน

กองบัญชาการใหญ่กองทัพบก (Oberkommando des Heeres) ของประเทศเยอรมนีในสมัยนาซี กองบัญชาการนี้ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และกองบัญชาการใหญ่กองทัพบกเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

กองบัญชาการใหญ่แห่งเวร์มัคท์

กองบัญชาการใหญ่แห่งเวร์มัคท์ (Oberkommando der Wehrmacht) หรือ OKW เป็นหน่วยบัญชาการระดับสูงสุดของเวร์มัคท์ ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 4 กุมภาพัน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และกองบัญชาการใหญ่แห่งเวร์มัคท์ · ดูเพิ่มเติม »

กองพลทหารภูเขาวัฟเฟินที่ 13 แห่งเอ็สเอ็ส ฮันด์ซาร์ (โครเอเชียนที่ 1)

กองพลทหารภูเขาวัฟเฟินที่ 13 แห่งเอ็สเอ็ส "ฮันด์ซาร์"(โครเอเชียนที่ 1) เป็นกองพลทหารภูเขาแห่งหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส,เป็นสาขาหนึ่งของกองกำลังติดอาวุธของพรรคนาซีเยอรมันที่ได้ทำหน้าที่ควบคู่ แต่ไม่เคยเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพเวร์มัคท์อย่างเป็นทางการในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และกองพลทหารภูเขาวัฟเฟินที่ 13 แห่งเอ็สเอ็ส ฮันด์ซาร์ (โครเอเชียนที่ 1) · ดูเพิ่มเติม »

กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 1 ไลบ์ชตันดาร์เทอเอ็สเอ็ส อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 1 ไลบ์ชตันดาร์เทอเอ็สเอ็ส อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (1st SS Panzer Division Leibstandarte SS Adolf Hitler-LSSAH) ในช่วงเริ่มต้นได้กลายเป็นผู้คุ้มกันส่วนตัวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์,ได้มีหน้าที่ผิดชอบในการคุ้มครองคนของฟือเรอร์,สำนักงานและที่อยู่อาศัย ในช่วงแรกมีขนาดกรมทหาร จนในที่สุด กกองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 1 ไลบ์ชตันดาร์เทอเอ็สเอ็ส อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้เติบโตจนกลายเป็นหน่วยขนาดกองพล กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 1 ได้เข้าร่วมรบในช่วงการบุกครองโปแลนด์ และได้ถูกรวมเข้ากับหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สพร้อมกับหน่วยเอ็สเอ็ส-เวอร์ฟือกุนจ์สทรูปเปอร์(SS-VT)และหน่วยกำลังรบของหน่วยเอ็สเอ็ส-โทเทินคอฟเฟอร์แบนเดอ(SS-TV) ก่อนที่ปฏิบัติการบาร์บารอสซาในการรุกรานสหภาพโซเวียตจะเริ่มต้นในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และกองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 1 ไลบ์ชตันดาร์เทอเอ็สเอ็ส อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์)

กองทัพบกเยอรมันหรือเรียกว่า เฮร์ (Heer) เป็นกองทัพบกเยอรมันในส่วนหนึ่งของกองทัพเวร์มัคท์,กองทัพประจำของเยอรมันในปี 1935 จนกระทั่งถูกปลดและสลายตัวในเดือนสิงหาคม ปี 1946.กองทัพเวร์มัคฺได้รวมถึงครีกซมารีเนอ (กองทัพเรือ),และลุฟท์วัฟเฟอ (กองทัพอากศ).ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง,จำนวนทหารทั้งหมด 13 ล้านนายรับใช้ในกองทัพเยอรมัน.บุคลากรของกองทัพส่วนใหญ่มาจากการเกณฑ.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และกองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์) · ดูเพิ่มเติม »

กัปตันอเมริกา: อเวนเจอร์ที่ 1

กัปตันอเมริกา: อเวนเจอร์ที่ 1 (Captain America: The First Avenger) เป็นภาพยนตร์ซูเปอร์ฮีโร่อเมริกันโดยมีต้นแบบมาจากตัวละครกัปตันอเมริกา จากมาร์เวลคอมิกส์ ผลิตโดยมาร์เวลสตูดิโอส์และจัดจำหน่ายโดยพาราเมาต์พิกเจอส์ เป็นภาพยนตร์เรื่องที่ห้าในจักรวาลภาพยนตร์มาร์เวล ภาพยนตร์กำกับโดยโจ จอห์นสตัน เขียนบทโดยคริสโตเฟอร์ มาร์คัส และ สตีเฟน แม็กฟีลี และแสดงโดยคริส อีแวนส์ ทอมมี ลี โจนส์ ฮิวโก วีฟวิง เฮย์ลีย์ แอตเวลล์ เซบาสเตียน สแตน โดมินิก คูเปอร์ นีล แม็กโดนอ เดเรก ลู้ก และสแตนลีย์ ทุชชี ฉากภาพยนตร์เป็นสงครามโลกครั้งที่สอง ภาพยนตร์เล่าเรื่องเกี่ยวกับสตีฟ โรเจอส์ ชายขี้โรคจากบรุกลินที่กลายร่างเป็นทหารซูเปอร์โซลเจอร์ กัปตันอเมริกา ช่วยรบในสงคราม โรเจอส์ต้องหยุดการกระทำของเรดสกัล หัวหน้าหน่วยสรรพวุธของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และหัวหน้าองค์กรที่ตั้งใจใช้วัตถุที่เรียกว่า "เทสเซอแรกต์" (Tesseract) เป็นแหล่งพลังงานยึดครองโลก แนวคิดสร้างภาพยนตร์กัปตันอเมริกา: อเวนเจอร์ที่ 1 เริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และกัปตันอเมริกา: อเวนเจอร์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

การบังคับให้ฆ่าตัวตาย

“การฆ่าตัวตายของโสกราตีส” โดยฌาคส์-ลุยส์ ดาวิด ราว ค.ศ. 1787 การบังคับให้ฆ่าตัวตาย (forced suicide) เป็นวิธีการลงโทษโดยผู้ถูกลงโทษมีโอกาสเลือกระหว่างการฆ่าตัวตายเอง หรือการตายด้วยวิธีอื่นที่อาจจะได้รับการทรมานมากกว่า, หรือการจำขังสมาชิกในครอบครัวหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง หรือการเผชิญหน้าต่อความอัปยศต่าง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการบังคับให้ฆ่าตัวตาย · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองยูโกสลาเวีย

การบุกครองยูโกสลาเวีย, หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ สงครามเดือนเมษายน เรื่มขึ่นเมื่อ เยอรมนี เปิดฉากโจมตี ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ร่วมกับ ฝ่ายอักษะ โดยเริ่มขึ้นในวันที่ 6 เมษายน 1941 ในช่วง สงครามโลกครั้งที่สอง หลังเกิด รัฐประหารยูโกสลาเวีย เมื่อหลายวันก่อนหน้า ยูโกสลาเวียดำรงความเป็นกลางในสงครามโลกครั้งที่ 2 มาได้เกือบ 2 ปี แต่เมื่อเดือนมีนาคมปี 1941 เจ้าชาย Paul ถูกบีบบังคับให้เซ็นสัญญาเป็นพันธมิตรกับฝ่ายอักษะ ทำให้เกิดการโค่นล้มอำนาจของพระองค์เพื่อปฏิเสธการเป็นพันธมิตรกับอักษะในเบลเกรด และ องค์มกุฏราชกุมารได้ถูกยกขึ้นมาเป็นพระเจ้า Peter II ปกครองยูโกสลาเวียแทน ฝ่ายอักษะจึงเข้าโจมตียูโกสลาเวียและแยกดินแดนยูโกสลาเวียเป็นส่วนๆแบ่งสรรกันในหมู่ฝ่ายอักษะ (อิตาลี เยอรมนี บัลแกเรีย ฮังการี โรมาเนีย แอลเบเนีย) แต่ที่สำคัญคือยกกลุ่ม Ustaša ให้ขึ้นมาเป็นรัฐบาลปกครองรัฐเอกราชโครเอเชีย (Independent State of Croatia)  .

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการบุกครองยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองนอร์ม็องดี

การรุกรานนอร์ม็องดี คือการรบระหว่างกองทัพฝ่ายอักษะนาซีเยอรมนีที่ประจำการอยู่ในยุโรปตะวันตก กับกองกำลังสัมพันธมิตรกว่า 3 ล้านนายที่ทำการบุกข้ามช่องแคบอังกฤษมาจากฐานที่ตั้งชั่วคราวในแนวรบที่อยู่ทางตอนใต้ของประเทศอังกฤษ (ส่วนใหญ่มาจากเมืองพอร์ทสมัธ) มายังหัวหาดนอร์ม็องดีในฝรั่งเศสที่กองทัพเยอรมันยึดมาได้ ภายใต้ชื่อแผนปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด (Operation Overlord) เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 6 มิถุนายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการบุกครองนอร์ม็องดี · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองโปแลนด์

การบุกครองโปแลนด์ หรือเรียกการทัพกันยายน (Kampania wrześniowa) หรือสงครามตั้งรับปี 1939 (Wojna obronna 1939 roku) ในโปแลนด์ และ การทัพโปแลนด์ (Polenfeldzug) หรือ ฟัลล์ไวสส์ (Fall Weiss) ในเยอรมนี เป็นการบุกครองโปแลนด์ร่วมโดยเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสโลวาเกียซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การบุกครองของเยอรมนีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 หนึ่งสัปดาห์ให้หลังการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ขณะที่การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 กันยายน 1939 หลังความตกลงโมโลตอฟ-โตโก ซึ่งยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นในภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน การทัพดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคมด้วยเยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแยกและผนวกโปแลนด์ทั้งประเทศตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–โซเวียต กำลังเยอรมนีบุกครองโปแลนด์จากทิศเหนือ ใต้ และตะวันตกในเช้าหลังเกิดกรณีกลิวิซ ขณะที่เวร์มัคท์รุกคืบ กำลังโปแลนด์ถอนจากฐานปฏิบัติการส่วนหน้าติดกับพรมแดนโปแลนด์–เยอรมนีไปแนวป้องกันที่จัดตั้งดีกว่าทางตะวันออก หลังโปแลนด์แพ้ยุทธการที่บึซราเมื่อกลางเดือนกันยายน ทำให้เยอรมนีได้เปรียบแน่นอน จากนั้นกำลังโปแลนด์ถอนตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ที่ซึ่งพวกเขาเตรียมการป้องกันระยะยาวที่หัวสะพานโรมาเนียและคอยการสนับสนุนและการช่วยเหลือที่คาดจากฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญากับโปแลนด์และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กันยายน แต่สุดท้ายแล้วทั้งสองช่วยเหลือโปแลนด์แต่เพียงเล็กน้อย การบุกครองโปแลนด์ตะวันออกของกองทัพแดงโซเวียตเมื่อวันที่ 17 กันยายนตามพิธีสารลับในสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ทำให้แผนการตั้งรับของโปแลนด์ต้องเลิกไป เมื่อเผชิญกับแนวรบที่สอง รัฐบาลโปแลนด์สรุปว่าการป้องกันหัวสะพานโรมาเนียเป็นไปไม่ได้อีกต่อไปและสั่งอพยพกำลังพลฉุกเฉินทั้งหมดไปยังประเทศโรมาเนียที่เป็นกลาง วันที่ 6 ตุลาคม หลังโปแลนด์ปราชัยที่ยุทธการที่ค็อก (Kock) กำลังเยอรมนีและโซเวียตก็ควบคุมโปแลนด์อย่างสมบูรณ์ ความสำเร็จของการบุกครองนี้เป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง แม้โปแลนด์จะไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการก็ตาม วันที่ 8 ตุลาคม หลังสมัยการบริหารทหารทหารช่วงต้น เยอรมนีได้ผนวกโปแลนด์ตะวันตกและอดีตนครเสรีดันซิกโดยตรง และกำหนดให้ดินแดนส่วนที่เหลืออยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลทั่วไป (General Government) สหภาพโซเวียตรวมพื้นที่ที่เพิ่งได้มาเข้ากับสาธารณรัฐองค์ประกอบเบลารุสและยูเครนของตน และเริ่มการรณรงค์ปลูกฝังความเป็นโซเวียตทันที หลังการบุกครองดังกล่าว องค์การขัดขืนใต้ดินหลายกลุ่มได้ตั้งรัฐใต้ดินโปแลนด์ขึ้นในดินแดนของอดีตรัฐโปแลนด์ ในเวลาเดียวกับที่ทหารลี้ภัยจำนวนมากซึ่งสามารถหลบหนีออกนอกประเทศได้ก็เข้าร่วมกับกองทัพโปแลนด์ในทิศตะวันตก ซึ่งเป็นกองทัพที่ภักดีต่อรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการบุกครองโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองเยอรมนีของสัมพันธมิตรตะวันตก

การบุกครองเยอรมนีของฝ่ายสัมพันธมิตร เป็นปฏิบัติการของฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกในช่วงเดือนสุดท้ายของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การบุกครองเยอรมนีเริ่มขึ้นเมื่อกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกได้ข้าม แม่น้ำไรน์ ในเดือน มีนาคม 1945 โดยเข้าโจมตีทางตะวันตกของเยอรมนี จาก ทะเลบอลติก จนถึงทางตอนเหนือของ ออสเตรีย และตอนใต้ ก่อนที่เยอรมนีจะยอมแพ้ในวันที่ 8 พฤษภาคม 1945 การบุกครองยังมีอีกชื่อว่า "การทัพยุโรปกลาง" โดยนักประวัติศาสตร์ทางการทหารของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการบุกครองเยอรมนีของสัมพันธมิตรตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมที่เนือร์นแบร์ค

"โทเทเนรุง" (สรรเสริญผู้ตาย) บนระเบียงหน้า "เอเรนฮัลเลอ" (หอเกียรติยศ) ในฉากหลังเป็นที่ชุมนุมนาซี "เอเรนทรีบือเน" (เวทีเกียรติยศ) รูปจันทร์เสี้ยว ในการชุมนุมที่เนือร์นแบร์ค กันยายน ค.ศ. 1934 การชุมนุมใน ค.ศ. 1935 การชุมนุมที่เนือร์นแบร์ค (หรือ Reichsparteitag ซึ่งเป็นคำที่ทางการเยอรมนีใช้ หมายความว่า "การประชุมของพรรคชาตินิยม") ซึ่งเป็นการชุมนุมประจำปีของพรรคนาซี ระหว่างปี 1923-1938 โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากฮิตเลอร์ก้าวขึ้นสู่อำนาจในปี 1933 แล้ว ในการชุมนุมจะเป็นการโฆษณาชวนเชื่อขนานใหญ่ Reichsparteitage นั้นถูกจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีที่ ลานชุมนุมของพรรคนาซีในเมืองเนือร์นแบร์ค ตั้งแต่ปี 1933 เป็นต้นม.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการชุมนุมที่เนือร์นแบร์ค · ดูเพิ่มเติม »

การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค

ซึดดอยท์เชอไซทุง (Süddeutsche Zeitung) ลงข่าว "คำพิพากษาในเนือร์นแบร์ค" ในภาพคือ: (แถวจากซ้ายไป - รูปจากบนลงมา) ''แถวที่หนึ่ง'' เกอริง, เฮสส์, ริบเบนทรอพ, โรเซนแบร์ก, ฟรังค์ และฟริก; ''แถวที่สอง'' ฟุงค์, ชไตเชอร์ และชัชท์; ''แถวที่สาม'' เดอนิทซ์, แรเดอร์ และชีรัช; ''แถวที่สี่'' เซาค์เคล, โยเดิล, พาเพิน, ไซซ์-อินควัร์ท, สเปร์, นอยรัท และบอร์มันน์ การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค (Nuremberg trials) เป็นชุดการพิจารณาคดีทางทหารที่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะสงครามโลกครั้งที่สองเป็นผู้จัด มีจุดเด่นเป็นการฟ้องสมาชิกชั้นผู้ใหญ่ในคณะผู้นำทางการเมือง การทหาร และเศรษฐกิจของนาซีเยอรมนีซึ่งพ่ายสงคราม การพิจารณาทั้งนี้มีขึ้น ณ ตำหนักยุติธรรม เมืองเนือร์นแบร์ค รัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี โดยชุดแรกเป็น "การพิจารณาผู้กระทำความผิดอาญาสงครามกลุ่มหลัก" ในศาลทหารระหว่างประเทศ (International Military Tribunal) เริ่มในวันที่ 20 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค · ดูเพิ่มเติม »

การยกพลขึ้นบกที่นอร์ม็องดี

การยกพลขึ้นบกที่นอร์ม็องดี หรือชื่อรหัสว่า ปฏิบัติการเนปจูน เป็นปฏิบัติการยกพลขึ้นบกเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการยกพลขึ้นบกที่นอร์ม็องดี · ดูเพิ่มเติม »

การยึดครองเชโกสโลวาเกียของเยอรมนี

ือนตุลาคม ค.ศ. 1938 ฮิตเลอร์ (ยืนอยู่ในเมอร์ซิเดส) ขับผ่านฝูงชนในเชบ ส่วนหนึ่งของภูมิภาคซูเดเทินลันด์ที่มีประชากรชาวเยอรมันอาศัยอยู่มากของเชโกสโลวาเกีย ซึ่งถูกผนวกเข้ากับนาซีเยอรมนีจากความตกลงมิวนิก การยึดครองเชโกสโลวาเกียของเยอรมนี (ค.ศ. 1938–1945) เริ่มต้นด้วยเยอรมันผนวกภูมิภาคตอนเหนือและชายแดนด้านตะวันตกของเชโกสโลวาเกีย, ก่อนหน้านี้ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมัน-ออสเตรียที่รู้จักกันเป็นอย่างดีคือซูเดเทินลันด์ ภายใต้เงื่อนไขที่ระบุไว้โดยข้อตกลงมิวนิก ผู้นำเยอรมันอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้เอ่ยอ้างสำหรับการกระทำเช่นนี้คือได้กล่าวถึงความทุกข์ทรมานความเดือดร้อนโดยประชากรชนกลุ่มน้อยเชื้อชาติเยอรมันที่อาศัยอยู่ในภูมิภาคนั้น ป้อมปราการชายแดนที่ใหม่และกว้างขางคลอบคลุมเชโกสโลวักยังคงตั้งอยู่ในพื้นที่เดียวกัน ภายหลังจากอันชลุสส์คือการผนวกออสเตรียของนาซีเยอรมนี ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการยึดครองเชโกสโลวาเกียของเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

การรณรงค์งดสูบบุหรี่ในนาซีเยอรมนี

ษณาเชิญชวนงดสูบบุหรี่ของนาซีหัวข้อว่า "การสูบบุหรี่ลูกโซ่" กล่าวว่า "เขาไม่ได้กลืนมัน (บุหรี่) แต่เป็นมันที่กลืนเขาเข้าไป" การรณรงค์ต่อต้านบุหรี่ในนาซีเยอรมนี นับว่าเป็นการรณรงค์งดสูบบุหรี่ที่ประสบความสำเร็จที่สุดในโลก ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 จนถึงช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1940 นาซีเยอรมนีเป็นชาติแรก ๆ ที่มีการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่ในประวัติศาสตร์สมัยใหม่ การรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่ได้เจริญขึ้นอย่างมากในช่วงต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 "นักวิทยาศาสตร์มีความคิดที่จะห้ามปรามการสูบบุหรี่ในช่วงต้นของศตวรรษในหลายประเทศ แต่พวกเขาประสบความสำเร็จเพียงเล็กน้อย ยกเว้นในเยอรมนีที่ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เหล่านั้นได้รับการสนับสนุนอย่างเป็นทางการจากรัฐบาลหลังจากพรรคนาซีขึ้นสู่อำนาจ" แต่ว่าประสบความสำเร็จน้อยมาก ยกเว้นในนาซีเยอรมนีซึ่งได้มีการรณรงค์อย่างแข็งขันที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลภายใต้การนำของพรรคนาซี ผู้นำชาติสังคมนิยมได้คัดค้านการสูบบุหรี่ และวิพากษ์วิจารณ์ผลกระทบจากการสูบบุหรี่อย่างเปิดเผย การวิจัยถึงบุหรี่และผลของการสูบบุหรี่ได้รับการสนับสนุนในยุคสมัยของพรรคนาซี และกลายเป็นงานวิจัยที่มีความสำคัญมากในสมัยนั้น ส่วนตัวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เองแล้ว เขาเป็นคนเกลียดบุหรี่ และมีนโยบายในการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่ และนโยบายดังกล่าวต่างก็ได้รับการสนับสนุนจากลัทธิต่อต้านยิวและคตินิยมเชื้อชาติ การรณรงค์งดสูบบุหรี่ในนาซีเยอรมนียังรวมไปถึง การห้ามสูบบุหรี่ในรถราง รถโดยสารประจำทางและรถไฟประจำเมือง การสนับสนุนวิชาสุขศึกษา การกำหนดการปันส่วนบุหรี่ในกองทัพบก การจัดการบรรยายเรื่องยาให้แก่ทหาร และการเพิ่มภาษีบุหรี่ พวกชาติสังคมนิยมยังกำหนดให้มีการจำกัดการโฆษณาบุหรี่และการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ รวมไปถึงการวางระเบียบร้านอาหารและบ้านกาแฟ การรณรงค์งดสูบบุหรี่ไม่ได้ประสบความสำเร็จมากนักในช่วงต้นของยุคนาซี และปริมาณการบริโภคบุหรี่ก็เพิ่มมากขึ้นในช่วง ค.ศ. 1933 ถึง ค.ศ. 1939 แต่การสูบบุหรี่โดยทหารลดลงในช่วงปี ค.ศ. 1939 ถึงปี ค.ศ. 1945 จนกระทั่งถึงตอนปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 20 การรณรงค์งดสูบบุหรี่ในเยอรมนีหลังสงครามก็ไม่ประสบความสำเร็จมากเท่ากับการรณรงค์ของนาซี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการรณรงค์งดสูบบุหรี่ในนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

การสร้างเสริมอาวุธยุทธภัณฑ์ของเยอรมนี

การเสริมสร้างอาวุธยุทธภัณฑ์ของเยอรมัน(Aufrüstung)เป็นยุคของการฟื้นฟูในเยอรมนีในช่วงสมัยระหว่างสงคราม(ค.ศ. 1918-1939) ในการละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย ได้เริ่มขึ้นทันทีหลังจากสนธิสัญญาได้มีการลงนาม ด้วยขนาดเล็ก เป็นความลับและพื้นฐานอย่างไม่เป็นทางการ แต่ก็ได้ขยายตัวขึ้นภายหลังจากพรรคนาซีได้เข้าสู่อำนาจในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการสร้างเสริมอาวุธยุทธภัณฑ์ของเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

การสงบศึก 22 มิถุนายน ค.ศ. 1940

การสงบศึก 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการสงบศึก 22 มิถุนายน ค.ศ. 1940 · ดูเพิ่มเติม »

การจำยอมสละ

นายกรัฐมนตรีอังกฤษ เนวิล เชมเบอร์ลิน กับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในการพบปะที่บัดก็อทเอสแบร์ก (Bad Godesberg) ในเยอรมนี เมื่อ 24 กันยายน ค.ศ. 1938 ซึ่งฮิตเลอร์ต้องการผนวกดินแดนบริเวณเขตชายแดนของเช็กเกียโดยเร็ว การจำยอมสละ (Appeasement) เป็นนโยบายทางการทูตที่มุ่งหลีกเลี่ยงสงครามโดยการยอมให้แก่ประเทศก้าวร้าว นักประวัติศาสตร์ พอล เคนเนดี นิยามว่าเป็น "นโยบายระงับการวิวาทระหว่างประเทศโดยการยอมรับและสนองความเดือดร้อนผ่านการเจรจาและการประนีประนอมอย่างมีเหตุผล ฉะนั้นจึงหลีกเลี่ยงการหันไปถึ่งการขัดกันด้วยอาวุธซึ่งจะมีราคาแพง นองเลือดและอาจอันตราย" ประเทศประชาธิปไตยยุโรป ซึ่งปรารถนาจะหลีกเลี่ยงสงครามกับเผด็จการเยอรมนีและอิตาลี ในคริสต์ทศวรรษ 1930 ใช้การจำยอมสละ ด้วยนึกถึงความน่าสะพรึงของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง คำนี้มักใช้กับนโยบายต่างประเทศของนายกรัฐมนตรีเนวิล เชมเบอร์ลิน ต่อนาซีเยอรมนีระหว่าง..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการจำยอมสละ · ดูเพิ่มเติม »

การทัพทะเลทรายตะวันตก

การทัพทะเลทรายตะวันตก (สงครามทะเลทราย),เกิดขึ้นในทะเลทรายของอียิปต์และลิเบียและเป็นส่วนหลักของการทัพแอฟริกาเหนือในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.การทัพได้เริ่มขึ้นเมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการทัพทะเลทรายตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

การทัพนอร์เวย์

การทัพนอร์เวย์ หรือปฏิบัติการเวแซร์รืบุง (9 เมษายน - 10 มิถุนายน ค.ศ. 1940) นั้นเป็นการเผชิญหน้ากันอย่างเต็มรูปแบบเป็นครั้งแรกของสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรกับนาซีเยอรมนี เยอรมนีนั้นต้องการที่จะครอบครองนอร์เวย์เพื่อเหล็กและโลหะจากสวีเดนอีกต่อหนึ่ง ซึ่งขนส่งทางเรือจากเมืองท่านาร์วิก ด้วยการยึดครองเมืองท่าอย่างสมบูรณ์ ก็จะทำให้การขนส่งทรัพยากรดังกล่าวเพื่อป้อนเข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรม แม้ว่าจะถูกขัดขวางด้วยการปิดล้อมทางทะเลจากอังกฤษ นอกจากนั้นแล้ว มันยังทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรและเยอรมนีสามารถรบกันได้ด้วยการรบแบบสนามเพลาะซึ่งทั้งสองฝ่ายหวาดกลัว ต่อมาเมื่อยุทธนาวีมหาสมุทรแอตแลนติกขยายออกไป สนามบินของนอร์เวย์ เช่น สนามบินโซลา ในเมืองสตาแวนเจอร์ ซึ่งเครื่องบินสำรวจเยอรมันใช้เพื่อออกปฏิบัติการในภาคพื้นมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการทัพนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

การทำความเคารพฮิตเลอร์

การทำความเคารพฮิตเลอร์ (Hitler salute) หรือ การทำความเคารพแบบนาซี (Nazi salute) หรือเป็นที่รู้จักกันในเยอรมนีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองว่า การทักทายแบบเยอรมัน (Deutscher Gruß) โดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้ดัดแปลงมาจากการทำความเคารพแบบเบลลามี หลังจากการเคลื่อนไหวของผู้นิยมลัทธิฟาสซิสต์ ภายใต้การนำของเบนิโต มุสโสลินี และการเคลื่อนไหวมวลชนอื่น ๆ โดยเป็นการแสดงถึงความยิ่งใหญ่ของฮิตเลอร์ตลอดช่วงเวลาของนาซีเยอรมนี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการทำความเคารพฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

การทำให้เป็นประชาธิปไตย

การทำให้เป็นประชาธิปไตย หรือ การเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตย (Democratization) เป็นการเปลี่ยนระบอบการปกครองให้เป็นประชาธิปไตยยิ่งขึ้น ซึ่งอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างสำคัญไปในทางประชาธิปไตย การเปลี่ยนจากระบอบอำนาจนิยมไปเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ จากระบอบอำนาจนิยมไปเป็นกึ่งประชาธิปไตย หรือจากกึ่งประชาธิปไตย/อำนาจนิยมไปเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ ซึ่งอาจมีผลเป็นความมั่นคงทางประชาธิปไตย (ดังที่สหราชอาณาจักรเป็นตัวอย่าง) หรืออาจจะกลับไปกลับมาบ่อย ๆ (ดังที่ อาร์เจนตินาเป็นตัวอย่าง) รูปแบบต่าง ๆ ของการเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตยมักใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ เช่น ประเทศจะเริ่มทำสงครามหรือไม่ เศรษฐกิจจะเติบโตหรือไม่ กระบวนการมีปัจจัยหลายอย่างรวมทั้งพัฒนาการทางเศรษฐกิจ ประวัติ และประชาสังคม ผลสูงสุดของกระบวนการนี้ก็เพื่อประกันว่า ประชาชนจะมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง และมีส่วนตัดสินใจในระบอบการปกครอง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการทำให้เป็นประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

การขับไล่ชาวโปแลนด์โดยนาซีเยอรมนี

วโปแลนด์ที่ถูกขับไล่ในปี 1939 จาก ไรชส์เกาวาร์เทอลันด์ Polish Matczak family among Poles expelled in 1939 from Sieradz in central Poland การขับไล่ชาวโปแลนด์โดยนาซีเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองเป็นปฏิบัติการครั้งใหญ่ของนาซีเยอรมันซึ่งประกอบด้วยการบังคับให้ตั้งถิ่นฐานใหม่แก่ชาวโปแลนด์เชื้อชาติกว่า 1.7 ล้านคนจากทุกพื้นที่ของโปแลนด์ที่ถูกยึดครองโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะทำให้กลายเป็นภูมิประเทศที่ชาวเยอรมันจะได้ไปอาศัยอยู่ (ดู เลเบนสเราม์) ระหว่างปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการขับไล่ชาวโปแลนด์โดยนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

การตีฝ่าช่องแคบ

การตีฝ่าช่องแคบหรือปฏิบัติการเซเบอรัส(Unternehmen Zerberus) เป็นปฏิบัติการทางทะเลของเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ครีกซมารีเนอ(กองทัพเรือเยอรมัน) กองเรือรบประกอบด้วยเรือประจัญบานสองลำคือเรือระดับชาร์นฮอร์ชต-คลาส, เรือลาดตระเวนหนัก พรินซ์ ยูจีน และเรือคุ้มกัน ได้แล่นเรือเข้าหาแนวปิดกั้นของอังกฤษจากแบร็สต์ในบริตทานี ชาร์นฮอร์ชตและไกเซเนา ได้เดินทางถึงแบร็สต์ในวันที่ 22 มีนาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการตีฝ่าช่องแคบ · ดูเพิ่มเติม »

การต่อต้านยิว

การ์ตูนเยาะหยันชาวยิวจากฝรั่งเศส ค.ศ. 1898 หน้าปกหนังสือ “ทางสู่ชัยชนะของความเป็นเยอรมันต่อความเป็นยิว” โดยมารร์ ฉบับ ค.ศ. 1880 การต่อต้านยิว (Antisemitism หรือ Anti-semitism หรือ anti-Semitism หรือ Judeophobia) เป็นคำที่ใช้ในการบรรยายความเป็นอคติ (prejudice) ต่อหรือความรู้สึกต่อต้านชาวยิว ที่มักจะมาจากความมีอคติต่อศาสนา, วัฒนธรรม และชาติพันธุ์ของชาวยิว แม้ว่าที่มาของคำว่า “ลัทธิความเป็นอคติต่อเซมิติค” ในภาษาอังกฤษ “Antisemitism” ตามอักขระแล้วจะหมายถึงความเป็นอคติต่อชนเซมิติค (Semitic peoples) แต่โดยทั่วไปคำนี้จะหมายถึงเฉพาะความเป็นอคติต่อชาวยิวตั้งแต่เริ่มใช้กันมา"Antisemitism has never anywhere been concerned with anyone but Jews." Bernard Lewis.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการต่อต้านยิว · ดูเพิ่มเติม »

การต่อต้านระบอบนาซีของชาวเยอรมัน

การต่อต้านระบอบนาซีของชาวเยอรมัน (Widerstand) เป็นการต่อต้านระบอบเผด็จการลัทธิฟาสซิสต์ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซีในเยอรมนี มีวัตถุประสงค์คือ การกำจัดฮิตเลอร์และสมาชิกบุคคลสำคัญในพรรคนาซีเช่น แฮร์มันน์ เกอริง ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ เป็นต้น และยึดการควบคุมประเทศเยอรมนีและกองทัพเยอรมันทางการเมืองจากพรรคนาซี (รวมถึงเอสเอส) เพื่อให้ได้มาซึ่งสันติภาพกับฝ่ายสัมพันธมิตรให้เร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้เพราะเห็นว่าเยอรมนีกำลังจะตกเป็นพ่ายเพลี่ยงพล้ำและกำลังจะแพ้สงคราม นอกจากนั้นความปรารถนาเบื้องหลังของนายทหารระดับสูงของเวร์มัคท์หลายนายและชาวเยอรมันหลายคน คือ เพื่อแสดงให้โลกเห็นว่าชาวเยอรมันทุกคนไม่ได้เป็นอย่างฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ด้วยความพยายามของกลุ่มต่อต้านในการลอบสังหารฮิตเลอร์หลายครั้งแต่ไม่ประสบความสำเร็จ จนกระทั่งได้วางแผนการลับหนึ่งคือ ลอบสังหารฮิตเลอร์ด้วยการวางระเบิดภายในกองบัญชาการสนาม "รังหมาป่า" ใกล้เมืองรัสเทนบูร์ก แคว้นปรัสเซียตะวันออก และทำการก่อรัฐประหารในกรุงเบอร์ลินด้วยปฏิบัติการวาลคิรี คือให้กองกำลังรักษาดินแดนแห่งเยอรมนีทำการยึดอำนาจควบคุมหัวเมืองเยอรมนีทั้งหมด ปลดอาวุธหน่วยเอสเอส และจับกุมคณะผู้นำรัฐบาลนาซี หากทำสำเร็จก็จะเปิดการเจราจาสันติภาพกับฝ่ายสัมพันธมิตรก็จะทำให้สงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรปก็จะจบลงทันทีและเยอรมนีก็จะได้รับผลกระทบจากการพ่ายแพ้สงครามที่คิดว่าน้อยที่สุดเท่าที่จะได้รับ แผนการได้เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการต่อต้านระบอบนาซีของชาวเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมรัฐบาลไรช์ 12 ธันวาคม ค.ศ. 1941

รชส์ทาค 11 ธันวาคม ค.ศ. 1941 การประชุมรัฐบาลไรช์ 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการประชุมรัฐบาลไรช์ 12 ธันวาคม ค.ศ. 1941 · ดูเพิ่มเติม »

การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย

การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย หรือ มาตรการสุดท้าย (Final Solution; Die Endlösung) เป็นชื่อรหัสที่หมายถึงแผนการกำจัดชาวยิวทั่วยุโรประหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ตามนโยบายกวาดล้างชาวยิวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำพรรคแรงงานสังคมนิยมแห่งชาติเยอรมันหรือนาซี เป็นการเข่นฆ่าเพื่อล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิวครั้งใหญ่ โดยเริ่มใช้มาตรการสุดท้าย ใน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย · ดูเพิ่มเติม »

การโจมตีของทหารราบ

ผลงานหนังสือ "การโจมตีของทหารราบ" ที่เขียนโดยรอมเมิล การโจมตีของทหารราบ (Infanterie greift an; Infantry Attacks) เป็นหนังสือคลาสสิกเกี่ยวกับยุทธวิธีทางทหารที่เขียนโดยแอร์วิน รอมเมิล เกี่ยวกับประสบการณ์ของเขาในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในช่วงเวลาของการเขียนหนังสือในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษที่ 1930 โดยยศของรอมเมิลในขณะนั้นคือพันโท รอมเมิลได้วางแผนที่จะเขียนเล่มตามหลังในชื่อพันเซอร์ไกรฟท์อัน (Panzer greift an; Tanks Attack) เกี่ยวกับสงครามรถถัง และเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างการทัพแอฟริกาเหนือ อย่างไรก็ตาม เขาถูกบังคับให้ฆ่าตัวตายก่อนที่จะเสร็จสิ้นผลงานดังกล่าว.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการโจมตีของทหารราบ · ดูเพิ่มเติม »

กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน

กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน (Ritterkreuz des Eisernen Kreuzes) หรือเรียกอีกอย่างว่า กางเขนอัศวิน (Ritterkreuz) เป็นบำเหน็จความชอบขั้นสูงสุดในกองกำลังทหารและกึ่งทหารของนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มีการมอบบำเหน็จนี้อย่างแพร่หลายด้วยสารพัดเหตุผล เช่น การนำทัพที่ยอดเยี่ยมของผู้บัญชาการ หรือความกล้าหาญในสมรภูมิของนายทหารระดับล่าง บำเหน็จนี้จะถูกมอบให้แก่เจ้าหน้าที่ในสามเหล่าทัพของเวร์มัคท์ (''เฮร์'', ครีกซมารีเนอ และลุฟท์วัฟเฟอ) ตลอดจนสมาชิกของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส, กองแรงงานไรช์ และโฟล์คสชทูร์ม บำเหน็จนี้ถูกมอบไปมากกว่า 7,000 สำรับตลอดช่วงสงคราม อดอล์ฟ ฮิตเลอร์สถาปนาบำเหน็จนี้ขึ้นเมื่อ 1 กันยายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน · ดูเพิ่มเติม »

กำแพงเบอร์ลิน

กำแพงเบอร์ลิน ภาพถ่ายจากฝั่งเบอร์ลินตะวันตก เมื่อปี พ.ศ. 2529 กำแพงเบอร์ลิน (Berlin Wall; Berliner Mauer) เป็นกำแพงที่สร้างขึ้นช่วงสงครามเย็น มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้นพรมแดนระหว่างเบอร์ลินตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีตะวันตก กับเยอรมนีตะวันออกที่โอบอยู่โดยรอบ มีความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) และปิดกั้นพรมแดนนี้เป็นระยะเวลา 28 ปี ก่อนถูกทลายในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ในเยอรมนีตะวันออก กำแพงเบอร์ลิน คือ แนวเขตแดนที่มั่นคง และสัญลักษณ์ของการต่อต้านทุนนิยม มันถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า "แนวป้องกันการต่อต้านฟาสซิตส์" แต่สำหรับโลกเสรีแล้ว มันคือ สัญลักษณ์ของความขัดแย้งระหว่างระบบทุนนิยมของยุโรปตะวันตก ภายใต้การนำของสหรัฐอเมริกา กับระบบคอมมิวนิสต์ของยุโรปตะวันออก ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต หรือที่เรียกกันว่า สงครามเย็น นั่นเอง กำแพงเบอร์ลิน ทำให้กรุงเบอร์ลินฝั่งตะวันตก กลายเป็นเสมือน หน้าต่างสู่เสรีภาพ นับตั้งแต่การสร้างกำแพงเบอร์ลิน การข้ามผ่านแดนจากเยอรมนีตะวันออก ไปยังเยอรมนีตะวันตก กลายเป็นเรื่องผิดกฎหมาย หากมีการฝ่าฝืนและถูกพบเห็น มีโทษสถานเดียว คือ การยิงทิ้ง ณ บริเวณกำแพงนั่นเอง ตลอดระยะเวลา 28 ปี คาดว่ามีผู้เสียชีวิตที่กำแพงเบอร์ลินขณะหลบหนีระหว่าง 137 ถึง 206 คน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และกำแพงเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

กุสทัฟ ริทเทอร์ ฟอน คาร์

กุสทัฟ ริทเทอร์ ฟอน คาร์ (29 พฤศจิกายน1862 – 30 มิถุนายน 1934) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันฝ่ายขวา,ได้ทำหน้าที่เป็นผู้ปกครองในรัฐบาวาเรี.เขาได้มีส่วนช่วยในการหยุดยั้งและปราบปรามจากการก่อรัฐประหารของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซีในเหตุการณ์กบฏโรงเบียร์ ในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และกุสทัฟ ริทเทอร์ ฟอน คาร์ · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบขาว

อนุสาวรีย์ของ'''ขบวนการกุหลาบสีขาว''' ด้านหน้าของ มหาวิทยาลัยลุดวิกเม็กซิมีเลียนแห่งมิวนิก ขบวนการกุหลาบสีขาว (die Weiße Rose)คือกลุ่มขบวนการที่ไม่ใช้ความรุนแรง, ปัญญา และต่อต้านของกลุ่มนักศึกษาและอาจารย์ในมหาวิทยาลัยมิวนิค เยอรมนีที่มีความคิดต่อต้านระบอบเผด็จการฟาสซิสต์ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี พวกเขาได้ปฏิบัติการตั้งแต่เดือนมิถุนายน ปี 1942 ด้วยการแจกใบปลิวและติดสื่อที่มีเนื้อหาการต่อต้านรัฐบาลพรรคนาซี,แจ้งข่าวความพ่ายแพ้ของกองทัพเยอรมัน(เวร์มัคท์)จากยุทธการต่างๆในสงครามโลกครั้งที่สองที่รัฐบาลนาซีได้พยายามปกปิดให้กับประชาชนชาวเยอรมันรับรู้ รวมทั้งการประณามการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของนาซีหรือฮอโลคอสต์ แต่ต้องจบลงด้วยการจับกลุ่มแกนนำทั้งหมดโดยพวกเกสตาโพในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 1943 กลุ่มแกนนำและสมาชิกคนอื่นๆและผู้สนับสนุนที่มีความเกี่ยวข้องในการแจกใบปลิวได้ถูกนำตัวไปพิจารณาคดีที่ไม่เป็นธรรมของโฟล์คซดกริชท์ชอฟ ("ศาลประชาชน") หลายคนถูกตัดสินประหารชีวิตและถูกจำคุก ในอีกหลายสิบปีหลังสงคราม เยอรมนีได้ประกาศยกย่องว่า เป็นขบวนการที่มีความกล้าหาญในการเรียกร้องต่อต้านนาซีด้วยหลักอหิงสาคือไม่ใช่ความรุนแรงใดๆเลย หมวดหมู่:นาซีเยอรมนี หมวดหมู่:ขบวนการต่อต้านสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และกุหลาบขาว · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายอักษะ

ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฝ่ายอักษะ · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายปกครองทหาร (นาซีเยอรมนี)

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง นาซีเยอรมนีได้ก่อตั้งระบอบการปกครองภายใต้การนำโดยทหารในดินแดนยึดครองซึ่งเป็นที่รู้จักกันคือ ฝ่ายปกครองทหาร หรือ อำนาจฝ่ายปกครองทหาร (de: Militärverwaltung) ซึ่งจะแตกต่างกันกับไรชส์คอมมิสซาเรียท ซึ่งอยู่ภายใต้การนำโดยเจ้าหน้าที่พรรคนาซี ฝ่ายปกครองทหารมักจะมีผู้นำโดย ผู้บัญชาการทหาร (Militärbefehlshaber, ชื่อย่ออย่างเป็นทางการว่า MilBfh) หมวดหมู่:นาซีเยอรมนี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฝ่ายปกครองทหาร (นาซีเยอรมนี) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (University of Cambridge)ใช้ชื่อทางการว่า นายกสภา อนุสาสก และคณาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (The Chancellor, Masters, and Scholars of the University of Cambridge) เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดกลางค่อนข้างใหญ่ในสหราชอาณาจักร มีความเก่าแก่เป็นอันดับที่สองของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 1752 โดยมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งก่อนหน้านั้นคือ มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับที่สี่ของโลกและยังเปิดดำเนินการอยู่อีกด้วย มหาวิทยาลัยก่อกำเนิดจากคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยซึ่งขัดแย้งกับชาวบ้านที่เมืองอ๊อกซฟอร์ด มหาวิทยาลัยเคมบริจด์และมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมักได้รับการจัดอันดับต้น ๆ ของการจัดอันดับโดยสำนักต่าง ๆ จนมีการเรียกรวมกันว่า อ๊อกซบริดจ์ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นมหาวิทยาลัยที่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุด ในบรรดามหาวิทยาลัยทั้งหลายในโลก กล่าวคือ 81 รางวัล นิสิตและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย จะถูกจัดให้สังกัดแต่ละวิทยาลัยแบบคณะอาศัย (College)หมายถึง คณะที่เป็นที่อยู่ของนักศึกษาจากหลายสาขาวิชา นักศึกษาจะพักอาศัยกินอยู่และทบทวนวิชาเรียนในคณะอาศัย แต่การเรียนการทำวิจัยต้องทำในคณะวิชา จำนวนทั้งสิ้น 31 แห่ง โดยคละกันมาจากคณะวิชา (School) 6 คณะ โดยวิทยาลัยแต่ละแห่งอาศัยบริหารงานอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน ลักษณะการบริหารเช่นนี้มีให้เห็นในมหาวิทยาลัยเคนต์ และมหาวิทยาลัยเดอแรม อาคารต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเป็นอาคารแทรกตัวตามร้านรวงในเมือง แทนที่จะเป็นกลุ่มอาคารในพื้นที่ของตนเองเช่นมหาวิทยาลัยยุคใหม่ อาคารเหล่านั้นบางหลังมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อย่างมาก มหาวิทยาลัยจัดให้มีสำนักพิมพ์เป็นของตนเอง ซึ่งถือเป็นสำนักพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของโลกที่สังกัดมหาวิทยาลัย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีห้องสมุดขนาดใหญ่อีกด้ว.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

มักซิม ยาคอบเซน

มักซิม ยาคอบเซน (Maxim Jacobsen; 26 มิถุนายน ค.ศ. 1887 ในเยลกาวา ประเทศลัตเวีย — ค.ศ. 1973) เป็นทั้งนักไวโอลิน และครูไวโอลินชาวยิว ซึ่งได้รับการจัดเป็นมือหนึ่งของโลกในสมัยนั้น และมีชื่อเสียงอย่างสูงในประเทศอิตาลี ทั้งนี้ เขายังเป็นผู้สอนวิชาดนตรีให้แก่ ชูชาติ พิทักษากร.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และมักซิม ยาคอบเซน · ดูเพิ่มเติม »

มักซ์ พลังค์

มักซ์ คาร์ล แอนสท์ ลุดวิจ พลังค์ เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ผู้บุกเบิกการศึกษาทฤษฎีควอนตัม อันเป็นส่วนสำคัญในการศึกษาฟิสิกส์สมัยใหม่ แม้ในชีวิตตอนแรกของเขาจะดูราบรื่น โดยเขามีความสามารถทั้งทางดนตรีและฟิสิกส์ แต่เขากลับเดินไปในเส้นทางแห่งนักฟิสิกส์ทฤษฎี จนเขาได้ตั้งทฤษฎีทางฟิสิกส์ที่สำคัญต่อฟิสิกส์สมัยใหม่ นั่นคือ กฎการแผ่รังสีของวัตถุดำของพลังค์ รวมถึงค่าคงตัวของพลังค์ ซึ่งนับว่าขาดไม่ได้เลยสำหรับการศึกษากลศาสตร์ควอนตัม ทว่าบั้นปลายกลับเต็มไปด้วยความสิ้นหวังจากภัยสงคราม เขาต้องสูญเสียภรรยาคนแรก และบุตรที่เกิดกับภรรยาคนแรกไปทั้งหมด จนเหลือเพียงตัวเขา ภรรยาคนที่สอง และบุตรชายที่เกิดกับภรรยาคนที่สองเพียงคนเดียว ถึงกระนั้น พลังค์ก็ยังไม่ออกจากประเทศเยอรมนีอันเป็นบ้านเกิดของเขาไปยังดินแดนอื่น พลังค์ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ประจำปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และมักซ์ พลังค์ · ดูเพิ่มเติม »

มักซ์ เวเบอร์

ร์ล เอมิล มักซิมิเลียน "มักซ์" เวเบอร์ (Karl Emil Maximilian "Max" Weber) (21 เมษายน ค.ศ. 1864 – 14 มิถุนายน ค.ศ. 1920) เป็นนักเศรษฐศาสตร์การเมืองและนักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน ถือกันว่าเวเบอร์เป็นผู้ก่อตั้งวิชาสังคมวิทยาสมัยใหม่และรัฐประศาสนศาสตร์ งานชิ้นหลัก ๆ ของเขาเกี่ยวข้องกับสังคมวิทยาศาสนาและสังคมวิทยาการปกครอง นอกจากนี้เขายังมีงานเขียนอีกหลายชิ้นในสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ งานที่ผู้คนจดจำได้มากที่สุดของเวเบอร์คือ ความเรียงเรื่อง จริยธรรมโปรเตสแตนต์และจิตวิญญาณแห่งทุนนิยม ซึ่งเป็นงานชิ้นแรกของเขาในสาขาสังคมวิทยาศาสนา ในงานชิ้นดังกล่าว เวเบอร์เสนอว่าศาสนาเป็นหนึ่งในสาเหตุหลัก ๆ ที่นำไปสู่เส้นทางการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่ต่างกันระหว่างโลกประจิม (the Occident) กับโลกบูรพา (the Orient) ในงานที่มีชื่อเสียงอีกชิ้นหนึ่งของเขาที่ชื่อการเมืองในฐานะวิชาชีพ (Politik als Beruf) เวเบอร์นิยามรัฐว่ารัฐคือหน่วยองค์ (entity) ซึ่งผูกขาดการใช้กำลังทางกายภาพที่ถูกกฎหมาย ซึ่งนิยามนี้ได้กลายเป็นจุดศูนย์กลางในการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ในเวลาต่อม.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และมักซ์ เวเบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มัคท์แอร์ไกรฟุง

แผ่นกระดานชนวนระลึกถึงสมาชิกของไรชส์ทาค จำนวน 96 คน ซึ่งถูกกำจัดโดยพรรคนาซีหลังจากที่พรรคนาซีก้าวขึ้นสู่อำนาจในปี 1933 ณ กรุงเบอร์ลิน มัคท์แอร์ไกรฟุง (Machtergreifung) เป็นคำในภาษาเยอรมัน หมายความว่า "การยึดอำนาจ" คำคำนี้มักจะหมายถึง การขึ้นสู่อำนาจของพรรคนาซีในสาธารณรัฐไวมาร์ เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1933 ในตอนแรก คำว่า มัคท์แอร์ไกรฟุง เป็นคำที่พรรคนาซีกุขึ้นเองเพื่อพรรณนาถึงการขึ้นสู่อำนาจด้วยการใช้กำลัง (เหตุการณ์ดังกล่าวเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า นาซิโยนาเลอแอร์เฮบุง (Nationale Erhebung) หรือ "กบฏแห่งชาติ" ตั้งแต่การขึ้นสู่อำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เป็นผลจากการใช้เล่ห์เหลี่ยมมากกว่าการปฏิวัติด้วยกำลัง นักประวัติศาสตร์จึงได้วิพากษ์วิจารณ์คำดังกล่าว และบางครั้งก็ได้เลี่ยงไปใช้คำว่า มัคท์อือเบอร์ทรากุง (Machtübertragung) หรือ "การกุมอำนาจ" และคำว่า มัคท์แอร์ชไลชุง (Machterschleichung) หรือ "การลอบกุมอำนาจ" แทน ส่วนอีกคำหนึ่งที่ใช้บรรยายถึงการขึ้นสู่อำนาจของพรรคนาซี คือ การปฏิวัติสีน้ำตาล หลังจากเหตุการณ์มัคท์แอร์ไกรฟุง ในปี ค.ศ. 1933 ได้เกิดเหตุการณ์ ไกลช์ชัลทุง ขึ้นตามมาในปี ค.ศ. 1934 ซึ่งเป็นการกำจัดศัตรูทางการเมืองซึ่งเป็นฝ่ายตรงข้ามของพรรคนาซี ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มบุคคลผู้มีอิทธิพล อย่างเช่น สหภาพการค้าหรือพรรคการเมืองได้.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และมัคท์แอร์ไกรฟุง · ดูเพิ่มเติม »

มิวนิก

มิวนิก (Munich) หรือในภาษาเยอรมันว่า มึนเชิน (München) เป็นเมืองที่อยู่ทางใต้ของประเทศเยอรมนี และเป็นเมืองหลวงของรัฐบาวาเรีย ถือเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสามของประเทศรองจากเบอร์ลินและฮัมบวร์ค และเป็นหนึ่งในเมืองมั่งคั่งที่สุดของยุโรปตัวเมืองมีประชากร 1.3 ล้านคน และ 2.7 ล้านคนในเขตเมือง ตัวเมืองตั้งอยู่บนแม่น้ำอีซาร์ เหนือเทือกเขาแอลป์ มิวนิกเป็นเมืองที่มีเศรษฐกิจเข้มแข็งที่สุดในประเทศเยอรมนี โครงการริเริ่ม “Neue Soziale Marktwirtschaft (INSM)” (เศรษฐกิจตลาดสังคมใหม่) และนิตยสาร “Wirtschafts Woche” (ธุรกิจรายสัปดาห์) ให้คะแนนมิวนิกสูงที่สุดในการสำรวจเปรียบเทียบ ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2549 (เป็นครั้งที่สาม) มิวนิกยังเป็นอันดับหนึ่งในการจัดอันดับโดยนิตยสาร “Capital” ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ที่จัดอันดับแนวโน้มเศรษฐกิจระหว่าง..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และมิวนิก · ดูเพิ่มเติม »

มีคาอิล ตูคาเชฟสกี

มีคาอิล นีโคลาเยวิช ตูคาเชฟสกี (Михаи́л Никола́евич Тухаче́вский, Mikhail Nikolayevich Tukhachevsky; 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1893 – 12 มิถุนายน ค.ศ. 1937) เป็นผู้นำทหารและนักทฤษฎีชาวโซเวียตระหว่าง..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และมีคาอิล ตูคาเชฟสกี · ดูเพิ่มเติม »

ยอน ราเบอ

อน ราเบอ (John Rabe; 23 พฤศจิกายน 1882 — 5 มกราคม 1950) เป็นนักธุรกิจชาวเยอรมันผู้เป็นที่รู้จักกันในความพยายามที่จะหยุดยั้งการสังหารหมู่นานกิงของกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นระหว่างการยึดครองนานกิง และการทำงานของเขาในการป้องกันและช่วยเหลือประชาชนจีนในช่วงเหตุการณ์การสังหารหมู่นานกิง เขตปลอดภัยนานกิงที่เขาช่วยสร้างขึ้นนั้น ได้กลายมาเป็นที่พำนักและช่วยให้ชาวจีนประมาณ 200,000 คน รอดจากการสังหารหมู.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และยอน ราเบอ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่บริเตน

ยุทธการบริเตน (Battle of Britain) คือการรบทางอากาศที่กองทัพอากาศเยอรมันหรือลุฟท์วัฟเฟอ (Luftwaffe) เปิดการโจมตีทางอากาศเพื่อชิงความได้เปรียบกับกองทัพอากาศหลวงของสหราชอาณาจักร ก่อนที่จะดำเนินการบุกทางทะเลและการทิ้งทหารพลร่มจากอากาศในปฏิบัติการสิงโตทะเล (Unternehmen Seelöwe) ที่ทางเยอรมันได้วางแผนไว้ก่อนหน้า ต้นเหตุของการรบครั้งนี้มาจากความคิดของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และนายทหารในกองทัพบกเยอรมันที่เชื่อว่าการบุกหมู่เกาะบริเตนข้ามทะเลจะไม่สามารถทำได้โดยง่ายถ้ากองทัพอากาศหลวงไม่ถูกทำลายเสียก่อน เป้าหมายหลักของลุฟวาฟเฟิลในการเปิดศึกทางอากาศคือเพื่อบั่นทอนหรือทำลายกองกำลังทางอากาศของอังกฤษจนอ่อนแอกว่าที่จะยับยั้งการบุกได้ ส่วนเป้าหมายรองก็คือทำลายโรงงานผลิตเครื่องบินและสาธารณูปโภคต่างๆ รวมทั้งทิ้งระเบิดใส่พื้นที่ที่มีความสำคัญทางการเมือง เพื่อข่มขู่ชาวบริเตนให้ยอมแพ้หรือยอมสงบศึกด้วย กระนั้น แม้เยอรมนีจะมีเครื่องบินรบที่ดีกว่าและนักบินที่มีประสบการณ์มากกว่า (สืบเนื่องจากการบุกครองโปแลนด์ก่อนหน้านี้) แต่ความเด็ดขาดของกองทัพอากาศหลวงและจำนวนเครื่องบินที่มากกว่า ทำให้ฝ่ายเยอรมันประสบกับความล้มเหลวในการทำลาย หรือแม้แต่จะบั่นทอนกำลังของกองทัพอากาศหลวงของอังกฤษ (หรือแม้แต่จะทำลายขวัญกำลังใจของชาวบริเตน)และพ่ายแพ้ไปในที่สุดซึ่งความพ่ายแพ้ครั้งนี้ของเยอรมันถือเป็นหนึ่งในความพ่ายแพ่ครั้งสำคัญของเยอรมันที่จะนำไปสู่ชัยชนะเหนือฝ่ายอักษะของฝ่ายสัมพันธมิตรในที่สุดเพราะเวลาต่อมานาซีเยอรมันได้หันเหไปโจมตีสหภาพโซเวียตแทนทำให้อังกฤษสามารถตั้งตัวได้และได้พันธมิตรใหม่เข้าร่วมต่อสู้กับนาซีเยอรมันคือ สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ยุทธการบริเตนถือเป็นการรบครั้งแรกที่สู้กันทางอากาศตลอดทั้งศึก รวมถึงเป็นศึกที่มีปฏิบัติการณ์ทิ้งระเบิดที่ยาวนานและสูญเสียมากที่สุดเท่าที่เคยมีมาจนถึงปัจจุบัน และเป็นศึกที่มีการทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์ (ที่มีจุดประสงค์เพื่อทำลายเศรษฐกิจ หรือการผลิตของศัตรู ไม่ใช่การทำลายข้าศึกโดยตรง) ที่ถูกคิดค้นขึ้นตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง แต่ยังไม่ได้ถูกนำมาใช้จริง หมวดหมู่:แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง) หมวดหมู่:ยุทธการและปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:ปฏิบัติการและยุทธการทางอากาศ.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และยุทธการที่บริเตน · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่มอสโก

ทธการมอสโก เป็นชื่อที่นักประวัติศาสตร์โซเวียตตั้งโดยหมายถึงการสู้รบที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์สองช่วงบนพื้นที่ 600 กิโลเมตรบนแนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และยุทธการที่มอสโก · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ดันเคิร์ก

ทธการที่ดันเคิร์ก เป็นปฏิบัติการทางทหารซึ่งเกิดที่ดันเคิร์ก ประเทศฝรั่งเศส ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง การยุทธ์นี้ต่อสู้กันระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและนาซีเยอรมนี เป็นส่วนหนึ่งของยุทธการที่ฝรั่งเศสบนแนวรบด้านตะวันตก ยุทธการที่ดันเคิร์กเป็นการป้องกันและอพยพทหารบริติชและฝ่ายสัมพันธมิตรในทวีปยุโรประหว่างวันที่ 26 พฤษภาคมถึง 4 มิถุนายน 1940 หลังสงครามลวง ยุทธการที่ฝรั่งเศสเริ่มอย่างจริงจังเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 ทางทิศตะวันตก กองทัพเยอรมันกลุ่มบีบุกครองประเทศเนเธอร์แลนด์และบุกไปทางทิศตะวันตก ผู้บัญชาการสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตร พลเอกฝรั่งเศส โมรีส เกมลิน (Maurice Gamelin) เริ่ม "แผนดี" และเข้าประเทศเบลเยียมเพื่อประจัญบานกับฝ่ายเยอรมันในประเทศเนเธอร์แลนด์ แผนดังกล่าวต้องพึ่งพาป้อมสนามแนวมากีโนตามชายแดนเยอรมัน–ฝรั่งเศสอย่างมาก แต่กองทัพเยอรมันข้ามแนวดังกล่าวมาแล้วผ่านประเทศเนเธอร์แลนด์ส่วนใหญ่ก่อนกองทัพฝรั่งเศสมาถึง เกมลินจึงส่งกำลังภายใต้บังคับบัญชาของเขา ได้แก่ กองทัพสนามยานเกราะ (mechanized army) สามกอง คือ กองทัพที่ 1 ที่ 7 แห่งฝรั่งเศส และกำลังรบนอกประเทศบริเตน (British Expeditionary Force) ไปแม่น้ำดิล (Dyle) วันที่ 14 พฤษภาคม กองทัพเยอรมันกลุมเอทะลวงผ่านป่าอาร์เดนและบุกไปทางทิศตะวันตกอย่างรวดเร็วสู่ซะด็อง (Sedan) แล้วหันขึ้นเหนือสู่ช่องแคบอังกฤษ การนี้จอมพลเอริช ฟอน มันชไตน์ เรียกว่า "เกี่ยวออก" (หรือเรียก "แผนเหลือง" หรือแผนมันชไตน์) ซึ่งเป็นการโอบทัพฝ่ายสัมพันธมิตร การตีโต้ตอบหลายครั้งของฝ่ายสัมพันธมิตร รวมทั้งยุทธการที่อารัส (Arras) ไม่สามารถหยุดยั้งหัวหอกของเยอรมันได้ ซึ่งไปถึงชายฝั่งเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม แยกกองทหารบริติชใกล้กับแอคม็องตีแย (Armentières) กองทัพที่ 1 แห่งฝรั่งเศส และกองทัพเบลเยียมที่อยู่เหนือขึ้นไปจากกำลังฝรั่งเศสส่วนใหญ่ที่อยู่ทางใต้ของการบุกทะลวงของเยอรมัน เมื่อถึงช่องแคบแล้ว กำลังเยอรมันกวาดไปทางเหนือตามชายฝั่ง คุกคามที่จะยึดท่าและดักกองทัพบริติชและฝรั่งเศสก่อนที่จะสามารถอพยพไปบริเตน ฝ่ายเยอรมันหยุดการบุกเข้าดันเคิร์กซึ่งเป็นการตัดสินใจที่มีการถกเถียงกันมากที่สุดครั้งหน่งของสงคราม สิ่งที่เรียกว่า "คำสั่งหยุด" นั้นมิได้มาจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ซึ่งขัดต่อความเชื่อของมหาชน จอมพลแกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์และกึนเทอร์ ฟอน คลูเกอเสนอว่ากองทัพเยอรมันรอบวงล้อมดันเคิร์กควรหยุดการบุกเข้าท่าและสะสมกำลังเพื่อเลี่ยงการตีฝ่าของฝ่ายสัมพันธมิตร ฮิตเลอร์อนุมัติคำสั่งดังกล่าวในวันที่ 24 พฤษภาคมด้วยการสนับสนุนของกองบัญชาการทหารสูงสุด กองทัพหยุดเป็นเวลาสามวันซึ่งทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรมีเวลาเพียงพอสำหรับจัดระเบียบการอพยพดันเคิร์กและตั้งแนวป้องกัน แม้ว่าฝ่ายสัมพันธมิตรจะประเมินสถานการณ์ดังกล่าวไว้อย่างเลวร้าย โดยบริเตนถึงขั้นอภิปรายกันเรื่องยอมจำนนแบบมีเงื่อนไขต่อเยอรมนี ในบั้นปลายทหารฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับการช่วยเหลือกว่า 330,000 น.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และยุทธการที่ดันเคิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เบอร์ลิน

ทธการที่เบอร์ลิน หรือที่สหภาพโซเวียตตั้งชื่อว่า ปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์เบอร์ลิน (Битва за Берлин, Берлинская наступательная операция, Штурм Берлина) เป็นการรุกใหญ่ในช่วงปลายเขตสงครามยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สอง เริ่มจากวันที่ 12 มกราคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และยุทธการที่เบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1941)

ทธการเคียฟครั้งที่หนึ่ง เป็นยุทธการที่เป็นการปิดล้อมทหารโซเวียตขนาดใหญ่โดยเยอรมันในแถบรอบเมืองเคียฟในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งการล้อมนี้ถือว่ายาวที่สุดในประวัติศาสตร์การรบ (จากจำนวนทหาร) ปฏิบัติการเริ่มต้นตั้งแต่ 7 สิงหาคม ถึง 26 กันยายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1941) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก

ทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก (Valkyrie) เป็นภาพยนตร์อเมริกันในปี ค.ศ. 2008 นำแสดงโดย ทอม ครูซ, เคนเนธ บรานาห์, บิล ไนอี, เอ็ดดี อิซซาร์ด, เทเรนซ์ สแตมพ์, ทอม วิลคินสัน กำกับการแสดงโดย ไบรอัน ซิงเกอร.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการตอกลิ่ม

German movements ยุทธการตอกลิ่ม (Battle of the Bulge) (16 ธันวาคม 1944 – 25 มกราคม 1945) เป็นการบุกใหญ่ครั้งสุดท้ายของเยอรมนีบนแนวรบด้านตะวันตกช่วงใกล้สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ผ่านเขตอาร์แดนที่มีป่าทึบแห่งวาโลเนียในทางตะวันออกของประเทศเบลเยียม ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฝรั่งเศสและประเทศลักเซมเบิร์ก การเข้าตีอย่างจู่โจมนี้ทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรไม่ทันตั้งตัวย่างสิ้นเชิง กำลังอเมริกันรับแรงกระทบของการเข้าตีและเป็นปฏิบัติการมีกำลังพลสูญเสียมากที่สุดในสงคราม ยุทธการดังกล่าวทำให้กำลังยานเกราะของเยอรมนีหมดลงอย่างรุนแรง และสามารถทดแทนได้เพียงเล็กน้อย กำลังพลของเยอรมันและอากาศยานของลุฟท์วัฟเฟอในเวลาต่อมาก็ประสบความสูญเสียอย่างหนักเช่นกัน ฝ่ายเยอรมันเรียกการบุกนี้ว่า ปฏิบัติการเฝ้าดูไรน์ (Unternehmen Wacht am Rhein) ส่วนฝ่ายสัมพันธมิตรตั้งชื่อว่า การรุกโต้ตอบอาร์เดน วลี "ยุทธการตอกลิ่ม" นั้นสื่อร่วมสมัยตั้งให้เพื่ออธิบายส่วนยื่นเด่นในแนวรบของเยอรมนีในแผนที่ข่าวยามสงคราม และกลายเป็นชื่อที่แพร่หลายที่สุดสำหรับการยุทธ์นี้ การรุกของเยอรมนีตั้งใจหยุดฝ่ายสัมพันธมิตรมิใช้ท่าแอนต์เวิร์ปของประเทศเบลเยียม และเพื่อแบ่งแนวของฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อให้ฝ่ายเยอรมันตีวงล้อมและทำลายกองทัพสัมพันธมิตรสี่กองทัพ และบังคับให้สัมพันธมิตรตะวันตกเจรจาสนธิสัญญาสันติภาพโดยฝ่ายอักษะได้เปรียบ เมื่อบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวแล้ว ผู้เผด็จการเยอรมัน อดอล์ฟ ฮิตเลอร์เชื่อว่าตนสามารถทุ่มความสนใจต่อโซเวียตบนแนวรบด้านตะวันออกได้ มีการวางแผนการรุกดังกล่าวโดยปิดเป็นความลับที่สุด มีการติดต่อวิทยุและการเคลื่อนย้ายกำลังและยุทโธปกรณ์ภายใต้กำบังของความมืด ทั้งฝ่ายสัมพันธมิตรมิได้ตอบโต้การสื่อสารของเยอรมันที่ถูกดักได้ซึ่งบ่งชี้ว่ามีการตระเตรียมการบุกของเยอรมันครั้งสำคัญ ฝ่ายเยอรมันบรรลุการจู่โจมอย่างสมบูรณ์ในเช้าวันที่ 16 ธันวาคม 1944 เนื่องจากความผยองของฝ่ายสัมพันธมิตร การหมกมุ่นกับแผนการบุกของฝ่ายสัมพันธมิตร และการลาดตระเวนทางอากาศที่เลว ฝ่ายเยอรมันเข้าตีส่วนที่มีการป้องกันเบาบางของแนวรบฝ่ายสัมพันธมิตร โดยฉวยประโยชน์จากสภาพอากาศที่มีเมฆมากซึ่งทำให้กองทัพอากาศที่เหนือกว่ามากไม่สามารถใช้การได้ มีการต่อต้านอย่างดุเดือด ณ ไหล่ทิศเหนือของการบุก รอบสันเขาเอลเซ็นบอร์น (Elsenborn) และในทางใต้ รอบบาสตอง (Bastogne) สกัดฝ่ายเยอรมันมิให้เข้าถึงถนนสำคัญสู่ทิศตะวันตกเฉียงเหนือและตะวันตกซึ่งเยอรมันต้องอาศัยจึงจะสำเร็จ แถวยานเกราะและทหารราบซึ่งควรบุกไปตามเส้นทางขนานกลับพบว่าอยู่บนถนนเดียวกัน ด้วยเหตุนี้ และภูมิประเทศซึ่งเอื้อต่อฝ่ายตั้งรับ ทำให้การบุกของเยอรมันล่าช้ากว่ากำหนด และทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรสามารถเสริมกำลังพลที่จัดวางอย่างเบาบางได้ สภาพอากาศที่ดีขึ้นทำให้การโจมตีทางอากาศต่อกำลังและแนวกำลังบำรุงของเยอรมัน ซึ่งตอกย้ำความล้มเหลวของการบุก ในห้วงของความปราชัย หน่วยของเยอรมันที่มีประสบการณ์สูงขาดแคลนกำลังพลและยุทโธปกรณ์อย่างมาก ส่วนผู้รอดชีวิตล่าถอยไปยังการป้องกันของแนวซีกฟรีด ความปราชัยนี้ทำให้หน่วยที่มีประสบการณ์หลายหน่วยของเยอรมนีขาดแคลนกำลังคนและยุทโธปกรณ์ เนื่องจากผู้รอดชีวิตได้ถอยไปยังแนวซีกฟรีด สำหรับอเมริกา ซึ่งมีผู้เข้าร่วมรบประมาณ 610,000 นาย และมีกำลังพลสูญเสีย 89,000 นาย โดยในจำนวนนี้มีเสียชีวิต 19,000 นาย ทำให้ยุทธการตอกลิ่มเป็นยุทธการใหญ่ที่สุดและนองเลือดที่สุดที่สู้รบกันในแนวรบด้านตะวันตกในสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และยุทธการตอกลิ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการเดือดเชือดนาซี

ทธการเดือดเชือดนาซี (Inglourious Basterds) เป็นภาพยนตร์สงคราม กำกับและเขียนบทโดยเควนติน แทแรนติโน นำแสดงโดยแบรด พิตต์และคริสตอฟ วอลซ์ ออกฉายในสหรัฐอเมริกาในวันที่ 21 สิงหาคม 2009 ชื่อเรื่องดัดแปลงจากชื่อภาษาอังกฤษ The Inglorious Bastards ของภาพยนตร์สงครามปี 1978 Quel maledetto treno blindato โดยผู้กำกับชาวอิตาลี เอนโซ จี. คาสเตลลารี เนื้อหาหลักๆจะเกี่ยวกับการเข่นฆ่าชาวยิวของพวกนาซีที่นำโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ชาวยิวแค้นใจจึงรวมกลุ่มกันเพื่อกำจัดพวกนาซี โดยภาพยนตร์เรื่องนี้สมมติเหตุการณ์และตัวละครขึ้นมาใหม่ แต่ก็มีตัวละครที่มีอยู่จริงด้วย เช่น ฮิตเลอร์, เกิบเบลส์ เป็นต้น ภาพยนตร์จะแบ่งเหตุการณ์ออกเป็น 3กลุ่มใหญ่ๆคือ กลุ่มนาซี กลุ่มแก๊งโคตรแสบ และฝ่ายโชแชนนา ภาพยนตร์เรื่องนี้ประสบความสำเร็จทั้งในเรื่องรายได้และคำวิจารณ์ โดยทำรายได้จากการฉายทั่วโลกไปถึง 320ล้านดอลลาร์สหรัฐ นอกจากนี้ยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ถึง 8สาขาด้วยกันรวมถึงสาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมด้วย และได้รับรางวัลมา 1สาขาคือ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมซึ่งมอบให้แก่คริสตอฟ วอลซ์ ในภาพยนตร์เรื่องนี้ เอนโซ จี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และยุทธการเดือดเชือดนาซี · ดูเพิ่มเติม »

ยูลิอุส เชร็ค

ูลิอุส เชร็ค (Julius Schreck) เป็นเจ้าหน้าที่นาซีระดับชั้นอาวุโสและเป็นคนสนิทใกล้ชิดของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เขาเกิดในเมืองมิวนิก,เชร็คได้เข้าเป็นทหารในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและหลังจากนั้นไม่นานก็ได้เข้าร่วมหน่วยกึ่งทหารปีกขว.เขาได้เข้าร่วมพรรคนาซีในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และยูลิอุส เชร็ค · ดูเพิ่มเติม »

ยูลีอุส ชไตรเชอร์

ูลีอุส ชไตรเชอร์ (Julius Streicher) เป็นสมาชิกระดับแกนนำของพรรคนาซีในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นผู้ก่อตั้งและสำนักพิมพ์ของต่อต้านยิวหนังสือพิมพ์ Der Stürmer ซึ่งกลายเป็นองค์กรโฆษณาชวนเชื่อหลักของพรรคนาซี บริษัทสำนักพิมพ์ของเขายังปล่อยหนังสือสามเล่มที่มีเนื้อหาการต่อต้านยิวสำหรับเด็กรวมทั้ง Der Giftpilz ซึ่งเป็นหนึ่งในผลงานที่ได้แพร่หลายมากที่สุดของการโฆษณาชวนเชื่อซึ่งในเนื้อหานั้นได้กล่าวเตือนเกี่ยวกับอันตรายจากชาวยิวที่มีความร้ายกาจโดยใช้คำอุปมาของเห็ดพิษร้ายแรง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และยูลีอุส ชไตรเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ระเบียบใหม่ (ลัทธินาซี)

ระเบียบใหม่ (Neuordnung) หรือ ระเบียบใหม่แห่งยุโรป (Neuordnung Europas) เป็นคำสั่งทางการเมืองซึ่งนาซีเยอรมนีต้องการจะใช้กับพื้นที่ที่ยึดครองได้และอยู่ภายใต้อำนาจปกครอง การจัดระเบียบใหม่ได้เริ่มขึ้นตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่สองจะเกิดขึ้น แต่ได้รับการประกาศสู่สาธารณชนโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และระเบียบใหม่ (ลัทธินาซี) · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเฟล็นส์บวร์ค

รัฐบาลเฟล็นส์บวร์ค (Flensburger Regierung), หรือเป็นที่รู้จักกันคือ คณะรัฐมนตรีเฟล็นส์บวร์ค (Flensburger Kabinett),รัฐบาลเดอนิทซ์ (Regierung Dönitz), หรือ คณะรัฐมนตรีชเวริน ฟอน โครซิจค์ (Kabinett Schwerin von Krosigk),เป็นรัฐบาลที่มีอายุสั้นของนาซีเยอรมนี ในช่วงระยะเวลาสามสัปดาห์ของช่วงสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป.รัฐบาลได้ถูกก่อตั้งขึ้นภายหลังจากฟือเรอร์อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้กระทำอัตวินิบาตกรรม เมื่อวันที่ 30 เมษายนในระหว่างยุทธการเบอร์ลิน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และรัฐบาลเฟล็นส์บวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวีย

รัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวีย (Protektorat Böhmen und Mähren; Protektorát Čechy a Morava) เป็นรัฐอารักขาของนาซีเยอรมนีได้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 16 มีนาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และรัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐซัคเซิน

ซัคเซิน (Sachsen) หรือ แซกโซนี (Saxony) เป็นรัฐหนึ่งในประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศ ได้ชื่อว่าเป็นเสรีรัฐที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่แห่งหนึ่ง มีเมืองเดรสเดินเป็นเมืองหลวง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และรัฐซัคเซิน · ดูเพิ่มเติม »

รังอินทรี

ลสไตน์เฮาส์ (Kehlsteinhaus) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ รังอินทรี (Eagle’s Nest) เป็นสิ่งอาคารปลูกสร้างบนยอดเขาสูงของเคลสไตน์, ตรงบริเวณ Obersalzberg ใกล้เมืองแบร์ชเทิสกาเดินในรัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี เป็นบ้านพักตากอากาศส่วนตัวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ซึ่งเป็นหนึ่งในกองบัญชาการฟือเรอร์ทั่วทวีปยุโรป บ้านแห่งนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นของขวัญวันเกิดครบรอบ 50 ปีให้แก่ฮิตเลอร์ในปี 1939 ผู้ดูแลในการสร้างคือ มาร์ติน บอร์มันน์ (Martin Bormann) หนึ่งในคนสนิทสำคัญของฮิตเลอร์ เคลสไตน์เฮ้าส์ถูกสร้างแบบสไตล์ชาเล่ต์ (chalet -style) ตั้งอยู่บนสันเขาบนที่เคลสไตน์เป็น 1,834 เมตร (6,017 ฟุต) บริเวณของภูเขา Hoher Göll ทางเหนือเมืองเบิร์ชเทสการ์เดน จ่ายโดยพรรคนาซีก็เสร็จสมบูรณ์ในเดือนที่ 13 แต่จนกระทั่งมีการนำเสนออย่างเป็นทางการในวันที่ 20 เมษายน 1939 4 เมตร (13 ฟุต) ใกล้ถนนกว้างปีนขึ้นไป 800 เมตร (2,600 ฟุต) มากกว่า 6.5 กิโลเมตร (4.0 ไมล์) ต้นทุน 30 ล้านไรซ์มารค์ในการสร้าง รวมถึงห้าอุโมงค์ แต่เพียงถนนคดเคียวไปมา พร้อมลิฟท์ที่ขึ้นไปยังยอดเขาเคลือบทองคำ แต่บ้านพักตากอากาศแห่งนี้ไม่ได้ถูกใช้ในการหลับพักผ่อนแต่อย่างใดยกเว้นแต่ใช้ในการประชุมหารือระหว่างพรรคของนาซีเท่านั้น ฮิตเลอร์ได้เยี่ยมเข้าชมเคลสไตน์เฮ้าส์เพียง 14 ครั้งเท่านั่น ในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียตได้รุกเข้าสู่กรุงเบอร์ลิน เสนาธิการแห่งกองทัพเยอรมันได้เสนอให้ฮิตเลอร์อพยพออกจากกรุงเบอร์ลินไปยังเบิร์ชเทสการ์เดนและใช้รังอินทรีย์เป็นศูนย์บัญชาการแห่งสุดท้ายที่จะรักษาอำนาจของจักรวรรดิไรซ์ที่สามได้ เพราะด้วยความสูงของบนยอดเขาจะทำให้สัมพันธมิตรยากต่อการบุกเข้ายึดครองได้และทำสงครามสู้รบแบบกองโจรต่อไป แต่ฮิตเลอร์กลับปฏิเสธและตัดสินใจอยู่ในกรุงเบอร์ลินพร้อมกับฆ่าตัวตายไป ต่อมากองทัพสหรัฐอเมริกาได้บุกเข้ายึดครองรังอินทรีย์ได้สำเร็จในที่สุด ปัจจุบัน รังอินทรีย์ได้กลายเป็นแหล่งท่องเทียวที่ดีที่สุดในรัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และรังอินทรี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ. 1946 เมื่อประชาชนชาวอิตาลีได้มีการลงประชามติให้มีการเปลี่ยนผ่านการปกครองจากระบบราชอาณาจักรไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ อิตาลีได้ประกาศสงครามต่อออสเตรียในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และราชอาณาจักรอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรโรมาเนีย

ราชอาณาจักรโรมาเนีย (Regatul României (เรกาตูล โรมือเน่); Kingdom of Romania) เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออก ที่อยู่ในระหว่าง 13 มีนาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และราชอาณาจักรโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามผู้มีชื่อเสียง

ในการตั้งชื่อทางชีววิทยา สิ่งมีชีวิตมักได้รับชื่อทางวิทยาศาสตร์ที่ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่บุคคล ชั้นอนุกรมวิธาน (taxon) (ตัวอย่างเช่น สปีชีส์ หรือ สกุล) ที่ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่สิ่งอื่นอื่นเรียกว่า eponymous taxon ส่วนชื่อที่ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่บุคคลใดบุคคลนึง หรือกลุ่มคน เรียกว่า patronymic ปกติแล้วชื่อทางวิทยาศาสตร์ได้รับการตีพิมพ์อย่างเป็นทางการในวารสารที่มีการตรวจสอบโดยคณะผู้เชี่ยวชาญ โดยมีคำบรรยายชื่อชั้นอนุกรมวิธานและวิธีบอกความแตกต่างกับชั้นอนุกรมวิธานอื่น ตามกฎของไวยากรณ์ภาษาละตินชื่อสปีชีส์หรือชนิดย่อยที่มาจากชื่อผู้ชายส่วนใหญ่ลงท้ายด้วย -i หรือ -ii หากตั้งชื่อตามคนบุคคลและ -orum หากตั้งชื่อตามกลุ่มผู้ชายหรือชายหญิง เช่น ครอบครัว ในทางคล้ายกัน ชื่อที่ตั้งตามผู้หญิงล้วนลงท้ายด้วย -ae หรือ -arum สำหรับผู้หญิงสองคนหรือมากกว่า รายชื่อนี้มีสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามบุคคลหรือคณะที่มีชื่อเสียง (รวมไปถึงวงดนตรี และคณะนักแสดง) แต่ไม่รวมบริษัท สถาบัน กลุ่มชาติพันธุ์หรือชาติ และสถานที่ซึ่งมีคนอยู่มาก ไม่รวมถึงสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามตัวละครในนวนิยาย นักชีววิทยา หรือนักวิทยาศาสตร์อื่น ๆ หรือคนในครอบครัวของนักวิจัยที่อาจไม่เป็นที่รู้จัก ชื่อวิทยาศาสตร์อยู่ในรูปแบบที่บรรยายไว้ดั้งเดิม.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และรายชื่อสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามผู้มีชื่อเสียง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาล

ในหลายสังคมได้มีการห้ามหนังสือบางเล่ม รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลที่ปรากฏข้างล่างนี้เป็นเพียงบางส่วนของรายชื่อหนังสือทั้งหมดที่ถูกสั่งห้ามโดยรัฐบาลด้วยเหตุผลใดเหตุผลหนึ่ง การห้ามอาจจะเป็นการห้ามระดับชาติหรือระดับรองและบางครั้งอาจจะมีโทษทางกฎหมายถ้าละเมิด นอกจากการห้ามทางกฎหมายแล้วก็อาจจะเป็นการห้ามโดยสถาบันศาสนาโดยการห้ามไม่ให้ผู้นับถือศาสนาอ่านหนังสือที่ห้าม แต่โดยปราศจากโทษทางอาญา แต่บางครั้งการห้ามก็อาจจะได้รับการยกเลิกเมื่อมีการท้าทายกันในศาล และศาลมีคำสั่งให้ยกเลิกการห้ามเพราะเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องตามกฎหม.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และรายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเยอรมนี

หน้านี้คือรายชื่อธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ในประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และรายชื่อธงในประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในเยอรมนี (ค.ศ. 1933–1935)

หน้านี้คือรายชื่อธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ใน นาซีเยอรมนี (ค.ศ. 1933–1935).

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และรายชื่อธงในเยอรมนี (ค.ศ. 1933–1935) · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก

2012 ณ กรุงลอนดอน, ประเทศสหราชอาณาจักร 1972 ณ เมืองซัปโปะโระ 1956 ณ เมืองกอร์ตีนาดัมเปซโซ 1936 ณ เมืองการ์มิช-พาร์เทนเคียร์เชิน กีฬาโอลิมปิก ในปัจจุบันเป็นการแข่งขันหลากหลายประเภทกีฬาทั้งฤดูร้อน ฤดูหนาว รวมถึงเยาวชน โดยจะจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี สลับกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อน และโอลิมปิกฤดูหนาว ในระหว่างพิธีเปิดโอลิมปิก ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลในสมัยนั้นๆจะกล่าวสุนทรพจน์ก่อนที่จะเชิญประธานในพิธีกล่าวเปิดอย่างเป็นทางการ ตามกฎบัตรโอลิมปิก ผู้ที่จะกล่าวเปิดกีฬาโอลิมปิกอย่างเป็นทางการจะต้องเป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศเจ้.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รูดอล์ฟ เฮสส์

รูดอล์ฟ วัลเทอร์ ริชาร์ด เฮสส์ (26 เมษายน 1894 – 17 สิงหาคม 1987) เป็นนักการเมืองคนสำคัญในนาซีเยอรมนี ได้รับแต่งตั้งเป็นรองฟือเรอร์ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี 1933 เขาดำรงตำแหน่งจนปี 1941 เมื่อเขาบินเดี่ยวไปประเทศสกอตแลนด์เพื่อพยายามเจรจาสันติภาพกับสหราชอาณาจักรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เขาถูกจับเป็นนักโทษและสุดท้ายถูกพิพากษาลงโทษฐานอาชญากรรมต่อสันติภาพ รับโทษจำคุกตลอดชีวิต เฮสส์สมัครเข้าเป็นทหารในกรมทหารปืนใหญ่สนามบาวาเรียที่ 7 เป็นทหารราบเมื่อสงครามโลกครั้งที่หนึ่งอุบัติ เขาได้รับบาดเจ็บหลายครั้งระหว่างสงคราม และได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์กางเขนเหล็ก ชั้นสองในปี 1915 ไม่นานก่อนสงครามยุติ เฮสส์ขึ้นทะเบียนเพื่อฝึกเป็นนักบิน แต่มิได้ปฏิบัติหน้าที่ในบทบาทนี้ เขาออกจากกองทัพในเดือนธันวาคม 1918 ด้วยยศร้อยโทสำรอง (Leutnant der Reserve) ในฤดูใบไม้ร่วงปี 1919 เฮสส์สมัครเรียนในมหาวิทยาลัยมิวนิก ที่ซึ่งเขาศึกษาวิชาภูมิรัฐศาสตร์กับคาร์ล เฮาโชแฟร์ ผู้สนับสนุนมโนทัศน์เลเบนซเราม์ ("ที่อยู่อาศัย") ซึ่งต่อมากลายเป็นเสาหลักของอุดมการณ์พรรคนาซี เฮสส์เข้าร่วมพรรคนาซีเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 1920 และร่วมกับฮิตเลอร์ก่อกบฏโรงเบียร์เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 1923 อันเป็นความพยายามของนาซีที่ล้มเหลวเพื่อยึดรัฐบาลบาวาเรีย ระหว่างรับโทษจำคุกจากความพยายามรัฐประหารนี้ เฮสส์ช่วยฮิตเลอร์เขียนงานของเขา ไมน์คัมพฟ์ ซึ่งต่อมากลายเป็นรากฐานแนวนโยบายของพรรคนาซี เมื่อนาซียึดอำนาจในปี 1933 เฮสส์ได้รับแต่งตั้งเป็นรองฟือเรอร์ของพรรคนาซีและได้รับตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีของฮิตเลอร์ เขาเป็นผู้ทรงอำนาจสูงสุดอันดับสามในประเทศเยอรมนี รองแต่เพียงฮิตเลอร์และแฮร์มันน์ เกอริง นอกเหนือจากการปรากฏตัวแทนฮิตเลอร์ในการปราศรัยและชุมนุม เฮสส์ลงนามผ่านกฎหมายหลายฉบับซึ่งรวมกฎหมายเนือร์นแบร์กปี 1935 ซึ่งถอดสิทธิของชาวยิวในประเทศเยอรมนีนำไปสู่ฮอโลคอสต์ เฮสส์ยังสนใจการบิน โดยเรียนบินอากาศยานที่ซับซ้อนขึ้นซึ่งมาพัฒนาเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 1941 เขาบินเดี่ยวไปประเทศสกอตแลนด์ ซึ่งเขาหวังจัดการเจรจาสันติภาพกับดุ๊กแฮมิลตัน ซึ่งเขาเชื่อว่าเป็นคนสำคัญในฝ่ายค้านของรัฐบาลอังกฤษ เฮสส์ถูกจับกุมทันทีที่มาถึงและถูกอังกฤษควบคุมตัวจนสิ้นสงคราม(หลังจากฮิตเลอร์ได้ทราบการกระทำของเฮสส์ทำให้เขาโกรธมากและทำการปลดเขาออกจากรองฟือเรอร์และได้แต่งตั้งมาร์ติน บอรมันแทน) เมื่อเขากลับประเทศเยอรมนีเพื่อรับการไต่สวนในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กอาชญากรสงครามคนสำคัญในปี 1946 ตลอดการไต่สวน เขาอ้างว่าป่วยเป็นภาวะเสียความจำ แต่ภายหลังรับว่าเป็นอุบาย เฮสส์ถูกพิพากษาลงโทษฐานอาชญากรรมต่อสันติภาพและคบคิดกับผู้นำเยอรมันอื่นเพื่อก่ออาชญากรรมและถูกย้ายไปเรือนจำซแพนเดาในปี 1947 ซึ่งเขารับโทษจำคุกตลอดชีวิต ความพยายามซ้ำ ๆ ของสมาชิกครอบครัวและนักการเมืองคนสำคัญเพื่อให้ปล่อยตัวเขาถูกสหภาพโซเวียตขัดขวาง ขณะยังถูกควบคุมตัวในซแพนเดา เขาเสียชีวิตโดยดูเหมือนฆ่าตัวตายในปี 1987 เมื่ออายุ 93 ปี หลังเสียชีวิต เรือนจำถูกทำลายเพื่อมิให้กลายเป็นที่บูชาของนีโอนาซี หมวดหมู่:นาซี หมวดหมู่:นักการเมืองเยอรมัน หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง‎ หมวดหมู่:ทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:เชลยศึกสงครามโลกครั้งที่สองชาวเยอรมันที่ถูกจับโดยสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และรูดอล์ฟ เฮสส์ · ดูเพิ่มเติม »

รูดอล์ฟ เฮิสส์

รูดอล์ฟ เฮิสส์ (Rudolf Höss) เป็นเจ้าหน้าที่ชุทซ์ชทัฟเฟิลแห่งนาซีเยอรมนี มียศเป็นเอ็สเอ็ส-ชตูร์มบันน์ฟือเรอร์ และปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้บัญชาการค่ายกักกันที่ยาวนานที่สุดของค่ายกักกันเอาชวิทซ์ในสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้ทดสอบและปฏิบัติวิธีการต่างๆเพื่อเร่งลงมือแผนการของฮิตเลอร์ที่จะกำจัดชาวยิวในยุโรปภายใต้การยึดครองของเยอรมันอย่างเป็นระบบหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งคือ มาตราการสุดท้าย (Final Solution).ด้วยความคิดริเริ่มของหนึ่งในผู้ใต้บังคับบัญชาของเขา เอ็สเอ็ส-ฮอฟท์ชตูร์มฟือเรอร์ (ร้อยเอก) Karl Fritzsch,เฮิสส์ได้แนะนำให้ใช้สารกำจัดศัตรูพืช ไซคลอน บี ที่มีสารไฮโดรเจนไซยาไนด์นำไปสู่กระบวนการฆ่า,เพราะฉะนั้นจึงอนุญาตให้เหล่าทหารหน่วยเอสเอสในค่ายกักกันเอาชวิทซ์ทำการสังหารผู้คนประมาณ 2,000 คนต่อชั่วโมง.เขาได้สร้างการติดตั้งขนาดใหญ่สำหรับการทำลายล้างอย่างต่อเนื่องของมนุษยชาติที่เคยรู้จัก.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และรูดอล์ฟ เฮิสส์ · ดูเพิ่มเติม »

รีนซี

รีนซี เดอร์เลตซ์เต เดอร์ทรีบูเนน, WWV 49 (Rienzi, der Letzte der Tribunen; Rienzi, the Last of the Tribunes) บางครั้งเรียกสั้นๆว่า รีนซี เป็นอุปรากรภาษาเยอรมันความยาว 5 องก์ของริชาร์ด วากเนอร์ สร้างจากนวนิยายภาษาอังกฤษ รีนซี ลาสต์ออฟเดอะโรมันทรีบูนส์ (1835) ของบารอนเอ็ดเวิร์ด บัลเวอร์-ลิททัน (ค.ศ. 1803 – 1873) วากเนอร์ใช้เวลาแต่งอุปรากรชิ้นนี้เป็นเวลาสองปีเศษ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และรีนซี · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิฟาสซิสต์

ัญลักษณ์ลัทธิฟาสซิสต์ ลัทธิฟาสซิสต์ (Fascism) เป็นชาติ-อำนาจนิยมมูลวิวัติรูปแบบหนึ่งTurner, Henry Ashby, Reappraisals of Fascism.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และลัทธิฟาสซิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิสตรัสเซอร์

ลัทธิสตรัสเซอร์ (Strasserismus or Straßerismus)เป็นส่วนหนึ่งอุดมการณ์ของลัทธินาซีที่ได้มีการเรียกร้องอย่างหัวรุนแรงมากขึ้น,กระทำโดยรวมและปฏิบัติจริงจากลัทธินาซี.การเป็นปรปักษ์กับชาวยิวนั้นไม่ได้มาจากเหตุผลทางเชื้อชาติ, ชาติพันธ์ุ, วัฒนธรรม,หรือมุมมองทางศาสนาแต่มาจากพื้นฐานของการต่อต้านทุนนิยม,เพื่อให้เกิดการรื้อฟื้นประเทศใหม.ลัทธินี้ได้ถูกก่อตั้งโดยเกรกอร์ สตรัสเซอร์และ ออทโท สตรัสเซอร์ สองพี่น้องผู้นิยมนาซีที่มีความเกี่ยวข้องกับจุดยืนนี้ ด้วยความขัดแย้งของมุมมองเชิงกลยุทธ์ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์,ออทโท สตรัสเซอร์ถูกขับไล่ออกจากพรรคนาซีในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และลัทธิสตรัสเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิสตาลิน

ลัทธิสตาลิน (Stalinism) หรือ สังคมนิยมในประเทศเดียว เป็นการตีความทางทฤษฎีและการประยุกต์ ในทางปฏิบัติของหลักนิยมมาร์กซิสต์ส่วนที่เป็นคุณูปการโดยโจเซฟ สตาลิน (Josef Stalin) ซึ่งเป็นผู้มีอำนาจครอบงำพรรคคอมมิวนิสต์และกลไกของรัฐบาลในสหภาพโซเวียต ตั้งแต่ช่วงกลางทศวรรษหลังปี ค.ศ. 1920 จนกระทั่งเขาถึงแก่อสัญกรรมเมื่อปี ค.ศ. 1953 สำหรับคุณูปการสำคัญของลัทธิสตาลินมีดังนี้ คือ.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และลัทธิสตาลิน · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคอมมิวนิสต์

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และลัทธิคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิเหนือจริง

“Arrested Expansion หรือ Cardiac Arrest” โดย จอร์จ กรี (George Grie) ลัทธิเหนือจริง หรือ เซอร์เรียลลิซึม (Surrealism) เป็น “ลัทธิ” หรือ “ขบวนการ” ทางวรรณศิลป์และทัศนศิลป์ที่เกิดขึ้นในฝรั่งเศสช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง อ็องเดร เบรอตง (Andre Breton) เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มดาดา (Dadaism) ที่มีเป้าหมายใช้ความก้าวร้าวรุนแรงเพื่อต่อต้านสงคราม ต่อต้านค่านิยมของชนชั้นกลางทุกชนิดรวมทั้งคริสต์ศาสนา ต้องการทำลายขนบประเพณีที่ชนชั้นกลางสะสมไว้รวมทั้งศิลปวรรณคดีด้วย หลังจากร่วมทำกิจกรรมกับกลุ่มดาดาอยู่ระยะหนึ่งเบรอตงกับเพื่อนก็แยกตัวออกมาตั้งกลุ่มใหม่ คือ กลุ่มเซอร์เรียลลิซึม ซึ่งยังรับเอาความก้าวร้าวมุ่งทำลายค่านิยมของชนชั้นกลางของดาดามาเป็นฐานแต่มุ่งสร้างค่านิยมใหม.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และลัทธิเหนือจริง · ดูเพิ่มเติม »

ลันด์ครอยเซอร์ พี.1000 รัตต์

ลันด์ครอยเซอร์ พี.1000 รัตต์ (Landkreuzer P. 1000 "Ratte") เป็นภาพการออกแบบของสุดยอดรถถังหนักของนาซีเยอรมนีในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง มันเป็นรถถังที่มีขนาดใหญ่มากกว่าเมาส์หลายเท่า มีป้อมปืนสองกระบอกคือปืนใหญ่เรือ SK C/34 ขนาด 28 เซนติเมตร นอกจากนั้นยังสามารถติดตั้งอาวุธต่างๆ เช่น ป้อมปืนรถถัง ปืนต่อสู้อากาศยาน เป็นต้น รถถังชนิดนี้ถูกออกแบบมานำเสนอและได้รับความเห็นชอบอนุมัติให้สร้างขึ้นจากฟือเรอร์ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ แต่ทว่ากลับไม่สามารถสร้างได้เพราะไม่มีงบประมาณจึงทำให้โครงการนี้ต้องพับเก็บไปจนถึงสิ้นสุดสงคราม ต่อมาภายหลังมีผู้เชียวชาญด้านรถถังได้คาดการณ์ว่า ถ้านาซีเยอรมันสามารถสร้างได้สำเร็จจะเป็นรถถังที่มีขนาดใหญ่มากที่สุดโลกในประวัติศาสตร์และยากนักที่จะมีรถถังจากศัตรูใดๆมาต่อกรได้เล.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และลันด์ครอยเซอร์ พี.1000 รัตต์ · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)

รียงลำดับเหตุการณ์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 1 มกราคม จนถึง 31 ธันวาคม 1941 แผนที่ของเขตปฏิบัติการปฏิบัติการเข็มทิศ - ธันวาคม 1940 - กุมภาพันธ์ 1941 นายพลรอมเมลในแอฟรีกาเหนือ ประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ ลงนามในกฤษฎีกาให้เช่า-ยืม ภายหลังจากได้รับการลงคะแนนเสียงจากรัฐสภาแล้ว ทหารเยอรมันขณะทำการรบในกรีซ - เมษายน 1941 พลร่มเยอรมันถูกส่งไปยังเกาะครีต - พฤษภาคม 1941 รถถังแพนเซอร์ของเยอรมนีรุดหน้าผ่านทะเลทรายเปิด เส้นทางการรุกรานของกองทัพฝ่ายอักษะในปฏิบัติการบาร์บารอสซา - มิถุนายน 1941 เชลยศึกทหารโซเวียตถูกจับกุมหลังจากยุทธการแห่งมินสก์ ทหารเกณฑ์โซเวียตในมณฑลทหารบกเลนินกราด ประธานาธิบดีโรสเวลต์และนายกรัฐมนตรีเชอร์ชิลล์พบกันบนดาดฟ้าของเรือรบหลวง ''พรินซ์ออฟเวลส์'' ระหว่างการประชุมเพื่อลงนามกฎบัตรแอตแลนติก - 10-12 สิงหาคม 1941 สตรีชาวโซเวียตขุดสนามเพลาะรอบกรุงมอสโกเพื่อเตรียมรับการโจมตีของกองทัพเยอรมนี กองทัพเยอรมันรุกไปตามท้องถนนของเมืองคาร์คอฟ - ตุลาคม 1941 การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์: เรือประจัญบาน ''แอริโซนา'' ถูกเพลิงไหม้หลังจากถูกโจมตีโดยเครื่องบินรบญี่ปุ่น - 7 ธันวาคม 1941.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941) · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1942)

รียงลำดับเหตุการณ์เกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1942.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1942) · ดูเพิ่มเติม »

ลุทซ์ กรัฟ ชเวริน ฟอน โครซิจค์

ันน์ ลุดวิจ กรัฟ ชเวริน ฟอน โครซิจค์ (Johann Ludwig Graf Schwerin von Krosigk) ชื่อเมื่อเกิดว่า โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน โครซิจค์ และรู้จักในชื่อ ลุทซ์ ฟอน โครซิจค์ (22 สิงหาคม ค.ศ. 1887 – 4 มีนาคม ค.ศ. 1977) เป็นข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ชาวเยอรมันผู้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเยอรมนีตั้งแต..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และลุทซ์ กรัฟ ชเวริน ฟอน โครซิจค์ · ดูเพิ่มเติม »

ลุดวิก ชตูร์มเฟกเกอร์

ลุดวิก ชตูร์มเฟกเกอร์(Ludwig Stumpfegger, 11 กรกฎาคม 1910 - c. 2 พฤษภาคม 1945) เป็นแพทย์ชาวเยอรมันที่ทำหน้าที่ในหน่วยเอสเอสของนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นศัลย์แพทย์ส่วนตัวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี 1944.ลุดวิก สตูร์มเฟเกอร์เป็นบุคคลที่อยู่ในฟือเรอร์บุงเคอร์ในกรุงเบอร์ลินในช่วงปลายเดือนเมษายน ในปี 1945 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2453 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2488 หมวดหมู่:ผู้ฆ่าตัวตาย.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และลุดวิก ชตูร์มเฟกเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วอลเทอร์ ฮีเวล

วอลเทอร์ ฮีเวล(2 มกราคม 1904 - 2 พฤษภาคม 1945)เป็นเจ้าหน้าที่การทูตเยอรมันในช่วงก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.ในช่วงแรก เขาได้เป็นสมาชิกของพรรคนาซีและเป็นหนึ่งในเพื่อนสนิทส่วนบุคคลของจอมเผด็จการเยอรมัน อดอล์ฟ ฮิตเลอร.เขาเป็นหนึ่งในบุคคลที่อยู่ในฟือเรอร์บุงเคอร์ ในช่วงเวลาสุดท้ายของอาณาจักรไรซ์ที่สาม.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และวอลเทอร์ ฮีเวล · ดูเพิ่มเติม »

วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส

วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส เป็นหน่วยกองกำลังติดอาวุธของพรรคนาซีในหน่วยชุทซ์ชทัฟเฟิลหรือหน่วยเอ็สเอ็ส เป็นการรวมตัวกันของคนในนาซีเยอรมนีพร้อมทั้งอาสาสมัครและทหารเกณฑ์จากทั้งสองดินแดนคือดินแดนที่ถูกยึดครองและดินแดนที่ไม่ถูกยึดครองซึ่งหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สเป็นหน่วยกองกำลังรบพิเศษที่จะปฏิบัติการรบร่วมกันกับกองทัพบก (เฮร์) ของเวร์มัคท์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 วัฟเฟิน-เอ็สเอ็สนั้นถูกตั้งขึ้นเพื่อเป็นหน่วยกองกำลังองครักษ์พิทักษ์ฟือเรอร์ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และถูกฝึกฝนมาอย่างหนักจนกลายเป็นกองกำลังรบระดับชั้นหัวกะทิเพื่อใช้เป็นเครื่องจักรสงครามในการยึดครองทวีปยุโรปตามเจตนารมณ์ของฮิตเลอร์และพรรคนาซี ฮิตเลอร์ได้มอบความไว้วางใจให้กับวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สมากที่สุดว่าเป็นหน่วยกองกำลังรบที่มีประสิทธิภาพในการรบมากที่สุด สามารถแก้ไขต่างๆได้ทุกสถานการณ์ ในช่วงแรกของสงครามโลกครั้งที่สอง หน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สขึ้นชื่อว่าเป็นกองกำลังปีศาจเพราะเนื่องจากได้รับถูกปลูกฝังความคิดและอุดมการณ์นาซีทำให้ก่ออาชญากรรมสงครามมากมาย เช่น การสังหารหมู่เชลยศึกสงครามและพลเรือน การกวาดต้อนชาวยิวและอื่นๆในเขตปกครองของนาซีเยอรมันเข้าไปยังค่ายกักกันนาซี เป็นต้น แต่ในช่วงปลายสงครามในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส · ดูเพิ่มเติม »

วัลเทอร์ ฟอน เบราชิทช์

วัลเทอร์ ฟอน เบราชิทช์ (Walther von Brauchitsch) เป็นจอมพลเยอรมันและเป็นผู้บัญชาการกองทัพบกเยอรมันในช่วงต้นสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเกิดในครอบครัวทหารและเริ่มเข้ารับราชการทหารในปี 1901 เขามีส่วนร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งโดยประจำแนวรบด้านตะวันตก หลังพรรคนาซีได้ครองอำนาจใน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และวัลเทอร์ ฟอน เบราชิทช์ · ดูเพิ่มเติม »

วัลเทอร์ ฟุงค์

วัลเทอร์ ฟุงค์ (Walter Funk) เป็นนักเศรษฐศาสตร์และเป็นเจ้าหน้าที่สมาชิกของนาซี ซึ่งทำหน้าที่เป็นรัฐมนตรีไรซ์ว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และวัลเทอร์ ฟุงค์ · ดูเพิ่มเติม »

วันชัยในทวีปยุโรป

วันชัยในทวีปยุโรป (Victory in Europe Day หรือ VE Day) หมายถึง วันที่ 7 ถึงวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 คือ วันที่ฝ่ายสัมพันธมิตรยอมรับการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของนาซีเยอรมนี ในวันที่ 30 เมษายน หลังจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ฆ่าตัวตายที่หลุมหลบภัยในกรุงเบอร์ลิน ตำแหน่งประธานาธิบดีเยอรมนีตกเป็นของ คาร์ล เดอนิทซ์ เขาได้ลงนามในสนธิสัญญายอมจำนนในวันที่ 7 พฤษภาคม ในเมืองแรมส์ ฝรั่งเศส นอกจากนั้นวิลเฮล์ม ไคเทล ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพเวร์มัคได้ลงนามในสนธิสัญญายอมจำนนต่อสหภาพโซเวียตในวันที่ 8 พฤษภาคม ในกรุงเบอร์ลิน เยอรมนี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และวันชัยในทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วันแสนทรหด

วันแสนทรหด (The Hardest Day) เป็นนามที่ถูกมอบให้จากการรบทางอากาศของสงครามโลกครั้งที่สองในช่วงระหว่างยุทธการที่บริเตน เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และวันแสนทรหด · ดูเพิ่มเติม »

วันเกิดครบรอบ 50 ปีของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์

วันเกิดครบรอบ 50 ปีของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เมื่อวันที่ 20 เมษายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และวันเกิดครบรอบ 50 ปีของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม บูร์กดอร์ฟ

วิลเฮลม์ เอมมานูเอล บูร์กดอร์ฟ(15 กุมภาพันธ์ 1895 - 2 พฤษภาคม 1945)เป็นนายพลเยอรมันในกองทัพเวร์มัคในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการทหารและเป็นเจ้าหน้าที่ในกองทัพเฮร์(กองทัพบก).ในเดือนตุลาคม ปี 1944, เบอร์จดอฟได้รับตำแหน่งเป็นหัวหน้าในสำนักงานบุคลากรกองทัพบก(Heerespersonalamt)และเป็นหัวหน้ากลุ่มของนายทหารคนสนิทของอดอล์ฟ ฮิตเลอร.ด้วยความสามารถนั้น,เขาได้มีบทบาทในการบังคับให้จอมพลเออร์วิน รอมเมลกระทำอัตวินิบาตกรรม.บูร์กดอร์ฟได้กระทำอัตวินิบาตกรรมในฟือเรอร์บุงเคอร์ เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 1945 ที่เป็นอันสิ้นสุดของยุทธการที่เบอร์ลิน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และวิลเฮล์ม บูร์กดอร์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม ฟริค

วิลเฮล์ม ฟริค (12 มีนาคม 1877 - 16 ตุลาคม 1946) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันที่โดดเด่นที่สุดของพรรคนาซีซึ่งทำหน้าที่เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแห่งไรซ์ในคณะรัฐมนตรีฮิตเลอร์ (1933-1943) และเป็นผู้สำเร็จราชการคนสุดท้ายของรัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและโมราเวี.หลังสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สอง,เขาได้ถูกตั้งข้อกล่าวหาว่ามีส่วนร่วมในการวางแผนและดำเนินการรุกราน,อาชญากรรมสงครามและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กและถูกพบว่ามีความผิดจริงจึงถูกพิพากษาโทษประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ ด้วยอายุวัย 69 ปี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และวิลเฮล์ม ฟริค · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม มอนเคอ

วิลเฮล์ม มอนเคอ (Wilhelm Mohnke) (15 มีนาคม 1911 - 6 สิงหาคม 2001) เป็นหนึ่งในหน่วยสมาชิกทหารรักษาการณ์ของหน่วยเอสเอส (ชุทซ์ชทัฟเฟิล) (Stabswache) ในกรุงเบอร์ลินซึ่งถูกก่อตั้งขึ้นในเดือนมีนาคม ปี 1933.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และวิลเฮล์ม มอนเคอ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม คานาริส

วิลเฮลม์ ฟรานซ์ คานาริส(Wilhelm Franz Canaris; 1 มกราคม ค.ศ. 1887 – 9 เมษายน ค.ศ. 1945)เป็นพลเรือเอกเยอรมันและเป็นหัวหน้าแห่งแอปเวร์ สำนักงานหน่วยข่าวกรองเยอรมัน ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และวิลเฮล์ม คานาริส · ดูเพิ่มเติม »

วินสตัน เชอร์ชิล

ซอร์วินสตัน ลีโอนาร์ด สเปนเซอร์-เชอร์ชิล (Winston Leonard Spencer-Churchill) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัย ระหว่างปี 1940 ถึง 1945 และปี 1951 ถึง 1955 ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคสงครามของศตวรรษที่ 20 นอกจากนี้ วินสตันยังเป็นทหารในกองทัพอังกฤษ, นักประวัติศาสตร์, นักเขียน, ตลอดจนศิลปิน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาอักษรศาสตร์ และยังเป็นบุคคลแรกที่ได้เป็น พลเมืองเกียรติยศแห่งสหรัฐอเมริกา ผู้คนมักนิยมเรียกเขาด้วยชื่อ "วินสตัน" แทนที่จะเรียกด้วยนามสกุล วินสตันเกิดในตระกูลชนชั้นสูงที่สืบเชื้อสายมาจากดยุกแห่งมาร์ลบะระ สาขาหนึ่งของตระกูลสเปนเซอร์ บิดาของเขาคือ ลอร์ดรันดอล์ฟ เชอร์ชิล นักการเมืองผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง ส่วนมารดาของเขาคือ เจนนี จีโรม นักสังคมสงเคราะห์ชาวอเมริกัน ในขณะที่ยังเป็นทหารหนุ่ม เขาได้ปฏิบัติภารกิจในบริติชอินเดีย และซูดาน และในสงครามโบเออร์ครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นนักข่าวสงครามและเขียนหนังสือเกี่ยวกับปฏิบัติการของเขา เขาเป็นผู้มีบทบาททางการเมืองแถวหน้ามาตลอดห้าสิบปี ได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีมากมาย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเขาเป็นหัวหน้ากรรมการการค้า, รัฐมนตรีปิตุภูมิ, และรัฐมนตรียุติธรรม ระหว่างสงคราม เขายังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรียุติธรรม จนกระทั่งความพ่ายแพ้ของอังกฤษในการทัพกัลลิโพลี ทำให้เขาต้องออกจากคณะรัฐบาลและไปประจำการราชการทหารอยู่ที่แนวหน้าภาคตะวันตกในตำแหน่งผู้บัญชาการกองพันลูกเสือที่ 6 จนกระทั่งเขาได้กลับคืนคณะรัฐบาลในตำแหน่งรัฐมนตรียุทธภัณฑ์ รัฐมนตรีว่าการสงคราม และ รัฐมนตรีน่านฟ้า และในปี 1921-1922 เป็นรัฐมนตรีว่าการอาณานิคม และต่อมาในปี 1924-1929 เป็นรัฐมนตรีคลังหลวง โดยเขาได้กำหนดให้สกุลเงินปอนด์กลับไปอิงค่าทองคำเหมือนกับยุคก่อนสงคราม ซึ่งทำให้เกิดภาวะเงินฝืดแพร่ไปทั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร ภายหลังห่างหายจากงานการเมืองไปในทศวรรษที่ 1930 วินสตันก็ได้กลับมาทำงานการเมืองอีกครั้งเมื่อนาซีเยอรมนีเริ่มที่จะสั่งสมกำลังทหารและดูจะเป็นภัยคุกคามต่ออังกฤษ และแล้วการอุบัติขึ้นอย่างฉับพลันของสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ทำให้เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรียุติธรรมอีกครั้ง และภายหลังการลาออกของนายกรัฐมนตรี เนวิล เชมเบอร์ลิน ในวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 วินสตันก็กลายเป็นนายกรัฐมนตรี คำประกาศหนักแน่นของเขาที่จะไม่เป็นผู้ยอมแพ้ได้ช่วยกระตุ้นให้ชาวอังกฤษหันมาต่อต้านนาซีเยอรมนี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงต้นสงครามซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ยากเย็นเมื่อสหราชอาณาจักรและอาณานิคมอังกฤษเป็นเพียงฝ่ายเดียวที่ลุกขึ้นอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ วินสตันได้กล่าวสุนทรพจน์ของเขาผ่านวิทยุกระจายเสียงปลุกขวัญกำลังใจชาวอังกฤษ เขาเป็นผู้นำของอังกฤษไปจนกระทั่งสามารถมีชัยเหนือนาซีเยอรมนีได้ แต่ทว่าการได้รับชัยชนะมาต้องแลกกับการสูญเสียการเป็นอภิมหาอำนาจของโลกให้กับสหรัฐอเมริกาไป เหล่าประเทศอาณานิคมที่ยึดครองได้แก่ อินเดีย มาเลเซีย พม่า เป็นต้นต่างก็ได้เรียกร้องเอกราชจนจำใจต้องยอมเป็นเหตุทำให้จักรวรรดิอังกฤษล่มสลายและกลายเป็นเครือจักรภพแห่งชาติแทน ภายหลังพรรคอนุรักษนิยมพ่ายการเลือกตั้งในปี 1945 เขาก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำฝ่ายค้านต่อรัฐบาลพรรคแรงงาน เขาได้ออกมาเตือนอย่างเปิดเผยถึงอิทธิพลของโซเวียตในยุโรปผ่านมาตรการ "ม่านเหล็ก" และยังส่งเสริมความเป็นหนึ่งเดียวของยุโรป ภายหลังชนะเลือกตั้งในปี 1951 วินสตันก็กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ในช่วงการดำรงตำแหน่งครั้งที่สองนี้ รัฐบาลของเขาเต็มไปด้วยข้อราชการต่างประเทศ ทั้งวิกฤตการณ์มาลายา, กบฎมาอูมาอูในเคนยา, สงครามเกาหลี ตลอดจนสนับสนุนการรัฐประหารในอิหร่าน ในปี 1953 เขาเริ่มเจ็บป่วยจากภาวะขาดเลือดในสมอง และลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 1955 แต่เขายังคงเป็นสมาชิกสภาสามัญชนไปจนถึงปี 1964 วินสตันถึงแก่อสัญกรรมด้วยวัย 90 ปีในปี 1965 โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระราชทานรัฐพิธีศพให้เป็นเกียรติ เขายังคงได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติอังกฤษ ชื่อของเขาอยู่ในลำดับที่ 1 ของทำเนียบชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลจากการจัดอันดับในปี 2002.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และวินสตัน เชอร์ชิล · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะของการเขียนภาพ (เฟอร์เมร์)

ลปะของการเขียนภาพ หรือ อุปมานิทัศน์ของการเขียนภาพ หรือ จิตรกรในห้องเขียนภาพ (The Art of Painting หรือ The Allegory of Painting หรือ Painter in his Studio) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยโยฮันส์ เวร์เมร์จิตรกรสมัยบาโรกชาวเนเธอร์แลนด์ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะในกรุงเวียนนาในประเทศออสเตรีย เวร์เมร์เขียนภาพ “ศิลปะของการเขียนภาพ” เสร็จในปี ค.ศ. 1666 ผู้เชี่ยวชาญทางศิลปะหลายท่านกล่าวว่างานชิ้นนี้เป็นอุปมานิทัศน์ของการเขียนภาพฉะนั้นภาพเขียนจึงรู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า “อุปมานิทัศน์ของการเขียนภาพ” และเป็นภาพเขียนที่ใหญ่ที่สุดและซับซ้อนที่สุดของงานทั้งหมดที่เวร์เมร์เขียน ภาพเขียนนี้มีชื่อเสียงเป็นภาพเขียนที่เวร์เมร์ชอบที่สุดและเป็นภาพที่เป็นงานเขียนแบบภาพลวงตา แม้ว่าจะเป็นภาพที่เขียนในสมัยที่ยังไม่มีเทคโนโลยีในด้านการถ่ายภาพแต่ก็สามารถแสดงความเป็นจริงในการสร้างรายละเอียดทางจักษุอย่างภาพถ่ายได้ สิ่งที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งของภาพนี้คือการใช้สีที่สดและแสงที่จัดจ้าที่สาดเข้ามาทางหน้าต่างที่อาบบนสิ่งต่างๆ ใน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และศิลปะของการเขียนภาพ (เฟอร์เมร์) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์ (พระนามเดิม เจ้าชายคาร์ลแห่งเดนมาร์กและไอซ์แลนด์ พระนามเต็ม คริสเตียน เฟรเดอริก คาร์ล จอร์จ วัลเดมาร์ แอกเซล; Christian Frederik Carl Georg Valdemar Axel, ต่อมาเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์) 3 สิงหาคม พ.ศ. 2415 - 21 กันยายน พ.ศ. 2500) พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก และ เจ้าหญิงหลุยส์แห่งสวีเดน ในปีพ.ศ. 2448 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์พระองค์แรกหลังการยุบสหภาพระหว่างนอร์เวย์และสวีเดนโดยการสลายรัฐร่วมประมุขร่วมกับสวีเดน พระองค์เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ในราชวงศ์ชเลสวิก-ฮอลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก ในฐานะที่ทรงเป็นหนึ่งในพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการเลือกตั้ง สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนได้ทรงชนะใจพสกนิกรด้วยความเคารพและความรักจากประชาชนของพระองค์ และทรงมีบทบาทสำคัญในการเป็นศูนย์รวมจิตใจชาตินอร์เวย์ในการทำการต่อต้านกองทัพนาซีที่ทำการรุกรานและต่อมายาวนานอีกห้าปีทรงต่อต้านการที่นาซียึดครองนอร์เวย์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ในนอร์เวย์ สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนทรงถือเป็นหนึ่งในชาวนอร์เวย์ที่มีความสำคัญสูงสุดในศตวรรษที่ 20 และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการยอมรับในความกล้าหาญของพระองค์ในระหว่างการรุกรานของเยอรมัน พระองค์ทรงขู่ว่าจะสละราชบัลลังก์ถ้ารัฐบาลร่วมมือกับผู้รุกรานชาวเยอรมัน และสำหรับความเป็นผู้นำของพระองค์ และยังทรงรักษาความเป็นสามัคคีของนอร์เวย์ได้ในระหว่างการยึดครองของเยอรมัน พระองค์เสด็จสวรรคตขณะมีพระชนมายุ 85 พรรษา ในวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2500 หลังจากทรงครองราชสมบัติมายาวนานเกือบ 52 ปี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย หรือ เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระ (มารี อเล็กซานดรา วิกตอเรีย, 27 ตุลาคม ค.ศ. 1875 - 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1938) เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียพระองค์สุดท้าย โดยเป็นพระมเหสีในพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย ทรงประสูติในฐานะพระราชวงศ์อังกฤษ พระองค์ทรงได้รับพระอิสริยยศ เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระเมื่อครั้งประสูติ พระบิดาและพระมารดาของพระองค์คือ เจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งเอดินเบอระและแกรนด์ดัชเชสมาเรีย อเล็กซานดรอฟนาแห่งรัสเซีย ในวัยเยาว์ เจ้าหญิงมารีทรงใช้พระชนมชีพในเคนต์, มอลตาและโคบูร์ก หลังจากการปฏิเสธข้อเสนอที่จะอภิเษกสมรสกับพระญาติของพระองค์เองคือ พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรในอนาคต พระองค์ทรงได้รับเลือกให้เป็นพระชายาในมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์แห่งโรมาเนีย องค์รัชทายาทของพระเจ้าคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย ในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี

มเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี (Queen Elizabeth, The Queen Mother), เอลิซาเบธ แองเจลา มาร์เกอริต โบวส์-ลีออน (Elizabeth Angela Marguerite Bowes-Lyon; 4 สิงหาคม พ.ศ. 2443 - 30 มีนาคม พ.ศ. 2545) เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร ตั้งแต..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16

มเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 (Benedictus XVI, Benedict XVI) พระสันตะปาปากิตติคุณ อดีตประมุขคริสตจักรโรมันคาทอลิก เป็นชาวเยอรมัน มีพระนามเดิมว่า โยเซฟ รัทซิงเงอร์ (Joseph Ratzinger) เกิดเมื่อ 16 เมษายน พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927).

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม (3 พฤศจิกายน 1901 - 25 กันยายน 1983) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สันนิบาตสาวเยอรมัน

ันนิบาตสาวเยอรมัน (Bund Deutscher Mädel ย่อ: BDM) เป็นสมาคมฝ่ายสตรีในองค์การยุวชนฮิตเลอร์ของพรรคนาซี ถือเป็นองค์กรสตรีเพียงองค์กรเดียวที่ถูกต้องตามกฎหมายในประเทศเยอรมนี สันนิบาตสาวเยอรมันมีต้นกำเนิดตั้งแต่ทศวรรษที่ 1920 โดยมีชื่อเมื่อก่อตั้งว่า แมดเชินชาฟเทิน (Mädchenschaften) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ สมาคมสตรีแห่งยุวชนฮิตเลอร์ (Schwesternschaften der Hitler-Jugend) ต่อมาใน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสันนิบาตสาวเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐไวมาร์

รณรัฐไวมาร์ (Weimarer Republik) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกประเทศเยอรมนีในยุคสาธารณรัฐระหว่างปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสาธารณรัฐไวมาร์ · ดูเพิ่มเติม »

สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง

นิโต มุสโสลินีกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ สองผู้นำเผด็จการในทวีปยุโรปก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สาเหตุเบื้องต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง คือ ความตึงเครียดเกี่ยวกับชาตินิยม ประเด็นปัญหาที่ไม่ได้รับการแก้ไข และความไม่พอใจอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสมัยระหว่างสงครามในทวีปยุโรป รวมทั้งผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ลงเอยด้วยการปะทุของสงคราม ซึ่งมักเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการบุกครองโปแลนด์ โดยนาซีเยอรมนี ความก้าวร้าวทางทหารนี้เป็นผลมาจากการตัดสินใจของผู้นำของเยอรมนีและญี่ปุ่น สงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้นจากการปฏิบัติอันก้าวร้าวและบรรจบกับการประกาศสงคราม และ/หรือ การต่อต้านด้วยกำลัง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สุภาษ จันทระ โพส

ษ จันทระ โพส สุภาษ จันทระ โพส (Subhash Chandra Bose; सुभाष चन्द्र बोस; 23 มกราคม ค.ศ. 1897 – 18 สิงหาคม ค.ศ. 1945) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ เนตาชี (Netaji; नेता जी; "ท่านผู้นำ") เป็นผู้นำกลุ่มอิสระชาวอินเดียที่ต้องการการปลดปล่อยประเทศอินเดียให้เป็นเอกราชจากการปกครองของอังกฤษในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสุภาษ จันทระ โพส · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองสเปน

งครามกลางเมืองสเปน (Spanish Civil War) เป็นการรบในประเทศสเปนที่เกิดจากความขัดแย้งระหว่างฝ่ายสนับสนุนกับฝ่ายต่อต้านสาธารณรัฐสเปนที่ 2 ได้แก่ "ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ" ประกอบด้วยกลุ่มมัชฌิมา กลุ่มสังคมนิยม กลุ่มคอมมิวนิสต์ รวมทั้งชาวกาตาลาและชาวบาสก์ที่หัวรักถิ่นและเป็นอนาธิปไตย กับ "ฝ่ายชาตินิยม" ที่เป็นฝ่ายก่อการกบฏ รวมถึงพวกนิยมกษัตริย์ พวกการ์ลิสต์ พวกคาทอลิกหัวเก่า และพวกฟาสซิสต์ฟรังกิสต์ ซึ่งกองทัพสเปนเองก็ได้แตกแยกออกเป็นสองฝ่าย แต่ละฝ่ายก็พยายามระดมหาพันธมิตรต่างประเทศมาช่วยรบ ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐดึงสหภาพโซเวียตและเม็กซิโก ส่วนฝ่ายชาตินิยมดึงพวกฟาสซิสต์จากอิตาลีและนาซีเยอรมนี สงครามดังกล่าวนับว่าเป็นการเร่งความขัดแย้งที่นำไปสู่สงครามโลกครั้งที่สอง และถูกมองว่าเป็นสงครามตัวแทนระหว่างสองลัทธิ คือ คอมมิวนิสต์ สหภาพโซเวียตและฟาสซิสต์ ฝ่ายอักษะ สงครามดังกล่าวได้มีการนำรถถังและการทิ้งระเบิดทางอากาศมาใช้ และถูกกล่าวขานถึงความโหดร้ายของสงครามและความแตกแยกทางการเมืองจากนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่หลายคน อย่างเช่น เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์, มาร์ธา เกลฮอร์น, จอร์จ ออร์เวลล์, และโรเบิร์ต คาป.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสงครามกลางเมืองสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามแปซิฟิก

งครามแปซิฟิก (Pacific War) หรือ สงครามมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia War; 大東亜戦争, Dai Tō-A Sensō) เป็นเขตสงครามหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง สู้รบกันในมหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกเป็นหลัก มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าสงครามแปซิฟิกเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 หรือ 8 ธันวาคม 1941 เมื่อญี่ปุ่นบุกครองประเทศไทยและโจมตีอาณานิคมของบริติช ได้แก่ มาลายา สิงคโปร์และฮ่องกง ตลอดจนฐานทัพสหรัฐในหมู่เกาะฮาวาย หมู่เกาะเวก เกาะกวมและฟิลิปปินส์ ทว่า สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและสาธารณรัฐจีนมีมาต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 1937 โดยมีความเป็นปรปักษ์ย้อนหลังไปถึงวันที่ 19 กันยายน 1931 เมื่อประเทศญี่ปุ่นบุกครองแมนจูเรีย จักรวรรดิญี่ปุ่นเริ่มนโยบายชาตินิยมโดยใช้คำขวัญที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asiatics) วันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสงครามแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สองในยูโกสลาเวีย

ปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สองในยูโกสลาเวียได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสงครามโลกครั้งที่สองในยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย

อาณาเขตของประเทศไทยระหว่างสงคราม สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไท.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สตาลินกราด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2533)

ตาลินกราด (Сталинград) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียต 2 ภาค มีเนื้อเรืองเกี่ยวกับยุทธการที่สตาลินกราด เป็นภาพยนตร์ร่วมมือกันระหว่าง สหภาพโซเวียต-เยอรมันตะวันออก-เชโกสโลวาเกีย-สหรัฐ กำกับโดย ยูรี โอเซรอฟ ภาพยนตร์ออกฉายในเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสตาลินกราด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2533) · ดูเพิ่มเติม »

สตาลินกราดสกายาบีตวา

ตาลินกราดสกายาบีตวา (Сталингра́дская би́тва) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียต 2 ภาค มีเนื้อเรืองเกี่ยวกับยุทธการที่สตาลินกราด ภาคที่หนึ่งออกฉายในวันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสตาลินกราดสกายาบีตวา · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาว่าด้วยความช่วยเหลือซึ่งกันและกันฝรั่งเศส-โซเวียต

นธิสัญญาให้ความช่วยเหลือระหว่างกันระหว่างฝรั่งเศส-โซเวียต (Franco-Soviet Treaty of Mutual Assistance) เป็นสนธิสัญญาสองฝ่ายระหว่างทั้งสองประเทศ มีเป้าหมายที่จะจำกัดวงของการรุกรานจากเยอรมนีในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสนธิสัญญาว่าด้วยความช่วยเหลือซึ่งกันและกันฝรั่งเศส-โซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอำนาจกลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วยสนธิสัญญาฉบับอื่น แม้จะได้มีการลงนามสงบศึกตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสนธิสัญญาแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาไม่รุกรานเยอรมนี–โปแลนด์

นธิสัญญาไม่รุกรานเยอรมัน-โปแลนด์ (Deutsch-polnischer Nichtangriffspakt; Polsko-niemiecki pakt o nieagresji) เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศระหว่างนาซีเยอรมนีและสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง ลงนามเมื่อวันที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสนธิสัญญาไม่รุกรานเยอรมนี–โปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

หอไอเฟล

หอไอเฟล (Tour Eiffel, ตูร์แอแฟล) เป็นหอคอยโครงสร้างเหล็กตั้งอยู่บนช็องเดอมาร์ บริเวณแม่น้ำแซน ในกรุงปารีส เป็นสัญลักษณ์ของประเทศฝรั่งเศสที่เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก ทั้งยังเป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลกอีกด้วย หอไอเฟลเป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างที่โด่งดังที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ตั้งชื่อตามกุสตาฟ ไอเฟล สถาปนิกและวิศวกรชั้นนำของฝรั่งเศส ซึ่งเป็นผู้ออกแบบหอคอยนี้ หอไอเฟลสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์ของงานแสดงสินค้าโลก ในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และหอไอเฟล · ดูเพิ่มเติม »

อสัญกรรมของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์

'''"ฮิตเลอร์ตายแล้ว"''' หน้าแรกของหนังสือพิมพ์ของกองทัพสหรัฐ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 ระหว่างที่กรุงเบอร์ลินกำลังถูกโซเวียตบุกนั้นเอง อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ได้ยิงตัวตายเมื่อวันที่ 30 เมษายน 1945 ในฟือเรอร์บุงเคอร์ ส่วนภรรยาของเขา เอฟา เบราน์ ได้ฆ่าตัวตายด้วยยาพิษไซยาไนด์ ทั้งนี้ ศพของทั้งสองได้ถูกเคลื่อนย้ายไปยังทางออกฉุกเฉินของบังเกอร์ตามคำสั่งเสียของฮิตเลอร์ ทหารนำศพทั้งสองจัดวางในหลุมที่ขุดเตรียมไว้บริเวณด้านหลังทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ จากนั้นก็จัดการราดน้ำมันเชื้อเพลิงพร้อมกับจุดไฟเผาเพื่อป้องกันไม่ให้ทหารฝ่ายศัตรูนำไปประจานและกระทำยำยีอย่างเช่นที่เกิดขึ้นกับเบนิโต มุสโสลินี ผู้นำอิตาลี จากบันทึกของพวกโซเวียตระบุว่า ทหารโซเวียตได้ขุดร่างของฮิตเลอร์ขึ้นมา และนำไปฝังไว้ในหลายสถานที่ด้วยกันจนถึงปี 1970 ที่ร่างซึ่งโซเวียตอ้างว่าเป็นของฮิตเลอร์ถูกขุดขึ้นมาเป็นครั้งสุดท้าย ก่อนจะถูกนำไปเผาและโปรยเถ้า ด้วยรายงานที่มีความแตกต่างกันออกไปที่ได้ระบุสาเหตุการตาย; บางกรณีได้ระบุว่า เขาตายด้วยยาพิษเท่านั้นและอีกบางกรณีหนึ่งคือเขาตายด้วยการใช้ปืนยิงศีรษะตัวเองพร้อมกับกัดแคปซูลบรรจุสารพิษไซยาไนด์ แต่นักประวัติศาสตร์สมัยนั้นได้ปฏิเสธรายงานเหล่านี้เพราะเป็นการโฆษณาชวนเชื่อของสหภาพโซเวียตหรือความพยายามการประนีประนอมเพื่อหาข้อสรุปที่แตกต่างกัน พยานคนหนึ่งได้บันทึกเอาไว้ว่า ศพมีรอยบาดแผลจากการถูกยิงทะลุผ่านปาก แต่ได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามันเป็นไปไม่ได้ นอกจากนี้ยังมีข้อถกเถียงเกี่ยวกับกระโหลกศีรษะและกระดูกขากรรไกรที่ถูกขุดขึ้นได้โดยระบุว่าเป็นของฮิตเลอร์จริงหรือไม่ ในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอสัญกรรมของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ออสโวบอจเดนี

ออสโวบอจเดนี (Liberation, Освобождение, Befreiung, Wyzwolenie) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ของสหภาพโซเวียต กำกับโดยยูรี โอเซรอฟ ออสโวบอจเดนี เป็นภาพยนตร์ร่วมมือกันระหว่าง สหภาพโซเวียต, เยอรมนีตะวันออก, โปแลนด์, อิตาลี และ ยูโกสวาเวีย โดยภาพยนตร์นี้จะเล่าเรืองเกียวกับสงครามโลกครั้งที่สอง โดยจะเล่าเรื่องราวเกียวกับยุทธการที่คูสค์, ปฏิบัติการบากราติออน, การรุกวิสตูลา-โอเดอร์ และ ยุทธการที่เบอร์ลิน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และออสโวบอจเดนี · ดูเพิ่มเติม »

ออทโท กึนเชอ

ออทโท กึนเชอ (Otto Günsche) เป็นนายทหารระดับกลางในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สของนาซีเยอรมนีในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และออทโท กึนเชอ · ดูเพิ่มเติม »

ออทโท สตรัสเซอร์

ออทโท โยฮานน์ แม็กซิมีเลียม สตรัสเซอร์ (also Straßer, see ß; 10 กันยายน 1897 – 27 สิงหาคม 1974) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันและเป็นสมาชิกตั้งแต่ต้นของพรรคนาซี.ออทโท สตรัสเซอร์ได้ร่วมมือกับเกรกอร์ สตรัสเซอร์ผู้เป็นพี่ชายซึ่งเป็นสมาชิกชั้นแนวหน้าของกลุ่มฝ่ายซ้ายและได้แยกออกจากพรรคเนื่องจากเกิดเหตุพิพาทกับฝ่ายที่นิยมฮิตเลอร.เขาได้ก่อตั้งแนวร่วมดำ (Black Front),เป็นกลุ่มที่มีเจตนาที่จะแยกตัวออกจากพรรรคนาซีและถูกจับกุมโดยกลุ่มฝ่ายของฮิตเลอร.กลุ่มนี้ยังคงเคลื่อนไหวต่อไปในช่วงระหว่างถูกเนรเทศและในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ได้เป็นกลุ่มต่อต้านอย่างลั.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และออทโท สตรัสเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ออทโท แอนสท์ เรเมอร์

ออทโท แอนสท์ เรเมอร์(Otto Ernst Remer) เป็นเจ้าหน้าที่ทหารเยอรมันในกองทัพเวร์มัคท์ ได้มีส่วนสำคัญในการหยุดยั้งแผนลับ 20 กรกฎาคมในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และออทโท แอนสท์ เรเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อะนอฟธัลมัส ฮิตเลริ

อะนอฟธัลมัส ฮิตเลริ (Anophthalmus hitleri; Hitlerjev brezokec)  คือ สปีชีส์ของด้วงถ้ำตาบอดพบได้เพียงใน 5 ถ้ำที่มีความชุ่มชื้นในประเทศสโลวีเนียเท่านั้น ด้วงถ้ำตาบอดนี้อยู่ในสกุลเดียวกับ 41 สปีชีส์อื่น และ 95 วงศ์ย่อยที่ไม่ซ้ำกัน สมาชิกของวงศ์ย่อย (Trechinae) กินสัตว์อื่นเป็นอาหารเหมือนกับวงศ์คาราบิดี้ส่วนใหญ่ ดังนั้นอะนอฟธัลมัส ฮิตเลริทั้งที่โตเต็มที่และตัวอ่อนคาดว่ากินสัตว์ในถ้ำที่เล็กกว่าเป็นอาหาร.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอะนอฟธัลมัส ฮิตเลริ · ดูเพิ่มเติม »

อัลกุรอานเลือด

"อุลกุรอานเลือด" เป็นสำเนาของคัมภีร์อัลกุรอานของศาสนาอิสลาม เขียนขึ้นจากเลือดของอดีตประธานาธิบดีอิรัก ซัดดัม ฮุสเซน ตลอดเวลามากกว่าสองปีในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 ซัดดัมมอบหมายให้เริ่มดำเนินงานใน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอัลกุรอานเลือด · ดูเพิ่มเติม »

อัลแบร์ท ชเปียร์

แบร์โทลด์ คอนราด แฮร์มันน์ อัลแบร์ท ชเปียร์ (Berthold Konrad Hermann Albert Speer;; 19 มีนาคม ค.ศ. 1905 – 1 กันยายน ค.ศ. 1981) เป็นสถาปนิกชาวเยอรมัน เป็นหัวหน้าสถาปนิกของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ก่อนได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงสรรพาวุธของนาซีเยอรมนี ชเปียร์ยอมรับผิดในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ทำให้ได้รับฉายา "นาซีผู้กล่าวคำขอโทษ" (the Nazi who said sorry) อย่างไรก็ตาม ชเปียร์ปฏิเสธไม่รู้เห็นเกี่ยวกับฮอโลคอสต์ ชเปียร์เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอัลแบร์ท ชเปียร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟรด โรเซินแบร์ก

อัลเฟรด แอนสท์ โรเซินแบร์ก (Alfred Ernst Rosenberg) เป็นนักทฤษฏีชาวเยอรมันและอุดมการณ์ที่มีอิทธิพลของพรรคนาซี.โรเซินแบร์กเป็นผู้ที่ได้รับการแนะนำให้รู้จักกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เป็นครั้งแรกโดย Dietrich Eckart และต่อมาเขาก็ได้จัดทำข้อความโพสต์ที่สำคัญหลายอย่างในรัฐบาลนาซี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอัลเฟรด โรเซินแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อัดเลอร์ฮอสท์

ปราสาทครันส์แบร์ก ด้านหลังของปราสาทคืออาคารอัดเลอร์ฮอสท์ อัดเลอร์ฮอสท์ (Adlerhorst) หรือ รังลูกอินทรี เป็นบังเกอร์ในเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งอยู่ในพื้นที่ชนบทของ Langenhain-Ziegenberg, Wiesental Wetterau และ Kransberg ในเทือกเขา Taunus ในรัฐเฮ็สเซิน ได้รับการออกแบบโดยอัลแบร์ท ชเปียร์ในขณะที่ได้กลายเป็นกองบัญชาการทหารหลักของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์,ได้ถูกกำหนดโดยฮิตเลอร์ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอัดเลอร์ฮอสท์ · ดูเพิ่มเติม »

อัคซีโยน เท4

อัคซีโยน เท4 (German) เป็นการกำหนดหลังสงครามสำหรับโครงการการบังคับการุณยฆาตของนาซีเยอรมนี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอัคซีโยน เท4 · ดูเพิ่มเติม »

อังเกอลา ฮิตเลอร์

อังเกอลา ฟรันซิสกา โยฮันท์ ฮัมมิซช์ (Angela Franziska Johanna Hammitzsch) หรือชื่อเกิดคือ อังเกอลา ฮิตเลอร์ เป็นพี่สาวต่างมารดาของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เธอเป็นลูกสาวของอาลัวส์ ฮิตเลอร์กับภรรยาคนที่สอง Franziska Matzelsberger มีน้องชายชื่อ อาลัวส์ ฮิตเลอร์ จูเนียร์แต่ต่อมาแม่ของเธอเสียชีวิต เธอกับน้องชายได้ถูกรับการเลี้ยงดูจากนางคราลา(Pölzl)ฮิตเลอร์ ภรรยาคนที่สามของอาลัวส์และเป็นมารดาของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ หลังจากอาลัวส์ กับนางคราลา ฮิตเลอร์ได้เสียชีวิตไปแล้ว เธอได้กลายเป็นผู้ปกครองดูแลของฮิตเลอร์ตลอดมาทำให้เธอกลายเป็นญาติคนเดียวที่ใกล้ชิดของอดอลฟ์ ฮิตเลอร์ อังเกอลา ฮิตเลอร์แต่งงานมาสองครั้ง ครั้งแรกกับนายลีโอ รูดอลฟ์ เราบัล เธอมีลูกชายคนแรกคือลีโอ รูดอลฟ์ เราบัล จูเนียร์ ลูกสาวคนที่สอง เกลี เราบัล ลูกชายคนที่สามคนสุดท้อง Elfriede (Friedl) เราบัล สามีของเธอเสียชีวิตในปี 1910 ต่อมาเธอได้แต่งงานกับสถาปนิก ศาสตราจารย์มารติน แฮมมิซแต่สามีของเธอได้ฆ่าตัวตาย หลังจากความพ่ายแพ้สงครามของเยอรมนี หลังสงคราม เธอได้ถูกคุมตัวและสอบถามเกี่ยวกับประวัติของฮิตเลอร์จากสัมพันธมิตรตะวันตกแต่เธอไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุของนาซีเลยและได้รับการปล่อยตัวให้เป็นอิสระ ต่อมาเธอได้เสียชีวิตเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 1949 ณ ฮันโนเฟอร์ เยอรมนีตะวันตก.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอังเกอลา ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อันชลุสส์

ตำรวจชายแดนเยอรมัน-ออสเตรียกำลังรื้อถอนที่กั้นชายแดนในเหตุการณ์อันชลุสส์ ปี 1938. อันชลุสส์ (Anschluss, Anschluß, ท. การผนวก หรือ การเชื่อมโยง) เป็นคำโฆษณาชวนเชื่อนาซีสำหรับการบุกครองและการรวมประเทศออสเตรียเข้ากับเยอรมนีในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอันชลุสส์ · ดูเพิ่มเติม »

อันทอน เดร็กซ์เลอร์

อันตอน เดร็กซ์แลร์ ผู้นำคนแรกของพรรคกรรมกรเยอรมันและพรรคนาซี อันทอน เดร็กซ์เลอร์ (Anton Drexler) (13 มิถุนายน 1884 - 24 กุมภาพันธ์ 1942) เป็นชาวเยอรมันผู้นำทางการเมืองฝ่ายขวาในปี 1920 เป็นผู้ก่อตั้งกลุ่มเหล่าของอุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันและการต่อต้านยิวของพรรคกรรมกรเยอรมัน(Deutsche Arbeiterpartei - DAP),พรรคแต่เดิมของพรรคนาซี(Nationalsozialistische Deutsche Arbeiterpartei – NSDAP).เดร็กซ์แลร์ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาให้กับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในช่วงแรกทางการเมืองของ.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอันทอน เดร็กซ์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อันเนอ ฟรังค์

อันเนอลีส มารี "อันเนอ" ฟรังค์ (Annelies Marie "Anne" Frank; 12 มิถุนายน 2472 – ประมาณมีนาคม 2488) หรือแอนน์ แฟรงค์ เป็นเด็กหญิงชาวยิว เกิดที่เมืองแฟรงก์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี เธอมีชื่อเสียงโด่งดังในฐานะผู้เขียนบันทึกประจำวันซึ่งต่อมาได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือ บรรยายเหตุการณ์ขณะหลบซ่อนตัวจากการล่าชาวยิวในประเทศเนเธอร์แลนด์ ระหว่างที่ถูกเยอรมนีเข้าครอบครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ครอบครัวของเธอได้ย้ายไปยังประเทศเนเธอร์แลนด์ในปี พ.ศ. 2476 หลังจากพรรคนาซีเริ่มมีอำนาจ ต่อมาเมื่อกองทัพนาซีเข้ายึดครองเนเธอร์แลนด์ พร้อมกับออกมาตรการควบคุมชาวยิวจำนวนมาก เธอและครอบครัวกับผู้อื่นอีก 4 คนจึงต้องไปหลบซ่อนตัวอยู่ในอาคารสำนักงานในกรุงอัมสเตอร์ดัมของออทโท ฟรังค์ ผู้เป็นบิดาในห้องลับบนหลังคาตั้งแต่ พ.ศ. 2485 จนถูกหักหลังและถูกนาซีจับเข้าค่ายกักกันในปี พ.ศ. 2487 อันเนอ ฟรังค์เสียชีวิตด้วยโรคไข้รากสาดใหญ่ในเวลาใกล้เคียงกับพี่สาวในค่ายกักกันแบร์เกิน-เบลเซินประมาณเดือนกุมภาพันธ์ หรือมีนาคม พ.ศ. 2488 สมาชิกตระกูลฟรังค์มีผู้รอดชีวิตเพียงคนเดียว คือออทโทผู้เป็นพ่อ เขากลับมาอัมสเตอร์ดัมหลังสงครามสิ้นสุดและได้พบสมุดบันทึกของเธอที่เพื่อนเก็บรักษาไว้ให้ จึงพยายามนำออกตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2490 ใช้ชื่อหนังสือว่า "Het Achterhuis" หลังจากนั้นมีการแปลจากต้นฉบับภาษาดัตช์ออกไปเป็นภาษาต่าง ๆ มากมาย ฉบับภาษาอังกฤษใช้ชื่อว่า "The Diary of a Young Girl" ส่วนฉบับแปลภาษาไทยใช้ชื่อว่า "บันทึกลับของแอนน์ แฟรงค์" อันเนอ ฟรังค์ได้รับสมุดบันทึกเป็นของขวัญวันเกิดครบ 13 ขวบ เธอเริ่มเขียนบันทึกตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2485 และสิ้นสุดในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487 บันทึกได้รับการแปลจากภาษาดัตช์ออกเป็นภาษาต่าง ๆ มากมายและกลายเป็นหนังสือเล่มหนึ่งที่มีผู้อ่านมากที่สุดในโลก นอกจากภาพยนตร์แล้วยังมีการนำเรื่องราวไปสร้างเป็นภาพยนตร์ชุดโทรทัศน์ ละครเวที และแม้แต่อุปรากร งานบันทึกของอันเนอ ฟรังค์ถือว่าเป็นการเขียนงานอย่างผู้ใหญ่เต็มตัวและเต็มไปด้วยความช่างคิด แสดงให้เห็นชีวิตประจำวันที่แท้จริงภายใต้อำนาจพวกนาซี เป็นการพรรณนาถึงเหยื่อของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่โด่งดังที่สุด อันเนอ ฟรังค์ ได้รับเลือกจากนิตยสารไทมส์ให้เป็น 1 ใน 100 บุคคลสำคัญแห่งศตวรรษที่ 20 และกลายเป็นสัญลักษณ์แห่งการต่อสู้เพื่อเกียรติภูมิของมนุษ.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอันเนอ ฟรังค์ · ดูเพิ่มเติม »

อาชีพทางทหารของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อาชีพทางทหารของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ สามารถแบ่งแยกออกเป็นสองส่วนที่แตกต่างกันของชีวิตของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ส่วนใหญ่, ช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เมื่อฮิตเลอร์ได้ทำหน้าที่เป็น Gefreiter (ยศสิบตรี) ในกองทัพบาวาเรียน และยุคสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อฮิตเลอร์ได้ทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพเวร์มัคท์(กองทัพเยอรมัน)ผ่านด้วยตำแหน่งของเขาคือ ฟือเรอร์แห่งนาซีเยอรมนี หมวดหมู่: นาซี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอาชีพทางทหารของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิก แห่งออสเตรีย (2461-2550)

อาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิกแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: คาร์ล ลุดวิก มาเรีย ฟรานซ์ โจเซฟ ไมเคิล กาเบรียล แอนโตนิอุส โรเบิร์ต สเตฟาน พิอุส เกรเกอร์ อิกเนเชียส, Carl Ludwig Maria Franz Joseph Michael Gabriel Antonius Robert Stephan Pius Gregor Ignatius von Habsburg-Lorraine) ประสูติเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2461 ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 4 และพระราชบุตรองค์ที่ 5 ในสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 และสมเด็จพระจักรพรรดินีซีต้าแห่งออสเตรีย และเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิอ๊อตโต้อีกด้วย หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งหลังจากการล้มล้างระบอบกษัตริย์แล้ว พระองค์และพระราชวงศ์ซึ่งนำโดยสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ล พระราชบิดา ๆด้เสด็จลี้ภัยไปยังประเทศสวิตเซอร์แลนด์เป็นที่แรก จากนั้นจึงทรงอพยพไปยังที่เกาะมาไดรา ประเทศโปรตุเกส ซึ่งเป็นที่ที่พระราชบิดาของพระองค์เสด็จสวรรคต พระองค์ทรงสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยคาทอลิกลอยแวน ซึ่งเป็นที่ที่สมเด็จพระจักรพรรดิออตโต พระเชษฐาของพระองค์ก็ทรงสำเร็จการศึกษาที่มหาวิทยาลัยแห่งนี้เช่นกัน ต่อมาปีพ.ศ. 2483 พระราชวงศ์อิมพีเรียลได้อพยพไปที่ประเทศแคนาดา พระองค์จึงทรงสำเร็จการศึกษาในสาขาคณะนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และสังคมศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยลาวัล เมืองควีเบค ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 พระองค์ทรงช่วยเหลือผู้ยากไร้ชาวยิวซึ่งอพยพจากประเทศเยอรมนี ซึ่งขณะนั้นจอมเผด็จการอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ปกครองเยอรมนีอยู่ ต่อมาปีพ.ศ. 2486 พระองค์ทรงเข้าร่วมกับกองทัพนาวีสหรัฐ โดยตามคำเชิญของแฟรงกลิน ดี. รูสเวลต์ ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา ปีต่อมา พระองค์จึงได้ทรงร่วมรบกับนายทหารคนอื่นๆ โดยได้ทรงร่วมรบในสงครามนอร์มองดี ประเทศฝรั่งเศส พระองค์ทรงเข้าร่วมกองทัพสหรัฐฯ จนถึงปีพ.ศ. 2490 เมื่อปี พ.ศ. 2501 พระองค์ได้พาครอบครัวของพระองค์มาพำนักที่ประเทศเบลเยียม พระองค์รวมทั้งอาร์ชดัชเชสมารี แอสตริด พระชายา ได้ทรงงานเพื่อสังคม โดยช่วยเหลือผู้รากไร้และคนตกงานจำนวนมาก พระองค์ทรงประทับอยู่ในประเทศเบลเยียมจนกระทั่งสิ้นพระชนม.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิก แห่งออสเตรีย (2461-2550) · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ทูร์ อักซ์มันน์

อาร์ทูร์ อักซ์มันน์ (Artur Axmann) เป็นชาวเยอรมัน ดำตงตำแหน่งเป็นไรชส์ยูเกินด์ฟือเรอร์ของยุวชนฮิตเลอร์ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอาร์ทูร์ อักซ์มันน์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ทูร์ ไซสส์-อินคัวร์ท

อาร์ทูร์ ไซสส์-อินคัวร์ท (Arthur Seyss-Inquart) เป็นนักการเมืองนิยมนาซีชาวออสเตรีย เป็นผู้ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งประเทศออสเตรียเป็นเวลาเพียงสองวัน ตั้งแต่ 11-13 มีนาคม ปี 1938 ก่อนที่จะมีการอันชลุสส์ (Anschluss) คือการผนวกออสเตรียเข้ารวมกับนาซีเยอรมนี,เขาได้ลงนามในกฎหมายรัฐธรรมนูญในฐานะประมุขแห่งรัฐ หลังจากที่ประธานาธิบดีวิลเฮล์ม มิคลัสได้ลาออก.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอาร์ทูร์ ไซสส์-อินคัวร์ท · ดูเพิ่มเติม »

อาลัวส์ ฮิตเลอร์

อาลัวส์ ฮิตเลอร์, ซีเนียร. (ชื่อตั้งแต่เกิดว่า อาลัวส์ ชิคล์กรูเบอร์; 7 มิถุนายน 1837 – 3 มกราคม 1903)เป็นข้าราชการพลเรือนชาวออสเตรียและเป็นบิดาของ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ นักการเมืองเยอรมันและหัวหน้าพรรคนาซี หมวดหมู่:ชาวออสเตรีย หมวดหมู่:ครอบครัวฮิตเลอร์.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอาลัวส์ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน

อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน (Pan-Germanism) เป็นความคิดทางการเมืองอุดมการณ์รวมกลุ่มชาตินิยม (pan-nationalist) อย่างหนึ่ง นักอุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันเดิมมุ่งรวมประชากรที่พูดภาษาเยอรมันในทวีปยุโรปในรัฐชาติเดียว ที่เรียกว่า กรอสส์ดอยท์ชลันด์ (มหาเยอรมนี) อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันมีอิทธิพลอย่างสูงในการเมืองเยอรมนีในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ระหว่างการรวมประเทศเยอรมนี เมื่อจักรวรรดิเยอรมันถูกประกาศเป็นรัฐชาติใน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

อีมิล มารีเซอ

อีมิล มารีเซอ (19 มกราคม ค.ศ. 1897, Westermoor – 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1972, มิวนิก) เป็นสมาชิกตั้งแต่ต้นของ พรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (พรรคนาซี) และเป็นสมาชิกร่วมก่อตั้ง ชุทซ์ชทัฟเฟิล (SS).

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอีมิล มารีเซอ · ดูเพิ่มเติม »

อีดี อามิน

อีดี้ อามิน (พ.ศ. 2468 - 16 สิงหาคม พ.ศ. 2546) เป็นเผด็จการทหาร และประธานาธิบดีของประเทศยูกันดาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอีดี อามิน · ดูเพิ่มเติม »

ฮยัลมาร์ ชัคท์

ัลมาร์ โฮราเซอ เกรลี ชัคท์ (Hjalmar Horace Greeley Schacht) เป็นนักเศรษฐศาสตร์, นายธนาคาร, นักการเมืองฝ่ายขวา-กลางและผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์เยอรมันในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฮยัลมาร์ ชัคท์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮอสท์ เวสเซิล

อสท์ ลุดวิจ เกอร์ก แอริช เวสเซิล (9 ตุลาคม ค.ศ. 1907 – 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1930) เป็นผู้นำท้องถิ่นในกรุงเบอร์ลินของพรรคนาซีในหน่วยชตูร์มับไทลุง (ทหารกองพันพายุ) หรือหน่วยเอ็สเอ ที่ได้เป็นที่รู้จักกันดีสำหรับผู้พลีชีพเสียสละเพื่อนาซีโดยโยเซฟ เกิบเบลส์ ภายหลังจากเวสเซิลถูกสังหารในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฮอสท์ เวสเซิล · ดูเพิ่มเติม »

ฮอโลคอสต์

"การเลือกสรร" ในค่ายกักกันเอาชวิทซ์ พฤษภาคม/มิถุนายน 1944; ผู้ที่ถูกส่งไปอยู่ทางขวา คือ ไปใช้แรงงานทาส ส่วนผู้ที่ถูกส่งไปทางซ้าย คือ ไปห้องรมแก๊ส จากภาพ เป็นชาวยิวฮังการีที่เพิ่งมาถึงค่าย ผู้ถ่าย คือ แอร์นสท์ ฮอฟมันน์หรือเบอร์นาร์ด วอลเตอร์แห่งหน่วยเอสเอส ฮอโลคอสต์, โฮโลคอสต์ (The Holocaust) หรือรู้จักในอีกชื่อว่า haShoah (ภาษาฮีบรู: השואה), Churben (ภาษายิดดิช: חורבן) เป็นพันธุฆาตชาวยิวในยุโรปประมาณ 6 ล้านคนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โครงการฆาตกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐโดยเยอรมนี นำโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ทั่วทั้งดินแดนที่เยอรมนียึดครอง จากชาวยิว 9 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรปก่อนฮอโลคอสต์ ประมาณสองในสามถูกสังหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กชาวยิวกว่า 1 ล้านคนถูกสังหารในฮอโลคอสต์ เช่นเดียวกับหญิงชาวยิวประมาณ 2 ล้านคน และชายชาวยิว 3 ล้านคน นักวิชาการบางส่วนเสนอว่า นิยามของฮอโลคอสต์ยังควรรวมถึงพันธุฆาตประชากรกลุ่มอื่นอีกหลายล้านคนของนาซี รวมทั้งชาวโรมานี นักคอมมิวนิสต์ เชลยศึกโซเวียต พลเรือนโปแลนด์และโซเวียต พวกรักเพศเดียวกัน ผู้ทุพพลภาพ พยานพระยะโฮวา และคู่แข่งทางการเมืองและศาสนาอื่น ๆ ไม่ว่ากลุ่มชาติพันธุ์เยอรมันหรือไม่ก็ตาม นิยามนี้เป็นนิยามที่สามัญที่สุดนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดจนถึงคริสต์ทศวรรษ 1960 หากใช้นิยามนี้ จำนวนเหยื่อฮอโลคอสต์ทั้งสิ้นอยู่ระหว่าง 11 ถึง 17 ล้านคน เฮนรี ฟีแลนเดอร์นิยามฮอโลคอสต์ว่า "การสังหารหมู่มนุษย์ เพราะพวกเขาเป็นสมาชิกของกลุ่มที่นิยามทางชีวภาพ" หมายความว่า "พวกนาซีใช้นโยบายการกำจัดที่คงเส้นคงวาและครอบคลุมเฉพาะกับมนุษย์สามกลุ่ม ผู้พิการ ชาวยิวและพวกยิปซี" การเบียดเบียนและพันธุฆาตมีการดำเนินแบ่งเป็นขั้น มีกฎหมายหลายฉบับที่ดึงชาวยิวออกจากประชาสังคม ที่เห็นชัดที่สุดคือ กฎหมายเนือร์นแบร์ก ซึ่งใช้บังคับในเยอรมนีหลายปีก่อนสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้น มีการสร้างค่ายกักกันซึ่งผู้ถูกกักกันถูกบังคับให้ใช้แรงงานทาสกระทั่งเสียชีวิตด้วยการหมดแรงหรือโรค ที่ใดที่เยอรมนียึดครองดินแดนใหม่ในยุโรปตะวันออก หน่วยเฉพาะที่เรียกว่า ไอน์ซัทซกรุพเพน จะฆาตกรรมยิวและคู่แข่งทางการเมืองในการยิงหมู่ ผู้ยึดครองกำหนดให้ชาวยิวและโรมานีถูกจำกัดอยู่ในเกตโตที่แออัดยัดเยียดก่อนถูกขนส่งโดยรถสินค้าไปยังค่ายมรณะ ที่ซึ่ง หากพวกเขารอดชีวิตจากการเดินทาง จะถูกสังหารไปโดยมากในห้องรมแก.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฮอโลคอสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ บาเออร์

ันส์ บาเออร์ (Hans Baur) เป็นนักบินของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในระหว่างช่วงที่ฮิตเลอร์ได้เข้าชิงตำแหน่งทางการเมืองในช่วงต้นปี 1930.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฮันส์ บาเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ ฟรังค์

ันส์ มิคาเอล ฟรังค์ (Hans Michael Frank) เป็นชาวเยอรมัน เกิดวันที่ 23 พฤษภาคม ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฮันส์ ฟรังค์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ ฟริซเชอ

ันส์ จอร์จ ฟริซเชอ(Hans Georg Fritzsche)(21 เมษายน 1900 - 27 กันยายน 1953)เป็นเจ้าหน้าที่ระดับอาวุโสของนาซีเยอรมนี,ในช่วงสิ้นสุดสงคราม เขาได้เป็นคณะกรรมรัฐมตรีของ Propagandaministerium(กระทรวงโฆษณาแถลงข่าวและโฆษณาชวนเชื่อ).เขาได้เป็นบุคคลที่อยู่ในฟือเรอร์บุงเคอร์ในใจกลางกรุงเบอร์ลินในระหว่างช่วงวันสุดท้ายของอดอล์ฟ ฮิตเลอร.หลังจากการอสัญกรรมของฮิตเลอร์,เขาได้เดินทางไปยังสายโซเวียตเพื่อยอมจำนนนต่อกองทัพแดงในเมืองเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 1945 ฮันส์ ฟริซเชที่การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฮันส์ ฟริซเชอ · ดูเพิ่มเติม »

ฮูโก้ กัทมันนท์

ูโก้ กัทมันนท์ (Hugo Gutmann) หรือชื่อหลังย้ายไปอยู่ในสหรัฐคือ เฮนรี่ จี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฮูโก้ กัทมันนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-มารี โลแร

็อง-มารี โลแร (Jean-Marie Loret) เป็นชายชาวฝรั่งเศสผู้อ้างตัวเองเป็นบุตรชายของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ โลแรเติบโตขึ้นมาจากการเลี้ยงดูของมารดาโดยไม่มีพ่อ โดยมารดาของโลแรได้บอกกับเขาว่าพ่อของเขาเป็นทหารเยอรมันคนหนึ่งในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง แต่ไม่ทราบว่าเป็นใคร จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และฌ็อง-มารี โลแร · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี

ักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี (Wilhelm II หรือ Friedrich Wilhelm Albert Viktor von Preußen 27 มกราคม พ.ศ. 2402 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2484) หรือ พระเจ้าไกเซอร์วิลเฮล์มที่ 2 เป็นพระราชโอรสใน พระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 กับพระราชธิดาในสมเด็จพระราชินีวิกตอเรีย ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิเยอรมัน และพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งปรัสเซีย ทรงดำรงวาระตั้งแต่วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2431 (ค.ศ. 1888) ถึง 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) ทรงเป็นผู้ที่มีความชื่นชมในศักยภาพทางทหารของจักรวรรดิ ทรงเห็นว่ากองทัพเป็นผู้รวมชาติเยอรมันและสร้างความยิ่งใหญ่ให้กับจักรวรรดิ หาใช่สมาชิกรัฐสภาไม่ พระองค์จึงทรงมุ่งมั่นที่จะใช้กำลังทหารเพื่อขยายอิทธิพลของจักรวรรดิเยอรมันไปทั่วโลก ซึ่งมีผลต่อสถานการณีการเมืองในยุโรปอย่างมาก ก่อให้เกิดการช่วงชิงผลประโยชน์และอำนาจซึ่งกันและกัน ตลอดจนเกิดการแบ่งแยกมหาอำนาจยุโรปเป็น 2 ค่าย จนเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ในที่สุด หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ยุติลงใน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ธัชวิทยา

งของ ''Fédération internationale des associations vexillologiques''. ธัชวิทยา (vexillology) คือวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับธง ชื่อวิชา Vexillology เริ่มใช้เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2500 โดย วิทนีย์ สมิท ผู้แต่งหนังสือเรื่อง ธง และบทความเป็นจำนวนมากเกี่ยวกับธง ในช่วงแรกยังนับเป็นสาขาย่อยของ"วิชาการผูกตราสัญลักษณ์" (heraldry) ซึ่งบางครั้งก็ยังถือว่าเป็นดังนั้นอยู่ นอกจากนี้ก็ยังอาจถือว่าเป็นสาขาของวิชา สัญญาณศาสตร์ (semiotics) วิชานี้ได้มีการนิยามไว้ในข้อบังคับของ สหพันธ์ธัชวิทยานานาชาติ - FIAV (Fédération internationale des associations vexillologiques) ว่าเป็น "การสร้างสรรค์และพัฒนาการว่าด้วยองค์ความรู้เกี่ยวกับธงทุกประเภท ทุกรูปแบบ ทุกหน้าที่ใช้สอย และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และหลักการที่เป็นพื้นฐานแห่งความรู้นี้" บุคคลผู้ศึกษาเกี่ยวกับธงเรียกว่า "นักธัชวิทยา" (vexillologist) และเรียกผู้ทำงานเกี่ยวกับการออกแบบธงหรือนักออกแบบธง เป็นภาษาอังกฤษว่า vexillographer ในคำภาษาอังกฤษ Vexillology ได้มาจากการสังเคราะห์คำภาษาละติน vexillum และ หน่วยคำเติมหลัง –ology ที่แปลว่า "การศึกษาว่าด้ว..." สำหรับ vexillum หมายถึงธงประจำกองทหารโรมันในยุคคลาสสิก ธงสมัยนั้นต่างกันธงปัจจุบันตรงที่ธงปัจจุบันใช้ผูกกับเสาทางดิ่ง ส่วนธง vexillum เป็นผืนสี่เหลี่ยมจตุรัสแขวนอยู่กับแขนกางเขนทางนอนที่ยึดกับปลายหอก นักธัชวิทยารวมตัวกันในระดับนานาชาติจัดประชุมด้านธัชวิทยา (ICV - International Concress of Vexillology) ทุกๆ สองปี เมื่อ..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และธัชวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ธีโอดอร์ โมเรล

ีโอดอร์ กิลเบิร์ต โมเรล (22 กรกฎาคม 1886 – 26 พฤษภาคม 1948) เป็นแพทย์ชาวเยอรมันซึ่งเป็นที่รู้จักคือเป็นแพทย์ส่วนตัวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร.โมเรลเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีในประเทศเยอรมนีสำหรับการรักษาแบบนอกคอกของ.เขาได้ช่วยเหลือฮิตเลอร์เป็นประจำวันในสิ่งที่เขาทำเป็นเวลาหลายปีและอยู่เคียงข้างกับฮิตเลอร์จนถึงช่วงสุดท้ายของยุทธการที่เบอร์ลิน ธีโอดอร์ โมเรล เป็นแพทย์ที่ได้สั่งจ่ายยาให้กับฮิตเลอร์ทั้งหมดเพื่อที่จะรักษาโรคหลายโรคที่ฮิตเลอร์เป็นอยู่และฮิตเลอร์ก็ทานยาหลายเม็ดต่อวัน ซึ่งยาที่โมเรลได้จ่ายยานั้นจะมีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และธีโอดอร์ โมเรล · ดูเพิ่มเติม »

ธีโอดอร์ โรสเวลต์

ีโอดอร์ รูสเวลต์ ธีโอดอร์ รูสเวลต์ (Theodore Roosevelt) (27 ตุลาคม พ.ศ. 2401 - 6 มกราคม พ.ศ. 2462) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 26 ของสหรัฐอเมริกา ผู้คนนิยมเรียกเขาว่า เท็ดดี้ ซึ่งรูสเวลต์นั้นคือแรงบรรดาลใจให้ก่อให้เกิดตุ๊กตาหมีในตำนานอย่าง หมีเท็ดดี้ ซึ่งหลายๆคนรู้จักดี แต่ในด้านการบริหารประเทศ รูสเวลต์ก็ไม่ได้น้อยหน้าใคร เขาได้ดำรงตำแหน่งติดต่อกันถึง 2 สมัย 8 ปี และใบหน้าของเขาก็ได้ถูกสลักไว้ในอนุสรณ์สถานแห่งชาติเมานต์รัชมอร์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า เขาหรือรูสเวลต์เป็นประธานาธิบดีที่มีความสามารถมากคนหนึ่งของอเมริกา มีบทบาทและทรงอิทธิพลคนหนึ่ง ที่สำคัญเขายังได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ซึ่งเป็นรางวัลอันทรงเกียรติสูงสุดในปี ค.ศ. 1905 อีกด้ว.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และธีโอดอร์ โรสเวลต์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชัย (โซเวียต)

งชัย (Знамя Победы, ซนาเมียยา โปเบดืย) เป็นธงชัยที่ถูกปักไว้เหนืออาคารไรช์สทัก (Reichstag) เมื่อกองทัพแดงของสหภาพโซเวียตตีกรุงเบอร์ลินแตกเมื่อวันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และธงชัย (โซเวียต) · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาตินาซีเยอรมนี

งชาติจักรวรรดิเยอรมันซึ่งเป็นธงชาติอย่างถูกต้องตามกฎหมายในนาซีเยอรมนี (ระหว่างปี ค.ศ. 1933-1935) แต่ต่อมาประกาศเลิกใช้ ธงชาตินาซีเยอรมนี เป็นธงชาติประจำรัฐมหาจักรวรรดิเยอรมัน ระหว่างปี ค.ศ. 1933 ถึงปี ค.ศ. 1945.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และธงชาตินาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเยอรมนี

งชาติเยอรมนี มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน แบ่งเป็นแถบสี 3 แถบ ตามแนวนอน คือ สีดำ สีแดง และสีทอง มีชื่อเรียกในภาษาเยอรมันว่า "Schwarz-Rot-Gold" แปลว่า ธงดำ-แดง-ทอง ตามสีของธง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และธงชาติเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีสมคบคิด

ทฤษฎีสมคบคิด (Conspiracy Theory) คือ เรื่องเล่า บทความที่สร้างขึ้นมาจากความคิดของคน หรือกลุ่มคน โดยนำเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาปะติดปะต่อเข้าด้วยกัน ซึ่งอาจมีวัตถุประสงค์ซ่อนเร้นอื่นๆเพื่อให้ประโยชน์/ให้โทษต่อบุคคลหรือกลุ่มบุคคลหนึ่งใด หรืออธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ลักษณะของทฤษฎีสมคบคิดโดยทั่วไปมีข้อเท็จจริงประกอบอยู่เพียงเล็กน้อย หรือส่วนหนึ่ง เพียงเพื่อเสริมให้เกิดความน่าเชื่อถือว่ามีหลักฐานสนับสนุนที่ดูเหมือนเกี่ยวข้องกันเท่านั้น อาจมีเหตุผลสนับสนุนจากความเชื่อส่วนบุคคล ความเชื่อเกี่ยวกับทางศาสนา การเมือง หรือวัฒนธรรมที่แตกต่างไป เรื่องเหล่านี้นักวิชาการจะไม่ใช้อ้างอิง ผู้อ่านควรใช้วิจารณญาณก่อนที่จะเชื่อเรื่องนั้นๆ ประเทศสหรัฐอเมริกามีหน่วยงานที่จะดูแล และกลั่นกรองเรื่องเหล่านี้โดยเฉพาะ เดิมพบได้ในคอลัมน์เล็กๆ ของหนังสือพิมพ์ประเภทแทบลอยด์ในต่างประเทศ ปัจจุบันพบได้มากในฟอร์เวิร์ดเมล เว็บไซต์ส่วนบุคคล และบล็อกต่าง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และทฤษฎีสมคบคิด · ดูเพิ่มเติม »

ทวนศักดิ์สิทธิ์

ทวนศักดิ์สิทธิ์ทิ่มแทงพระวรกายของพระเยซู วาดโดยฟราอันเจลีโก ทวนศักดิ์สิทธิ์ (Holy Lance; Heilige Lanze), หอกศักดิ์สิทธิ์ (Holy Spear), ทวนลอนไจนัส (Lance of Longinus), หรือ หอกแห่งโชคชะตา (Spear of Destiny) ตามที่ระบุไว้ในพระวรสารนักบุญยอห์น เป็นทวนที่นายทหารโรมันนามลอนไจนัส ใช้แทงสีข้างพระเยซูขณะที่พระองค์ถูกตรึงกางเขน เพื่อตรวจว่าพระองค์สิ้นพระชนม์แล้วหรือยัง มีศาสนจักรและอารามมากมายในโลกที่อ้างว่าตนเองมีทวนเล่มนี้ไว้ในครอบครอง แต่ก็ไม่มีการพิสูจน์และตรวจสอบใด ๆ จนถึงทุกวันนี้ ในบรรดาทวนทั้งหมดที่มีการอ้าง มีเพียง 3 เล่มเท่านั้นที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดว่า เล่มใดเล่มหนึ่งอาจเป็นทวนศักดิ์สิทธิ์ของจริง ทวนเล่มแรกอยู่ที่วาติกัน เล่มสองอยู่อาร์มีเนีย เล่มสามอยู่เวียนนา แม้ตำนานจะไม่ได้ระบุว่าทวนเล่มนี้มีพลังอานุภาพเหนือธรรมชาติใด ๆ แต่ผู้คนมากมายก็เชื่อว่าทวนเล่มนี้จะทำให้ผู้ครอบครองมีพลังอำนาจเกรียงไกร ดังนั้นทวนจึงเป็นที่หมายปองของบรรดาผู้นำประเทศในอดีต เช่น ใน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และทวนศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบรัฐบาลฮิตเลอร์

ทำเนียบรัฐบาลฮิตเลอร์, เป็นที่รู้จักกันอย่างเป็นทางการว่า Kanzlei des Führers der NSDAP ("ทำเนียบรัฐบาลของฟือเรอร์แห่งพรรคนาซี"; ย่อด้วยคำว่า KdF) เป็นองค์กรพรรคนาซี ยังเป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า the Privatkanzlei des Führers(ทำเนียบส่วนตัวของฟือเรอร์),หน่วยงานได้ทำหน้าที่เป็นทำเนียบส่วนตัวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ คอยจัดการเรื่องประเด็นต่างๆ เช่น การร้องเรียนต่อเจ้าหน้าที่พรรค,การอุทธรณ์จากศาลพรรค, คำตัดสินอย่างเป็นทางการ,คำร้องผ่อนผันจากเพื่อนร่วมงานของพรรคนาซีและกิจการส่วนตัวของฮิตเลอร์ หมวดหมู่:รัฐบาลนาซีเยอรมนี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และทำเนียบรัฐบาลฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์

ทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ (Reichskanzlei ไรชส์คันซไล) คือชื่อที่ใช้เรียกสำนักงานและที่พำนักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี (ไรชส์คันซเลอร์) ในยุคไรช์เยอรมันระหว่าง..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ · ดูเพิ่มเติม »

ดรีทริซ ฟอน โคลทิซ

รีทริซ ฮูโก้ แฮร์มัน ฟอน โคลทิซ (9 พฤศจิกายน 1894-4 พฤศจิกายน 1966) เป็นนายทหารมืออาชีพที่รับใช้กองทัพจักรวรรดิเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและกองทัพเวร์มัคในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และดรีทริซ ฟอน โคลทิซ · ดูเพิ่มเติม »

ดีด็อยท์เชอว็อคเคินเชา

Harry Giese กำลังใช้ไมโครโฟนบรรยายในปี 1941 Mixing room, 1941 ดีด็อยท์เชอว็อคเคินเชา (Die Deutsche Wochenschau) เป็นชื่อของชุดภาพยนตร์ข่าว ที่ออกฉายทั่วโรงภาพยนตร์ใน นาซีเยอรมนี ตั้งแต่ปี 1940 จนถึง สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง โดยภาพยนตร์ข่าวยังเป็นหนึ่งในเครื่องมือโฆษณาชวนเชื่อหลัก ของนาซีตลอดสงคราม ดีด็อยท์เชอว็อคเคินเชา จะได้รับม้วนภาพยนตร์จากคลังภาพยนตร์ของหน่วยรายงานสงครามของเวร์มัคท์ (Propagandakompanien) และจากช่างภาพเด่น ๆ เช่น Hans Ertl และ Walter Frentz รวมถึงภาพจากภาพยนตร์โฆษณาชวนเชื่อ อย่าง The Eternal Jew และ Feldzug in Polen โดยผู้ให้เสียงบรรยายหลักคือ Harry Giese โดยได้รับมอบหมายให้เป็น "เสียง" ของภาพยนตร์ข่าวเหมือนเป็นเสียงแห่งเสรีภาพที่ถูกนำมาใช้กับการบรรยายข้อเท็จจริงในเครื่องมือโฆษณาชวนเชื่อของนาซี ภาพยนตร์ข่าวมีม้วนภาพยนตร์เด่น ๆ ที่ถูกถ่ายเช่นการรบที่นอร์ม็องดี, ภาพการพบของ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และ เบนิโต มุสโสลินี หลัง แผนลับ 20 กรกฎาคม และม้วนสุดท้าย (No. 755) ที่ฮิตเลอร์มอบเครื่องอิสริยาภรณ์กางเขนเหล็ก ให้กับอาสาสมัครของยุวชนฮิตเลอร์ที่สวนในทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ก่อนยุทธการที่เบอร์ลิน และสารคดีสุดท้ายคือ คนทรยศที่ศาลประชาชน ซึ่งเกี่ยวกับการพิจรณาคดีผู้สมรู้ร่วมคิดในแผนลับ 20 กรกฎาคมRobert Edwin Hertzstein, The War That Hitler Won p283.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และดีด็อยท์เชอว็อคเคินเชา · ดูเพิ่มเติม »

ครีกซมารีเนอ

รีกซมารีเนอ (สงครามกองทัพเรือ) เป็นกองทัพเรือของนาซีเยอรมนีในช่วงปี 1935 ถึง 1945.ได้ถูกแทนที่จากกองทัพเรือแห่งจักรวรรดิเยอรมันและสมัยระหว่างสงคราม ไรซ์มารีเนอ.ครีกซมารีเนอเป็นหนึ่งในสามเหล่าทัพอย่างเป็นทางการพร้อมกับเฮร์ (กองทัพบก),และลุฟท์วัฟเฟอ (กองทัพอากาศ) ของกองทัพเวร์มัคท์,กองกำลังติดอาวุธของนาซีเยอรมนี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และครีกซมารีเนอ · ดูเพิ่มเติม »

คลารา ฮิตเลอร์

คลารา ฮิตเลอร์ (นามสกุลเดิม เพิลเซล; 12 สิงหาคม 1860 – 21 ธันวาคม 1907) เป็นมารดาของ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ นักการเมืองเยอรมันและหัวหน้าพรรคนาซี, หมวดหมู่:ชาวออสเตรีย หมวดหมู่:ครอบครัวฮิตเลอร์.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และคลารา ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงมิวนิก

นแดนซูเดเทินลันด์ ความตกลงมิวนิก (Munich Agreement; Mnichovská dohoda; Mníchovská dohoda; Münchner Abkommen; Accords de Munich) เป็นการประชุมระหว่างประเทศในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เพื่อตกลงเกี่ยวกับแคว้นซูเดเทินลันด์และดินแดนเชโกสโลวาเกีย จัดขึ้นในวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1938 ที่เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี โดยประเทศมหาอำนาจได้ส่งผู้แทนเข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย นายเนวิล เชมเบอร์ลิน จากสหราชอาณาจักร อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ จากนาซีเยอรมนี เบนิโต มุสโสลินี จากอิตาลี และดาลาดิเยร์ แห่งฝรั่งเศส โดยมีเป้าหมายเพื่อประชุมกันถึงอนาคตของเชโกสโลวาเกียกับความต้องการดินแดนเพิ่มเติมของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผลจากสนธิสัญญาดังกล่าว ซึ่งลงนามโดยเยอรมนี อิตาลี สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสได้อนุญาตให้เยอรมนียึดครองดินแดนซูเดเทินลันด์ โดยดินแดนดังกล่าวมีความสำคัญทางยุทธศาสตร์อย่างมากต่อเชโกสโลวาเกีย และการป้องกันชายแดนส่วนใหญ่ของประเทศก็ตั้งอยู่ที่นั่น.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และความตกลงมิวนิก · ดูเพิ่มเติม »

คอมมานด์ & คองเคอร์

อมมานด์ & คอนเคอร์ (Command & Conquer หรือ C&C) คือชื่อของเกมคอมพิวเตอร์แนวเกมวางแผนการรบเรียลไทม์ และ เฟิร์ตเพอร์เซินชูตเตอร์ พัฒนาครั้งแรกโดยบริษัท เวสท์วูด สตูดิโอ ระหว่างปี 1985 จนถึง 2003 ร่วมพัฒนากับบริษัท อิเลคโทรนิค อาร์ต โดยเกมแรกได้วางแผงทั่วโลกใน วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2538 ใช้ ชื่อว่า Command & Conquer โดยได้รับความนิยมทั่วโลก ตลาดที่ขายดีที่สุดได้แก่ อเมริกาเหนือ, ยุโรป และ ออสเตรเลีย และได้มีการแปลเป็นภาษาอื่นๆ ได้แก่ ภาษาเยอรมัน, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาสเปน, ภาษาเกาหลี และ ภาษาจีน พัฒนาลงบนเครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) เล่นผ่าน ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และยังได้พอร์ตลงเครื่อง คอนโซล และเครื่อง แมคอินทอช อีกด้วย เกม คอมมานด์ & คอนเคอร์ 3: ไทบีเรียมวอร์ส และ คอมมานด์ & คอนเคอร์ 3: เคนแรธ เป็นเกมที่พอร์ทลงเครื่องคอนโซล ซึ่งพอร์ตลงในเครื่อง เอกซ์บอกซ์ 360 และเกม คอมมานด์ & คอนเคอร์: เรด-อเลิร์ท 3 ก็ได้มีการพัฒนาลงเครื่อง พีซี เอกซ์บอกซ์ 360 และ เพลย์สเตชัน 3 ด้วยเช่นกัน ในปี 1999 บริษัท อิเลคโทรนิค อาร์ต ได้ซื้อบริษัท เวสท์วูด สตูดิโอ และต่อมาได้ปิดตัวลงในปี 2002 และรวมเข้ากับ อีเอ ลอสแอนเจลิส ซึ่งมีพนักงานเก่าของเวสท์วูดทำงานอยู่ แต่บางคนก็แยกตัวไปทำงานสตูดิโอใหม่ คือ Petroglyph Games ในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2003 ซีรีส์เกม คอมมานด์ & คองเคอร์ มียอดจำหน่ายทั่วโลกรวมแล้วมากกว่า 21 ล้านชุด และในปี 2008 เกมในซีรีส์นี้รวมแล้วมีทั้งหมด 8 ภาคหลัก และภาคเสริมอีกมากมาย โดย เกมที่วางจำหน่ายล่าสุดคือเกม คอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ท 3 และประกาศล่าสุดของเกมภาคสุดท้ายของซีรีส์ ไทบีเรียน ในชื่อว่า "คอมมานด์ & คองเคอร์ 4: ไทบีเรียน ทไวไลท์".

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และคอมมานด์ & คองเคอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ต

อมมานด์ & คองเคอร์: เรด อเลิร์ต (Command & Conquer: Red Alert) เป็นเกมแนววางแผนการรบเรียลไทม์ ในซีรีส์ คอมมานด์ & คองเคอร์ พัฒนาโดยบริษัท เวสท์วูด สตูดิโอ วางจำหน่ายในปี 1996 สำหรับเครื่อง พีซี (MS-DOS & วินโดวส์ 95) และพอร์ตลงเครื่องเพลย์สเตชัน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และคอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ต · ดูเพิ่มเติม »

คอนชตันทิน ฟอน นอยรัท

อนชตันทิน เฮอร์มันน์ คาร์ล ไฟร์แฮร์ ฟอน นอยรัท (Konstantin Hermann Karl Freiherr von Neurath) เป็นนักการทูตชาวเยอรมันผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งไรช์แห่งเยอรมนี ระหว่างปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และคอนชตันทิน ฟอน นอยรัท · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล บรันท์

ร์ล บรันท์ (Karl Brandt) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมันและเป็น เอ็สเอ็ส-กรุพเพินฟือเรอร์ ในหน่วยชุทซ์ชทัฟเฟิล (เอ็สเอ็ส) แห่งนาซีเยอรมนี มีความเชี่ยวชาญด้านการผ่าตัด บรันท์ได้เข้าร่วมพรรคนาซีในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และคาร์ล บรันท์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล ฟรีดริช เกอร์เดแลร์

ร์ล ฟรีดริช เกอร์เดแลร์(31 กรกฎาคม ค.ศ. 1884 – 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1945) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันฝ่ายอนุรักษนิยมของระบอบราชาธิปไตย ผู้บริหาร นักเศรษฐศาสตร์ ข้าราชการพลเรือน และฝ่ายปรปักษ์กับระบอบนาซี เขาได้มีส่วนร่วมในแผนลับ 20 กรกฎาคมคือการลอบสังหารฮิตเลอร์ในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และคาร์ล ฟรีดริช เกอร์เดแลร์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล ฮันเคอ

ร์ล เอากุสท์ ฮันเคอ (Karl August Hanke) เป็นไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็สคนสุดท้ายแห่งหน่วยชุทซ์ชทัฟเฟิล (หน่วยคุ้มกันหรือหน่วยเอ็สเอ็ส) และเป็นเจ้าหน้าที่ของพรรคนาซีแห่งนาซีเยอรมนี เขาได้ทำหน้าที่เป็นผู้ว่าการ(เกาไลแตร์)แห่งไซลีเซียตอนล่าง ตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และคาร์ล ฮันเคอ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล โบเดนชัทซ์

คาร์ล ไฮน์ริช โบเดนชัทซ์ (Karl-Heinrich Bodenschatz; 10 ธันวาคม ค.ศ. 1890 – 25 สิงหาคม ค.ศ. 1979)เป็นนายพลเยอรมันที่ทำหน้าที่เป็นนายทหารคนสนิทของมันเฟรด ฟอน ริชโธเฟินในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และเป็นผู้ประสานงานระหว่างแฮร์มันน์ เกอริงกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมัน หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมวดหมู่:ผู้บัญชาการทหารชาวเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:เชลยศึกสงครามโลกครั้งที่สองชาวเยอรมันที่ถูกจับโดยสหรัฐ.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และคาร์ล โบเดนชัทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล เดอนิทซ์

ร์ล เดอนิทซ์ (Karl Dönitz; 16 กันยายน 1891 – 24 ธันวาคม 1980) เป็นจอมพลเรือชาวเยอรมันผู้มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์กองทัพเรือสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เดอนิทซ์สืบทอดตำแหน่งประมุขแห่งรัฐเยอรมนีต่อจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เขาเริ่มอาชีพในกองทัพเรือจักรวรรดิเยอรมันก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในปี 1918 ขณะที่เขาบังคับการเรือดำน้ำ UB-68 เรือถูกกองทัพบริติชจมและเดอนิทซ์ถูกจับเป็นเชลย ระหว่างอยู่ในค่ายเชลยศึก เขาสรุปสิ่งที่ต่อมาเขาเรียกว่ารูเดลทักทิค ("ยุทธวิธีฝูง" หรือเรียกทั่วไปว่า "ฝูงหมาป่า") เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ เขาเป็นนายทหารเรือดำน้ำอาวุโสในครีกส์มารีเนอ ในเดือนมกราคม 1943 เขาได้ยศกรอสส์อัดมีรัล (จอมพลเรือ) และสืบตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือจากจอมพลเรือ เอริช แรดเดอร์ วันที่ 30 เมษายน 1945 หลังอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ถึงแก่อสัญกรรมและตามพินัยกรรมฉบับหลังสุดของฮิตเลอร์ เดอนิทซ์ถูกเสนอชื่อเป็นผู้สืบทอดประมุขแห่งรัฐจากฮิตเลอร์ ทั้งตำแหน่งประธานาธิบดีเยอรมนีและผู้บัญชาการทหารสูงสุด วันที่ 7 พฤษภาคม 1945 เขาสั่งให้อัลเฟรด โยเดิล หัวหน้าเสนาธิการของกองบัญชาการทหารสูงสุด ลงนามตราสารยอมจำนนในแรมส์ ประเทศฝรั่งเศส เดอนิทช์ยังเป็นหัวหน้ารัฐบาลเฟลนซ์บุร์กจนถูกฝ่ายสัมพันธมิตรยุบเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม ที่การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก เขาถูกพิพากษาลงโทษฐานอาชญากรรมสงครามและตัดสินลงโทษจำคุกสิบปี หลังการปล่อยตัว เขาใช้ชีวิตเงียบ ๆ ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งใกล้ฮัมบุร์กจนเสียชีวิตในปี 1980.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และคาร์ล เดอนิทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล-ไฮน์ริช ฟอน ชตึลพ์นาเกิล

ร์ล-ไฮน์ริช ฟอน ชตึลพ์นาเกิล (Carl-Heinrich von Stülpnagel; 2 มกราคม ค.ศ. 1886 – 30 สิงหาคม ค.ศ. 1944) เป็นนายพลชาวเยอรมันในกองทัพเวร์มัคท์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองซึ่งเป็นผู้บัญชาการในกองทัพบก ในขณะที่ทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการทหารของเยอรมันในเขตการยึดครองฝรั่งเศสและเป็นผู้บัญชาการกองทัพที่สิบเจ็ดในสหภาพโซเวียตในช่วงปฏิบัติการบาร์บารอสซา ชตึลพ์นาเกิลได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการก่ออาชญากรรมสงคราม,รวมทั้งการได้ออกอนุมัติให้จัดการกับพลเรือนและให้ความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับหน่วยไอน์ซัทซกรุพเพนในการสังหารหมู่ชาวยิว เขาได้มีส่วนร่วมในเหตุการณ์แผนลับ 20 กรกฎาคมในการลอบสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เป็นผู้รับผิดชอบของการกระทำของผู้สมรู้ร่วมคิดในฝรั่งเศส ภายหลังจากแผนการล้มเหลว เขาถูกเรียกตัวให้กลับไปยังกรุงเบอร์ลินและในระหว่างทาง เขาได้พยายามจะฆ่าตัวตายแต่ไม่สำเร็จ ต่อมาเขาได้ถูกขึ้นศาลในวันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และคาร์ล-ไฮน์ริช ฟอน ชตึลพ์นาเกิล · ดูเพิ่มเติม »

คำสั่งคอมมานโด

ำสั่งคอมมานโด เป็นคำสั่งที่ได้ถ่ายทอดโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และคำสั่งคอมมานโด · ดูเพิ่มเติม »

คืนมีดยาว

ืนมีดยาว(Nacht der langen Messer นัชแดร์ลังเงินเมสเซอร์) ยังได้เป็นที่รู้จักกันคือ ปฏิบัติการฮัมมิงเบิร์ด (เยอรมัน: Unternehmen Kolibri)หรือในเยอรมันเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า กบฏเริม (Röhm Putsch) (สะกดคำภาษาเยอรมัน: Röhm-Putsch),เป็นการกวาดล้างเมื่อเกิดขึ้นในนาซีเยอรมนี ตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน ถึง 2 กรกฎาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และคืนมีดยาว · ดูเพิ่มเติม »

คูร์ท ฟอน ชไลเชอร์

ูร์ท แฟร์ดีนันด์ ฟรีดริช แฮร์มันน์ ฟอน ชไลเชอร์ (Kurt Ferdinand Friedrich Hermann von Schleicher) เป็นคนสนิทของประธานาธิบดีเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กซึ่งได้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีคนสุดท้ายของสาธารณรัฐไวมาร์ ภายหลังจากที่เขาลาออกจากตำแหน่งได้เพียง 17 เดือน เขาถูกลอบสังหารโดยเอ็สเอ็สภายใต้คำสั่งของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในเหตุการณ์คืนแห่งมีดยาว โดยขณะที่ถูกสังหารกำลังพูดคุยโทรศัพท์กับเพื่อนคนหนึ่ง ในบ้านของตัวเอง และยังได้พูดลงไปในโทรศัพท์ว่า "รอเดี๋ยว มีคนเข้ามาในห้องนี้" เมื่อชะโงกหน้าออกไปดู จึงถูกยิงเสียชีวิต เมื่อภรรยาได้ยินเสียงจึงวิ่งเข้ามาดู ก็ถูกยิงเสียชีวิตตามไปอีกคน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และคูร์ท ฟอน ชไลเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีฮิตเลอร์

ณะรัฐมนตรีฮิตเลอร์ โดยพฤตินัยได้ก่อตั้งรัฐบาลแห่งนาซีเยอรมนีระหว่างวันที่ 30 มกราคม และ 30 เมษายน ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และคณะรัฐมนตรีฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505

แผนที่ฝรั่งเศส ฉบับที่กัมพูชาส่งให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศใช้พิจารณา คดีปราสาทพระวิหาร เป็นความขัดแย้งระหว่างราชอาณาจักรกัมพูชากับราชอาณาจักรไทย ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2501 จากปัญหาการอ้างสิทธิเหนือบริเวณปราสาทพระวิหาร ซึ่งตั้งอยู่ที่ชายแดนไทยด้านอำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ และชายแดนกัมพูชาด้านจังหวัดพระวิหาร เกิดจากการที่ทั้งไทยและกัมพูชา ถือแผนที่ปักปันเขตแดนตามแนวสันปันน้ำของเทือกเขาพนมดงรักคนละฉบับ ทำให้เกิดปัญหาพื้นที่ทับซ้อนของทั้งสองฝ่ายในบริเวณที่เป็นที่ตั้งของตัวปราสาท โดยทั้งฝ่ายกัมพูชาและฝ่ายไทยได้ยินยอมให้มีการพิจารณาปัญหาดังกล่าวขึ้นที่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในปี พ.ศ. 2502 คดีนี้ศาลโลกได้ตัดสินให้ตัวปราสาทพระวิหารตกเป็นของกัมพูชา เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2505 ด้วยคะแนนเสียง 9 ต่อ 3 ท่ามกลางความไม่พอใจของฝ่ายไทย ซึ่งเห็นว่าศาลโลกตัดสินคดีนี้อย่างไม่ยุติธรรม อย่างไรก็ตาม การตัดสินคดีครั้งนี้ไม่ได้แก้ปัญหาเรื่องอาณาเขตทับซ้อนระหว่างไทย-กัมพูชาในบริเวณดังกล่าวให้หมดไป และยังคงเป็นปัญหาเรื้อรังต่อมาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และคดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

ค่ายกักกันดาเคา

ทางอากาศของค่ายในอดีต ภาพถ่ายทางอากาศของอนุสรณ์สถานดาเคาในปัจจุบัน ค่ายกักกันดาเคา (Konzentrationslager (KZ) Dachau) เป็นค่ายกักกันนาซีแห่งแรกที่เปิดในเยอรมนี ตั้งอยู่บนที่ดินของโรงงานผลิตอาวุธร้างใกล้กับเมืองสมัยกลางชื่อว่า ดาเคา ห่างจากเมืองมิวนิกในรัฐบาวาเรียไปทางตะวันตกเฉียงเหนือราว 16 กิโลเมตร ซึ่งตั้งอยู่ทางภาคใต้ของเยอรมนี ค่ายนี้เปิดเมื่อวันที่ 22 มีนาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และค่ายกักกันดาเคา · ดูเพิ่มเติม »

ค่ายมรณะ

มรณะ (Extermination camp หรือ Death camp) สร้างโดยนาซีเยอรมนีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองเพื่อเป็นสถานที่สำหรับสังหารผู้คนเป็นจำนวนล้าน (โดยเฉพาะชาวยิว) อย่างมีระบบ การพันธุฆาตชาวยิวเป็น “วิธีแก้ปัญหาสุดท้ายของปัญหาชาวยิว” (Die Endlösung der Judenfrage) ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ความพยายามของนาซีในการกำจัดชาวยิวทั้งหมดมาเรียกรวมกันว่า “การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์” หรือ “The Holocaust”.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และค่ายมรณะ · ดูเพิ่มเติม »

ค่าปฏิกรรมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

ปฏิกรรมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมายถึง การจ่ายค่าทดแทน การถ่ายโอนทรัพย์สินและเครื่องมือซึ่งเยอรมนีถูกบังคับให้กระทำภายหลังจากสนธิสัญญาแวร์ซาย ภายหลังจากความพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยมาตรา 231 ว่าด้วยความผิดฐานเป็นผู้ริเริ่มสงคราม เยอรมนีและพันธมิตรถูกบังคับให้ต้องเป็นผู้รับผิดชอบต่อความสูญเสียของฝ่ายพันธมิตรทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากสงคราม และจำเป็นต้องจ่ายในรูปของค่าปฏิกรรมสงคราม ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1921 คณะกรรมการค่าปฏิกรรมสงครามระหว่างฝ่ายพันธมิตรประกาศจำนวนเงินทั้งหมดทึ่เยอรมนีต้องชดใช้คิดเป็น 269,000 ล้านมาร์ก (ทองคำบริสุทธิ์ราว 100,000 ตัน) หรือคิดเป็นกว่า 23,600 ล้านปอนด์ หรือคิดเป็นกว่า 32,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ซึ่งคิดเป็น 785,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐตามค่าเงินในปี ค.ศ. 2011) ซึ่งเป็นจำนวนเงินที่นักเศรษฐศาสตร์จำนวนมากในยุคนั้นมองว่ามากเกินกว่าจะยอมรับได้ จำนวนเงินที่เยอรมนีต้องผ่อนชำระในแต่ละปีได้รับการลดลงใน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และค่าปฏิกรรมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

งานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

งานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นการจัดงานพระบรมศพในประเทศอังกฤษเป็นพิธีภายในเงียบ ๆ ไม่มีการทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทางพระพุทธศาสนา เพราะไม่มีพระสงฆ์ แต่ทางราชการอังกฤษได้อนุญาตเป็นกรณีพิเศษให้ประดิษฐานพระบรมศพ ณ พระตำหนักคอมพ์ตัน (ที่ประทับ) ได้ถึง ๔ คืน ซึ่งตามปกติจะอนุญาตให้เพียง ๑ คืนเท่านั้น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ได้ทรงพระนิพนธ์ไว้ในหนังสือ "เกิดวังปารุสก์" ตอนหนึ่งว่า "ได้ขึ้นไปถวายบังคมพระบรมศพซึ่งดูเหมือนบรรทมหลับอยู่ในพระหีบใหญ่บุนวมสีขาว ดูสบายดีกว่าที่จะต้องถูกจัดลงพระบรมโกศอย่างในเมืองไทยเรามากนัก ในห้องตั้งพระศพก็จัดการอย่างดี มีธงมหาราชประดับติดอยู่กับฝา".

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานแทงข้างหลัง

ประกอบจากไปรษณียบัตรออสเตรีย ค.ศ. 1919 เป็นภาพล้อยิวกำลังแทงทหารเยอรมันทางด้านหลังด้วยมีด การยอมจำนนถูกกล่าวโทษแก่ประชาชนที่ไม่รักชาติ พวกสังคมนิยม พวกบอลเชวิค สาธารณรัฐไวมาร์ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยิว การ์ตูนการเมืองเยอรมันฝ่ายขวา ค.ศ. 1924 เป็นภาพฟีลิพ ไชเดมันน์ (Philipp Scheidemann) นักการเมืองสังคมประชาธิปไตย ผู้ประกาศสาธารณรัฐไวมาร์และเป็นนายกรัฐมนตรีไวมาร์คนที่สอง และมัททิอัส แอร์ซแบร์เกอร์ (Matthias Erzberger) นักการเมืองต่อต้านสงครามจากพรรคกลาง ผู้ลงนามการสงบศึกกับฝ่ายสัมพันธมิตร กำลังแทงกองทัพเยอรมันจากข้างหลัง ตำนานแทงข้างหลัง (Dolchstoßlegende, stab-in-the-back myth) เป็นแนวคิดที่เชื่อถือกันอย่างกว้างขวางในแวดวงฝ่ายขวาในเยอรมนีหลัง..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และตำนานแทงข้างหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ซอลดาตืยสโวโบดืย

ซอลดาตืยสโวโบดืย (Солдаты свободы) เป็นภาพยนตร์แนวสงครามและอิงประวัติศาสตร์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง 4 ภาคของสหภาพโซเวียตกำกับโดย ยูรี โอเซรอฟ เป็นภาพยนตร์ภาคต่อจากภาพยนตร์ ออสโวบอจเดนี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และซอลดาตืยสโวโบดืย · ดูเพิ่มเติม »

ซีปัง

ซีปัง (Zipang) เป็นผลงานของไคจิ คาวางูจิ ผู้เขียนยุทธการใต้สมุทร ปัจจุบันกำลังตีพิมพ์ในประเทศไทย โดยสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจปัจจุบันวางขายถึงเล่มที่ 40 และที่ประเทศญี่ปุ่นได้พิมพ์จบแล้ว ถึงเล่มที่ 43.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และซีปัง · ดูเพิ่มเติม »

ซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธา

ซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา (Симеон Борисов Сакскобургготски, ซีโมน บอรีซอฟ ซักสโกบูร์กกอตสกี; Simeon von Sachsen-Coburg und Gotha or Simeon von Wettin) หรือ พระเจ้าซาร์ซีเมออนที่ 2 แห่งบัลแกเรีย (ประสูติ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2480) ทรงเป็นบุคคลสำคัญในสังคมการเมืองและราชวงศ์บัลแกเรีย พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าซาร์แห่งบัลแกเรียตั้งแต..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธา · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ชื่อปฏิบัติการบาร์บารอสซาถูกตั้งชื่อตามพระนามของจักรพรรดิฟรีดริช บาร์บารอสซา แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้นำสงครามครูเสดครั้งที่สาม ในช่วงคริสต์ศตวรรรษที่ 12 วัตถุประสงค์ของปฏิบัติการนี้ คือ การพิชิตสหภาพโซเวียตทางภาคพื้นยุโรปทั้งหมด ซึ่งถือเอาแนวที่ลากเส้นระหว่าง อัคอังเกลส์ก (Arkangelsk) ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัสเซีย ลงไปจนถึงเมืองอัสตราคาน (Astrakhan) ที่อยู่ริมสามเหลี่ยมปากแม่น้ำวอลกา โดยแนวนี้ถูกเรียกว่าแนว AA ปฏิบัติการบาร์บารอสซาไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ฮิตเลอร์คาดหวังไว้ ในทางยุทธวิธีแล้ว กองทัพเยอรมันก่อให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อสหภาพโซเวียต โดยการยึดครองพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของประเทศเอาไว้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซา กองทัพเยอรมันไม่อาจเป็นฝ่ายบุกในแนวรบด้านตะวันออกอีกต่อไป และหลังจากนั้น ก็ประสบความพ่ายแพ้มาตลอดMilitary-Topographic Directorate, maps No.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และปฏิบัติการบาร์บารอสซา · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการพันแซร์เฟาสท์

ปฏิบัติการพันแซร์เฟาสท์ (Unternehmen Panzerfaust) เป็นปฏิบัติการทางทหารเพื่อจัดการและควบคุมราชอาณาจักรฮังการีที่เยอรมนีดูแลอยู่ในช่วงสงคราม ปฏิบัติการเริ่มต้นในเดือนตุลาคม ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และปฏิบัติการพันแซร์เฟาสท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการมาร์กาเรต

ปฏิบัติการมาร์กาเรต เป็นแผนปฏิบัติการการยึดครองฮังการีโดยกองทัพนาซีเยอรมันในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง,ตามที่ได้รับคำสั่งโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เมื่อวันที่ 12 มีนาคม ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และปฏิบัติการมาร์กาเรต · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการยูเรนัส

ปฏิบัติการยูเรนัส (romanised: Operatsiya "Uran") เป็นรหัสนามของโซเวียต เมื่อวันที่ 19-23 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และปฏิบัติการยูเรนัส · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการลิตเติลแซเทิร์น

ปฏิบัติการเสาร์(Operation Saturn),ถูกเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นปฏิบัติการเสาร์น้อย(Operation Little Saturn) เป็นปฏิบัติการของกองทัพแดงบนแนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้นำไปสู่การสู้รบในทางภาคเหนือของเทือกเขาคอเคซัสและภูมิภาค Donets Basin ของสหภาพโซเวียต ตั้งแต่เดือนธันวาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และปฏิบัติการลิตเติลแซเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการวาลคิรี

ปฏิบัติการวาลคิรี (Unternehmen Walküre) เป็นแผนปฏิบัติการความต่อเนื่องของรัฐบาลในวาระฉุกเฉิน ปฏิบัติการนี้ถูกคิดขึ้นโดยกองกำลังรักษาดินแดนเยอรมัน (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น กองกำลังสำรอง) ปฏิบัติการนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศในกรณีที่เกิดเหตุที่อาจทำให้ระบบรัฐบาลฮิตเลอร์เกิดภาวะสุญญากาศ แผนฉุกเฉินนี้ได้รับการรับรองจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ซึ่งฮิตเลอร์ตั้งใจเตรียมพร้อมไว้เพื่อนำมาใช้สถานการณ์ที่เกิดความวุ่นวายในบ้านเมือง ที่อาจเกิดขึ้นจากการทิ้งระเบิดของฝ่ายสัมพันธมิตร หรือการลุกฮือขึ้นก่อจลาจลของผู้ใช้แรงงานจากประเทศที่ถูกยึดครองที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมในเยอรมนี อย่างไรก็ดี นายทหารจากกองทัพบกเยอรมัน คือนายพลฟรีดริช ออลบริชท์ และพลตรีเฮนนิง ฟอน เทรสคอว์ ได้นำแผนการดังกล่าวมาปรับปรุงและดัดแปลงใหม่ เพื่อที่จะใช้ก่อการรัฐประหารยึดอำนาจควบคุมเยอรมนีทั้งหมด ปลดอาวุธหน่วยเอ็สเอ็ส และจับกุมคณะผู้นำรัฐบาลนาซี โดยตั้งเป้าว่าจะใช้แผนวาลคิรีฉบับใหม่นี้หลังจากที่ฮิตเลอร์ถูกลอบสังหารในแผนลับ 20 กรกฎาคมแล้ว ความตายของฮิตเลอร์เป็นสิ่งจำเป็นที่จะทำให้การรัฐประหารนี้ประสบความสำเร็จ เพราะความตายของฮิตเลอร์ (มิใช่เพียงถูกจับกุม) ถือเป็นการปลดปล่อยทหารเยอรมันออกจากพันธะภายใต้คำปฏิญาณตนว่าจะจงรักภักดีต่อฮิตเลอร์ และหันมาภักดีต่อคณะรัฐประหารแทน แผนการดังกล่าวได้มีการลงมือในช่วงบ่ายของวันที่ 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และปฏิบัติการวาลคิรี · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการสีน้ำเงิน

18 พฤศจิกายน ปฏิบัติการสีน้ำเงิน (Case Blue; Fall Blau) ภายหลังเปลี่ยนชื่อปฏิบัติการ Braunschweig เป็นแผนสำหรับเป็นที่ในช่วงฤดูร้อน 1942 กลยุทธ์ในการเข้าโจมภาคใต้ของสหภาพโซเวียตระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน ถึง24 พฤศจิกายน 1942 หลังจากความล้มเหลวในปฏิบัติการบาร์บารอสซา ซึ่งไม่สามารถยึดมอสโกได้ทันเวล.เยอรมนีจึงเล็งเมืองทางภาคใต้ของสหภาพโซเวียตนำโดยกองทัพกลุ่ม A และ B ช่วงแรกเข้าตีเมืองทางภาคใต้เข้าสู่สตาลินกราด จากนั้นกองทัพกลุ่ม A จะข้ามภูเขาคอเคซัสเพื่อเข้ายึดแหล่งน้ำมันใหญ่ของสหภาพโซเวียต ส่วนกองทัพกลุ่ม B จะนำกองกำลังเข้าป้องกันแม่น้ำโวลก้าในเขตสตาลินกราด ในการยุทธช่วงแรกกองทัพเยอรมนีสามารถนำเอาชนะกองทัพโชเวียตที่โวโรเนซและรอสตอฟ อย่างง่ายได้แต่เมื่อเข้าสู่ยุทธการที่สตาลินกราดพบการต้านทานอย่างหนักและพ่ายแพ้ในปฏิบัติการยูเรนัสและปฏิบัติการเสาร์ทำให้แผนการเข้าสู่แหล่งน้ำมันใหญ่ล้มเหลว นำถอยทัพกลับคูบานและเคิร์สต.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และปฏิบัติการสีน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการซิทาเดล

ปฏิบัติการซิทาเดล(Unternehmen Zitadelle)เป็นปฏิบัติการการรุกของเยอรมันที่ต่อกรกับกองทัพโซเวียตในส่วนที่ยืดออกของคูสค์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองบนแนวรบด้านตะวันออก เป็นการริเริ่มของยุทธการที่คูสค์ ด้วยความตั้งใจของปฏิบัติการการป้องกันที่โซเวียตได้นำไปใช้เพื่อต่อต้านการรุกของเยอรมันที่เรียกว่า ปฏิบัติการป้องกันทางยุทธศาสตร์คูสค์ การรุกของเยอรมันได้ถูกตีโต้กลับด้วยปฏิบัติการ Polkovodets Rumyantsev (Полководец Румянцев) และปฏิบัติการคูตูซอฟ(Кутузов) สำหรับเยอรมัน การรบครั้งนี้เป็นการรุกทางยุทธศาสตร์ครั้งสุดท้ายที่พวกเขาจะสามารถเปิดฉากบนแนวรบด้านตะวันออก เมื่อฝ่ายสัมพันธมิตรบุกเข้ายึดครองที่เกาะซิซิลีได้เริ่มต้นขึ้น อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้ถูกบังคับให้หันเหการฝึกกองกำลังทหารในฝรั่งเศสเพื่อเผชิญหน้าการคุกคามของฝ่ายสัมพันธมิตรในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แทนที่จะใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการสำรองกองกำลังสำหรับแนวรบด้านตะวันออก เยอรมันได้สูญเสียกำลังพลและรถถังอย่างกว้างขวางได้ทำให้เกิดความมั่นใจของกองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียตที่ได้รับชัยชนะนั้นได้มีความสุขกับการริเริ่มทางยุทธศาสตร์สำหรับช่วงที่เหลือของสงคราม เยอรมันได้คาดหวังว่าจะลดศักยภาพของการรุกฝ่ายโซเวียตลงสำหรับช่วงฤดูร้อนในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และปฏิบัติการซิทาเดล · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยเสรีนิยม

รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2449 ประชาธิปไตยเสรีนิยม หรือ ประชาธิปไตยแบบเสรีนิยม (Liberal democracy) หรือบางครั้งเรียกว่า ประชาธิปไตยแบบตะวันตก เป็นทั้งคตินิยมทางการเมืองและระบอบการปกครองรูปแบบหนึ่ง ที่การปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนจะดำเนินการใต้หลักเสรีนิยม คือ การพิทักษ์สิทธิของปัจเจกบุคคล ซึ่งโดยทั่วไปจะระบุไว้ในกฎหมาย ระบอบมีลักษณะเฉพาะ คือ.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และประชาธิปไตยเสรีนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ยุโรป

ทความนี้ว่าด้วยประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปโดยรวม.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และประวัติศาสตร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์รัสเซีย

ประวัติศาสตร์รัสเซีย เริ่มต้นขึ้นเมื่อชาวสลาฟตะวันออกก่อตั้งจักรวรรดิเคียฟรุส และรับเอาศาสนาคริสต์มาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ในปี พ.ศ. 1531 ในปีพ.ศ. 1783 อาณาจักรคีวานรุสล่มสลายโดยการรุกรานจากจักรวรรดิมองโกล หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 มอสโกได้ค่อยพัฒนาเป็นศูนย์กลางของศิลปะและวัฒนธรรมทีละน้อย ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 รัฐมอสโกได้เป็นใหญ่ในจักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งได้มีการขยายอาณาเขตถึงโปแลนด์ ทางด้านตะวันออกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก จนถึงสมัยพระเจ้าซาร์อีวานที่ 3 ในปี พ.ศ. 2023 พระองค์หยุดส่งเครื่องบรรณาการให้มองโกเลีย และประกาศเอกราชไม่เป็นเมืองขึ้นของมองโกเลียอีกต่อไป หลังจากการเข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่งผลให้รัสเซียเผชิญปัญหาในการพัฒนาเป็นประเทศอุตสาหกรรม ความเป็นอยู่ประชาชนลำบากแร้นแค้น กำลังทหารและเศรษฐกิจรัสเซียเข้าขั้นวิกฤต ในที่สุดพรรคคอมมิวนิสต์จึงได้ก่อการปฏิวัติขึ้นในปี พ.ศ. 2460 นำไปสู่การก่อตั้งสหภาพโซเวียต เป็นประเทศแรกของโลกที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง สหภาพโซเวียตกลายมาเป็นประเทศมหาอำนาจของโลกคู่กับสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามเย็น ในสมัยนั้น นโยบายของสหภาพโซเวียตได้เน้นการป้องกันประเทศและพัฒนาด้านอุตสาหกรรม แต่การเน้นพัฒนาทหารขนานใหญ่ ส่งผลทำให้เศรษฐกิจตกต่ำอย่างรุนแรง ต่อมา เมื่อมิคาอิล กอร์บาชอฟ ขึ้นสู่อำนาจ เขาได้เริ่มนโยบายปฏิรูปด้านต่าง ๆ ทำให้สหภาพโซเวียตล่มสลายใน พ.ศ. 2534 สาธารณรัฐต่าง ๆ แยกตัวเป็นอิสระ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียจึงแยกตัวออกมาเป็นเป็นสหพันธรัฐรัสเซียในปัจจุบัน โดยที่รัสเซียได้รับสถานภาพตามกฎหมายในเวทีระหว่างประเทศมาจากสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และประวัติศาสตร์รัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516)

ประวัติศาสตร์ไทยตั้งแต..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516) · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เยอรมนี

ประวัติศาสตร์เยอรมนี เริ่มต้นด้วยการต้านทานการยึดครองโดยชาวโรมันของชนเจอร์มานิค ซึ่งเมื่อจักรวรรดิโรมันล่มสลายชนชาติเยอรมันก็กลายเป็นกลุ่มชนผู้มีอำนาจในยุโรปเข้าแทนที่ชาวโรมัน จนนำไปสู่กำเนิดจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือ จักรวรรดิที่ 1 ในสมัยกลาง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ธำรงอยู่กว่าพันปีแต่ก็เป็นเพียงจักรวรรดิที่มองไม่เห็น เพราะรัฐต่าง ๆ ในเยอรมันร้อยกว่ารัฐต่างแยกตัวเป็นอิสระจากพระจักรพรรดิ จนนโปเลียนยกเลิกจักรวรรดินี้ไปกลายเป็นสมาพันธรัฐเยอรมัน เป็นกลุ่มของรัฐต่าง ๆ จนราชอาณาจักรปรัสเซียสามารถรวมประเทศเยอรมนีได้โดยการนำของบิสมาร์ก ก็กลายเป็นจักรวรรดิเยอรมัน หรือ จักรวรรดิที่ 2 แต่ด้วยการปฏิวัติล้มระบอบกษัตริย์หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ทำให้เยอรมนีกลายเป็นสาธารณรัฐไวมาร์ แต่ถูก อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำลัทธินาซียึดอำนาจเปลี่ยนเป็นระบอบเผด็จการและแผ่ขยายดินแดนไปทั่วยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองหรือ จักรวรรดิที่ 3 แต่ฮิตเลอร์พ่ายแพ้สงคราม เยอรมนีจึงถูกแบ่งเป็นสองส่วน คือ เยอรมนีตะวันออก และ เยอรมนีตะวันตก จนรวมกันกลายเป็นประเทศเยอรมนีอีกครั้งใน ค.ศ. 1990.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และประวัติศาสตร์เยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาพุทธ

นาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน นิกายมหายานได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเสื่อมลง พุทธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมตามไปด้วย ยังคงเหลือในจีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม ส่วนนิกายเถรวาทได้เฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งในศรีลังกา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังโลกตะวันตกตั้งแต่ครั้งโบราณ แต่ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และประวัติศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีเยอรมนี

ประธานาธิบดีเยอรมนี (Bundespräsident; ประธานาธิบดีแห่งสหพันธรัฐ) เป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศเยอรมนี ตั้งแต่การสละราชบัลลังก์ของจักรพรรดิเยอรมันในปี ค.ศ. 1918 และการประกาศใช้รัฐธรรมนูญไวมาร์ ประธานาธิบดีก็เป็นประมุขแห่งรัฐของเยอรมนี ตำแหน่งประธานาธิบดีเยอรมนีเป็นตำแหน่งพิธีการและถูกจำกัดบทบาทด้วยองค์ประกอบกฎหมายและจารีตธรรมนูญ มีวาระครั้งละ 5 ปี ส่วนประมุขฝ่ายบริหารคือนายกรัฐมนตรีเยอรมนี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และประธานาธิบดีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ปราก

รรยากาศภายในกรุงปราก ปราก (Prague) หรือ ปราฮา (Praha) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเช็กเกีย มีประชากรอาศัยประมาณ 1.2 ล้านคน เมื่อ ค.ศ. 1992 องค์การยูเนสโก ได้ประกาศให้ปรากเป็นมรดกโลก.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และปราก · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ปัญหาเยอรมัน

ำถามเยอรมัน (Deutsche Frage; German Question) คือประเด็นการอภิปรายในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะในช่วงการปฏิวัติ พ.ศ. 2391 ถึงวิธีการที่ดีที่สุดในการรวมชาติเยอรมัน (Unification of Germany) โดยตั้งแต..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และปัญหาเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ปาแลเดอชาโย

ปาแลเดอชาโย (Palais de Chaillot) ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามหอไอเฟลคนละฝั่งของแม่น้ำแซน ในเขตที่ 16 ของปารีส ตั้งอยู่บนที่ตั้งเดิมของ ปาแลดูว์ทรอกาเดโร (Palais du Trocadéro) ซึ่งเป็นที่มาของชื่อเรียกสั้นของสถานที่นี้ว่า ทรอกาเดโร (Trocadéro) อาคารขนาดใหญ่แห่งนี้สร้างขึ้นเพื่อใช้จัดงานนิทรรศการ Exposition Internationale des Arts et Techniques dans la Vie Moderne ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุงปารีส ในระหว่างวันที่ 25 พฤษภาคม - 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1937 สร้างในสถาปัตยกรรมแบบฟื้นฟูคลาสสิก (Neo-Classic) อาคารแห่งนี้ได้ถูกขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1980.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และปาแลเดอชาโย · ดูเพิ่มเติม »

ปาเดนีเอเบียร์ลีนา

ปาเดนีเอเบียร์ลีนา (Падение Берлина) เป็นภาพยนตร์แนวสงครามของสหภาพโซเวียต และเป็นตัวอย่างของผลงานแนวสัจนิยมสังคมนิยม ปาเดนีเอเบียร์ลีนา มี 2 ภาค ออกฉายในวันที่ 21 มกราคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และปาเดนีเอเบียร์ลีนา · ดูเพิ่มเติม »

ปิดตำนานบุรุษล้างโลก

Der Untergang (Downfall, ดีวีดีในประเทศไทย ใช้ชื่อว่า ปิดตำนานบุรุษล้างโลก) เป็นภาพยนตร์เยอรมันที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และปิดตำนานบุรุษล้างโลก · ดูเพิ่มเติม »

ปืนเล็กยาวจู่โจม

ปืนเอ็ม16 ประจำการครั้งแรกในกองทัพอากาศสหรัฐ เมื่อปี ค.ศ. 1965 ใช้กระสุนขนาด 5.56x45 มม. นาโต เป็นอาวุธปืนที่ประจำการยาวนานที่สุดในกองทัพสหรัฐ ปืนเล็กยาวจู่โจม หรือ ปืนไรเฟิลจู่โจม (Assault rifle) เป็นปืนเล็กยาว ยิงด้วยระบบอัตโนมัติหรือกึ่งอัตโนมัติไปตามวงรอบจนกว่ากระสุนจะหมด ด้วยอัตราการยิงสูง ปืนเล็กยาวจู่โจมจัดเป็นอาวุธประจำกายของทหารในราชการกองทัพ ตามหลักนิยมในการจัดกำลัง 1 หมู่ (Squad) จะมีพลปืนเล็กจำนวน 5 นายและอีก 1 นายใช้ปืนเล็กกลหรือปืนกลเบา เพื่อเพิ่มศักยภาพในการรบ เช่น เอ็ม1 กาแรนด์และเอสวีที-40 ในสงครามโลกครั้งที่สอง ตัวอย่างปืนเล็กยาวจู่โจม เช่น เอเค 47 เอ็ม16 ฟามาส สไตเออร์ เอยูจี ปืนเล็กยาวกึ่งอัตโนมัติ ได้แก่ เออาร์-15.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และปืนเล็กยาวจู่โจม · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ โฮเกล

ปีเตอร์ โฮเกล (Peter Högl) (19 สิงหาคม 1897 - 2 พฤษภาคม 1945) เป็นเจ้าหน้าที่ทหารเยอรมันที่ครองยศตำแหน่งเป็นเอสเอส(ชุทซ์ชทัฟเฟิล)-Obersturmbannführer (พันโท) ซึ่งเป็นสมาชิกคนหนึ่งในหน่วยคุ้มกันของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เขาใช้เวลาอยู่ในฟือเรอร์บุงเคอร์ ณ.กรุงเบอร์ลินในช่วงท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และปีเตอร์ โฮเกล · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์หัวกระเซิง

ปีเตอร์หัวกระเซิง (Der Struwwelpeter) เป็นหนังสือสำหรับเด็กในปี..1845 ที่แต่งโดยไฮน์ริช ฮอฟฟ์แมน เรื่องส่วนใหญ่เกี่ยวกับเด็ก โดยบอกเล่าผ่านบทกวีและภาพประกอบ แต่ละเรื่องให้คติสอนใจซึ่งแสดงถึงหายนะของการประพฤติตัวไม่เหมาะสมในแบบที่เกินจริง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และปีเตอร์หัวกระเซิง · ดูเพิ่มเติม »

ป่ากงเปียญ

ป่ากงเปียญ (Forêt de Compiègne) เป็นป่าใหญ่ในแคว้นปีการ์ดี ประเทศฝรั่งเศส ใกล้กับเมืองกงเปียญและอยู่ห่างจากกรุงปารีสขึ้นมาทางเหนือประมาณ 60 กิโลเมตร.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และป่ากงเปียญ · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีเยอรมนี

นายกรัฐมนตรี (Bundeskanzler; Chancellor) เป็นตำแหน่งประมุขฝ่ายบริหารประเทศเยอรมนี เป็นชื่อเรียกตำแหน่งเก่าแก่ เกิดขึ้นในสมัยที่เยอรมนีเพิ่งรวมประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญจักรวรรดิเยอรมัน (Constitution of the German Empire 1871 AD) ในสมัยบิสมาร์คในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และนายกรัฐมนตรีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

นาซี (แก้ความกำกวม)

นาซี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และนาซี (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

นีโอนาซี

นีโอนาซี (Neo-Nazism) คือลัทธิที่เคลื่อนไหวหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เพื่อฟื้นคืนลัทธินาซี ซึ่งโดยส่วนมากแล้ว สมาชิกกลุ่มคนเหล่านี้มักเป็นกลุ่มคนผิวขาว (คอเคซอยด์) เนื่องจากกลุ่มคนเหล่านี้ยังมีความเชื่อที่ว่าคนผิวขาวเป็นใหญ่เหนือเผ่าพันธุ์อื่นๆ สืบมาตั้งแต่ยุคล่าอาณานิคม ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของนาซี นโยบายของลัทธินีโอนาซีมีความแตกต่างกันไป แต่มักสวามิภักดิ์ต่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์, เหยียดเชื้อชาติต่างๆ, เหยียดสีผิว, เทิดทูนคนอารยันเยอรมัน, เหยียดเกย์ เหยียดยิว สลาฟ ฯลฯ พวกเขามักใช้สัญลักษณ์เป็นสวัสดิกะ มีบางประเทศในทวีปยุโรปมีกฎหมายห้ามลัทธินาซี การเหยียดผิว การเหยียดเชื้อชาติ กลุ่มนีโอนาซีจะพบแถวชายแดนระหว่างประเทศที่ติดกับเยอรมัน โดยเฉพาะในรัสเซียพบมากที่สุดในกรุงมอสโก เหยื่อผู้เคราะห์ร้ายของบุคคลกลุ่มนี้ได้แก่ ชนชาติที่เป็นต่างชาติและที่มีอยู่ในรัสเซียอยู่แล้วเช่น ยิว สลาฟ เอเชีย ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส แอฟริกันอเมริกัน ลูกครึ่ง รัสเซียและกลุ่มชนชาติต่างๆ ที่อยู่ในรัสเซียและมาจากต่างประเทศ ชาวรัสเซียคนหนึ่งบอกว่า ที่ประเทศเขามีประชากรเป็นรัสเซีย 81% ต่างชาติ 19% อาทิ ยิว สลาฟ ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส เยอรมัน ฯลฯ เขาบอกว่าพวกนีโอนาซีจะเป็นพวกเยอรมันที่อยู่ในรัสเซียที่เป็นชุมชนเยอรมัน เขายังบอกอีกว่าชาวต่างชาติที่อยู่ในประเทศเขาที่ไม่ใช้เยอรมันมักถูกทำร้ายจนตายทั้งที่มาจากต่างประเทศและชนชาติกลุ่มต่างๆ ในรัสเซียที่ไม่ใช่เยอรมัน มีนีโอนาซีบางกลุ่มพยายามที่จะรื้อฟื้นลัทธินี้ อาทิ Colin Jordan, George Lincoln Rockwell, Savitri Devi, Francis Parker Yockey, William Luther Pierce, Eddy Morrison และ David Myatt นีโอนาซีมักจะโกนหัว ชื่อของทรงผมสกินเฮดที่เรียกชื่อกันอยู่นั้นมีต้นกำเนิดมาจากพวกนี้ เชื่อว่าคนขาวที่เป็นเยอรมันเป็นเผ่าพันธุ์ที่ดีที่สุด แต่งกายคล้ายพังก์ สักลาย สวัสดิกะ หรือ สัญลักษณ์นาซีไว้ที่ตัว บูชา อดอล์ฟ ฮิตเลอร์, แฮร์มันน์ เกอริง, ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ บ้างไล่ตระเวนไล่ทำร้ายชาวต่างชาติ เช่น ยิว สลาฟ เอเชีย ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส นิโกร ลูกครึ่ง รัสเซีย สเปน กรีก อิตาลี และกลุ่มชนชาติต่างๆ ซึ่งอาจรวมอังกฤษด้วย สมาชิกนีโอนาซีส่วนมากมักจะเป็นคนเชื้อสายเจอร์แมนิกในหลายประเทศ ได้แก่ เยอรมนี, สวีเดน, เดนมาร์ก, นอร์เวย์, สหราชอาณาจักร, ไอซ์แลนด์, ออสเตรีย, สวิตเซอร์แลนด์, เนเธอร์แลนด์ และเบลเยียม ส่วนเขตอิทธิพลของนีโอนาซีในประเทศอื่นๆ ได้แก่ รัสเซีย, โครเอเชีย, ฝรั่งเศส, เซอร์เบีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, เอสโตเนีย, ฮังการี, กรีซ, ยูเครน, ตุรกี, อิสราเอล, ซีเรีย, มองโกเลีย, พม่า, ไต้หวัน, เซอร์เบีย, สหรัฐอเมริกา, แคนาดา, คอสตาริกา, บราซิล และชิลี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และนีโอนาซี · ดูเพิ่มเติม »

นโปเลียนที่ 2

นโปเลียน ฟร็องซัว ชาร์ล โฌแซ็ฟ โบนาปาร์ต (Napoléon François Charles Joseph Bonaparte; 20 มีนาคม พ.ศ. 235422 กรกฎาคม พ.ศ. 2365) ดำรงพระอิสริยยศเป็นพระราชกุมาร (Prince Imperial) กษัตริย์แห่งโรม และเจ้าชายแห่งปาร์มา ปลาเซนตีอา และกัสตัลลา นอกจากนี้ยังทรงเป็นที่รู้จักในราชสำนักออสเตรียตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และนโปเลียนที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

แบร์ชเทิสกาเดิน

แบร์ชเทิสกาเดิน (Berchtesgaden) เป็นเทศบาลในรัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี เป็นเทศบาลซึ่งตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาไบเอิร์นแอลป์ ใกล้กับชายแดนประเทศออสเตรีย อยู่ห่างจากเมืองซาลซ์บูร์กไปทางใต้ราว 30 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากนครมิวนิกไปทางตะวันออกเฉียงใต้ราว 180 กิโลเมตร บริเวณทางใต้ของเมืองเป็นที่ตั้งของอุทยานแห่งชาติแบร์ชเทิสกาเดินและเวิ้งหุบเขาอีกสามแห่ง แบร์ชเทิสกาเดินเป็นที่ตั้งของภูเขาวัทซ์มันน์ (Watzmann) ซึ่งสูงเป็นอันดับ 3 ในเยอรมนีด้วยความสูง 2,713 เมตร ถือเป็นหนึ่งในสถานที่ปีนยอดนิยม นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของทะเลสาบเคอนิง ซึ่งเป็นทะเลสาบธารน้ำแข็งซึ่งมีความลึก แบร์ชเทิสกาเดินเป็นเมืองที่มีทัศนียภาพงดงาม ผู้นำนาซีเยอรมนีอย่างอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ มีบ้านพักตากอากาศที่ชื่อ แบร์กฮอฟ อยู่ในเมืองนี้และยังมี รังอินทรี อยู่บนยอดเขาเคลชไตน์ ส่วนผู้นำระดับสูงคนอื่นๆอย่าง แฮร์มันน์ เกอริง, โยเซฟ เกิบเบลส์ และอัลแบร์ท ชเปียร์ ก็มักเดินทางมาพักตากอากาศที่เมืองนี้อยู่บ่อยครั้ง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแบร์ชเทิสกาเดิน · ดูเพิ่มเติม »

แบร์กฮอฟ

แบร์กฮอฟ (Berghof) เป็นบ้านพักตากอากาศส่วนตัวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในภูเขาโอเบอร์ซัลซแบร์ก (Obersalzberg) ของเทือกเขาไบเอิร์นแอลป์ ใกล้กับแบร์ชเทิสกาเดินในรัฐบาวาเรีย เป็นบ้านพักตากอากาศอีกแหน่งหนึ่งนอกจากรังหมาป่า ถือเป็นฐานบัญชาการของฮิตเลอร์เพื่อรุกรานสหภาพโซเวียต ฮิตเลอร์ได้ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ในแบร์กฮอฟมากกว่าที่ใดในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ที่แห่งนี้เป็นฐานบัญชาการของฮิตเลอร์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดแห่งหนึ่งในฐานบัญชาการหลายแห่ง ถูกสร้างขึ้นและปรับปรุงขยายห้องจำนวนมากและเปลี่ยนชื่อในปี 1935,แบร์กฮอฟเป็นบ้านพักที่ฮิตเลอร์ชอบเข้ามาพักผ่อนในช่วงวันหยุดมาเป็นเวลาสิบปี.ในช่วงเดือนเมษายน 1945 บ้านได้รับความเสียหายจากการทิ้งระเบิดของอังกฤษ,ถูกวางเพลิงโดยกองกำลังทหารเอสเอสที่กำลังล่าถอยในช่วงต้นเดือนพฤษภาคมและภายหลังก็ถูกรูทของโดยทหารสัมพันธมิตรที่ได้เข้ามาถึงพื้นที.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแบร์กฮอฟ · ดูเพิ่มเติม »

แม็กดา เกิบเบลส์

แม็กดา เกิบเบลส์ โยฮันนา มาเรีย แม็กดาเลน่า "แม็กดา"เกิบเบลส์(née Ritschel; 11 พฤศจิกายน 1901 – 1 พฤษภาคม 1945)เป็นภรรยาของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงโฆษณาแถลงข่าวและโฆษณาชวนเชื่อแห่งนาซีเยอรมนี นายโยเซฟ เกิบเบลส์ เป็นสมาชิกคนสำคัญของพรรคนาซี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแม็กดา เกิบเบลส์ · ดูเพิ่มเติม »

แวร์วูล์ฟ (กองบัญชาการเวร์มัคท์)

Führerhauptquartier แวร์วูล์ฟ เป็นรหัสนามที่ถูกใช้สำหรับหนึ่งในกองบัญชาการทหารของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในสงครามโลกครั้งที่สองบนแนวรบด้านตะวันออก ที่ตั้งอยู่ที่ป่าสนประมาณ 12 กม.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแวร์วูล์ฟ (กองบัญชาการเวร์มัคท์) · ดูเพิ่มเติม »

แวร์เนอร์ ฟอน บลอมแบร์ก

แวร์เนอร์ เอดวร์ด ฟริทซ์ ฟอน บลอมแบร์ก (Werner Eduard Fritz von Blomberg) เป็นจอมพลเยอรมัน รัฐมนตรีว่าการสงครามแห่งไรช์และผู้บัญชาการทหารเหล่าทัพเยอรมันจนถึง..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแวร์เนอร์ ฟอน บลอมแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แวร์เนอร์ ฟอน ฟริทช์

ลเอก โทมัส ลุดวิจ แวร์เนอร์, ไฟร์แฮร์ ฟอน ฟริทช์(Thomas Ludwig Werner, Freiherr von Fritsch) เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพเยอรมัน ตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแวร์เนอร์ ฟอน ฟริทช์ · ดูเพิ่มเติม »

แวร์เนอร์ ไฮเซินแบร์ก

แวร์เนอร์ ไฮเซินแบร์ก (Werner Heisenberg; 5 ธันวาคม พ.ศ. 2444-1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวเยอรมันซึ่งเป็นหนึ่งในผู้วางหลักการพื้นฐานของกลศาสตร์ควอนตัม มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในฐานะผู้คิดค้นหลักความไม่แน่นอนของทฤษฎีควอนตัม นอกจากนี้ยังเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในสาขาวิชาฟิสิกส์นิวเคลียร์ ทฤษฎีสนามควอนตัม และฟิสิกส์อนุภาค ไฮเซินแบร์ก ร่วมกับมักซ์ บอร์น และ พาสควอล จอร์แดน ได้ร่วมกันวางหลักการของเมทริกซ์เพื่อใช้ในกลศาสตร์ควอนตัมในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแวร์เนอร์ ไฮเซินแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แอริช ลูเดินดอร์ฟ

แอริช ฟรีดริช วิลเฮล์ม ลูเดินดอร์ฟ (Erich Friedrich Wilhelm Ludendorff) เป็นนายพลหนึ่งดาว (เทียบเท่าพลจัตวา) แห่งกองทัพบกจักรวรรดิเยอรมัน ผู้มีชัยชนะในการรบที่ Liège และ Tannenberg.ในเดือนสิงหาคม 1916,เขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายพลฝ่ายพลาธิการ(Erster Generalquartiermeister)ทำให้เขากลายเป็นผู้นำ(พร้อมกับเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก) ของสงครามเยอรมันในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง จนกระทั่งได้ลาออกไปในปี 1918,ก่อนจะสิ้นสุดของสงคราม หลังสงคราม ลูเดินดอร์ฟได้กลายเป็นผู้นำของชาติที่มีความโดดเด่นและสนับสนุนทฤษฏีของตำนานแทงข้างหลัง,ด้วยความเชื่อที่ว่า ความพ่ายแพ้สงครามของเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเกิดขึ้นมาจากการทรยศหักหลังต่อกองทัพเยอรมันโดยพวกมาร์กซิสต์และบอลเชวิค ผู้ที่มีความรับผิดชอบสำหรับการเจรจาต่อรองอย่างเสียเปรียบของเยอรมันในสนธิสัญญาแวร์ซ.เขาได้มีส่วนร่วมในการก่อรัฐประหารของ Wolfgang Kapp ในปี 1920 และกบฏโรงเบียร์ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี 1923,และในปี 1925,เขาได้ลงการเลือกตั้งชิงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งเยอรมนีกับอดีตผู้บังคับบัญชาอย่างฮินเดนบูร์ก,ผู้ที่เขาได้อ้างว่าได้มีชื่อเสียงสำหรับชัยชนะของลูเดินดอร์ฟกับรัสเซี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแอริช ลูเดินดอร์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์

แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ (Erwin Rudolf Josef Alexander Schrödinger; 12 สิงหาคม ค.ศ. 1887 - 4 มกราคม ค.ศ. 1961) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวออสเตรีย มีชื่อเสียงในฐานะผู้วางรากฐานกลศาสตร์ควอนตัม โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมการชเรอดิงเงอร์ ซึ่งทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์ฮาร์ด ไฮเดิน

แอร์ฮาร์ด ไฮเดิน (Erhard Heiden) เป็นสมาชิกพรรคนาซีระดับชั้นอาวุโสช่วงแรกและเป็นผู้บัญชาการคนที่สามของกองกำลังปีกกึ่งทหารทั้งสองหน่วยของหน่วยชตูร์มับไทลุง(SA) และหน่วยชุทซ์ชทัฟเฟิล(SS) เขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าของหน่วยเอ็สเอ็ส,ระดับชั้นหัวกะทิของหน่วยเอสเอในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแอร์ฮาร์ด ไฮเดิน · ดูเพิ่มเติม »

แอร์นสท์ กึนเทอร์ เชนค์

แอนสท์-กึนเทอร์ เชงค์ (Ernst Günther Schenck; 3 ตุลาคม 1904 — 21 ธันวาคม 1998) เป็นแพทย์ชาวเยอรมันและเป็นสมาชิกของหน่วยเอสเอส(ชุทซ์ชทัฟเฟิล) เนื่องจากมีโอกาสได้พบครั้งสุดท้ายกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในช่วงท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง,บันทึกความทรงจำของเขาได้รับการพิสูจน์ว่ามีคุณค่าต่อทางประวัติศาสตร์ บัญชีของเขาในช่วงเวลานั่นมีความโดดเด่นในผลงานของโจอาคิม เฟส (Joachim Fest) และเจมส์ พี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแอร์นสท์ กึนเทอร์ เชนค์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนสท์ ฮันฟ์ชเต็งเงิล

แอนสท์ ฟรันซ์ เซ็จวิก ฮันฟ์ชเต็งเงิล (Ernst Franz Sedgwick Hanfstaengl; 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1887 – 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1975) เป็นนักธุรกิจชาวเยอรมันเชื้อสายอเมริกันและคนสนิทของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ซึ่งเป็นผู้อยู่เบื้องหลังของความสำเร็จในการเติบโตอย่างรวดเร็วของพรรคนาซีและสามารถยึดครองเยอรมนีได้อย่างเบ็ดเสร็จ ต่อมาเขาเกิดความรู้สึกอึดอัดกับพฤติกรรมของฮิตเลอร์จึงได้หลบหนีไปยังประเทศอังกฤษ ต่อมาเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองได้เกิดขึ้น เขาถูกอังกฤษจับกุมและถูกคุมขังเอาไว้ แต่ฮันฟ์ชเต็งเงิลได้เขียนจดหมายไปถึงประธานาธิบดี แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐอเมริกาทำให้เขาได้รับการปล่อยตัวและทำงานเป็นที่ปรึกษาด้านสงครามให้แก่ประธานาธิบดีโรสเวลต์และฝ่ายสัมพันธมิตรในช่วงยามสงครามและเคยร่วมงานกับนักประพันธ์ Djuna Barnes หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายเยอรมัน หมวดหมู่:นาซี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแอนสท์ ฮันฟ์ชเต็งเงิล · ดูเพิ่มเติม »

แอนสท์ คัลเทนบรุนเนอร์

แอนสท์ คัลเทนบรุนเนอร์ (Ernst Kaltenbrunner) เป็นชาวเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย เป็นเจ้าหน้าที่อาวุโสของนาซีเยอรมนีระหว่าง สงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแอนสท์ คัลเทนบรุนเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนสท์ เริม

แอนสท์ ยูเลียส กุนเทอร์ เริม (Ernst Julius Günther Röhm; 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1887 - 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1934) เป็นนายทหารเยอรมันและสมาชิกผู้ร่วมก่อตั้งของพรรคนาซี ในฐานะที่เป็นหนึ่งในสมาชิกแรกของพรรคกรรมกรเยอรมัน เขาเป็นเพื่อนสนิทและพันธมิตรเริ่มต้นของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และผู้ร่วมก่อตั้งของชตูร์มมับไทลุงหรือเอสเอ (SA, "กองพันพายุ") ซึ่งเป็นอาสาสมัครของพรรคนาซีและต่อมาเป็นผู้บัญชาการ ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแอนสท์ เริม · ดูเพิ่มเติม »

แอนสท์-โรเบิร์ต กราวิทซ์

แอนสท์-โรเบิร์ต กราวิทซ์ (Ernst-Robert Grawitz; 8 มิถุนายน 1899 - 24 เมษายน 1945) เป็นแพทย์ชาวเยอรมัน (และเป็นเจ้าหน้าที่เอสเอสในหน่วย Reichsarzt "Arzt" แปลความหมายว่า "แพทย์") ในเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเกิดในชาล็อตเทนเบิร์ก และเสียชีวิตในพอสดัม-บาเบลเบิร์ก (Potsdam-Babelsberg) แอนสท์-โรเบิร์ต กราวิทซ์ เป็นแพทย์และตำรวจในหน่วยเอสเอส เขาเป็นผู้ได้รับการสนับสนุนจากพรรคนาซีในการพยายามกำจัดกลุ่มคนรักร่วมเพศและวิจัยหาทางรักษาคนที่มีพฤติกรรมรักร่วม.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแอนสท์-โรเบิร์ต กราวิทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนโทนี ฮ็อปกินส์

ซอร์ ฟิลิป แอนโทนี ฮ็อปกินส์ เกิดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 1937 เป็นนักแสดงชาวเวลช์ เขายังได้รับ การยอมรับเป็นอย่างสูงในงานทางโทรทัศน์, ละครเวที, และในด้านที่เป็นนักดนตรี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแอนโทนี ฮ็อปกินส์ · ดูเพิ่มเติม »

แอ็นสท์ เทลมัน

แอ็นสท์ เทลมัน (1932) แอ็นสท์ เทลมัน (Ernst Thälmann;16 เมษายน 1886 – 18 สิงหาคม 1944) เป็นเลขาธิการกลางของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี (KPD) ในช่วงยุคของสาธารณรัฐไวมาร์ เขาถูกจับกุมตัวโดย เกสตาโป ในปี 1933 เขาถูกลงโทษโดยการใช้แรงงานหนักเป็นเวลา 11 ปี ก่อนจะถูกยิงที่ค่ายกักกันบูเคนวัลด์ ตามคำสั่งของ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในปี 1944.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแอ็นสท์ เทลมัน · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ เกอริง

แฮร์มันน์ วิลเฮล์ม เกอริง (Hermann Wilhelm Göring) เป็นผู้นำทางทหารของไรช์ที่สามที่ตำแหน่งจอมพลไรช์ และยังเป็นผู้นำระดับสูงของพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (พรรคนาซี) เขามีบทบาทสำคัญในการขยายระบบเผด็จการของพรรคนาซีให้ครอบคลุมทั่วเยอรมนี รวมทั้งสร้างเสริมแสนยานุภาพทางทหารของเยอรมนีโดยเฉพาะกองทัพอากาศให้มีความแข็งแกร่ง ภายหลังนาซีล่มสลาย เขาถูกตัดสินประหารชีวิตในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก แต่เขาก็จบชีวิตตนเองด้วยการกลืนไซยาไนด์ก่อนหน้าการประหารชีวิตไม่กี่ชั่วโมง และก่อนกลืนไซยาไนด์เขาได้ตระโกนว่า "ไฮล์ ฮิตเลอร์".

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแฮร์มันน์ เกอริง · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์แบร์ท บาเคอ

แฮร์แบร์ท ฟรีดิซ วิลเฮล์ม บาเคอ(1 พฤษภาคม ค.ศ. 1896 – 6 เมษายน ค.ศ. 1947) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันและเจ้าหน้าที่หน่วยเอ็สเอ็สในช่วงยุคนาซี เขาได้พัฒนาและทำให้เกิดสัมฤทธิ์ผลของแผนความหิวที่มองเห็นการตายด้วยความอดอยากของชาวสลาฟและชาวยิวนับล้านคนว่าเป็น"พวกกินเสียของเปล่า" ภายหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซาในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแฮร์แบร์ท บาเคอ · ดูเพิ่มเติม »

แผนลับ 20 กรกฎาคม

แผนลับ 20 กรกฎาคม (20 July plot) เป็นความพยายามลอบสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ฟือเรอร์แห่งไรช์ที่สาม ภายในกองบัญชาการสนาม "รังหมาป่า" ใกล้เมืองรัสเทนบูร์ก แคว้นปรัสเซียตะวันออก เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

แผนสี่ปี

แผนสี่ปี (Four Year Plan) เป็นหนึ่งในมาตรการทางเศรษฐกิจที่ได้ริเริ่มโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ซึ่งได้มอบหมายให้จอมพลไรช์ แฮร์มันน์ เกอริงในการดูแลรับผิดชอบ เกอริงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้มีอำนาจเต็มแห่งไรช์ (Reich Plenipotentiary) ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดอำนาจหน้าที่ของสมาชิกคณะรัฐมนตรี รวมถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการเศรษฐกิจ, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร แผนงานนี้เป็นหนึ่งในหลายแผนงานของรัฐบาลที่คิดขึ้นโดยฮิตเลอร์และพรรคนาซี ซึ่งรวมถึงหน่วยงานต่างๆ เช่น องค์การท็อดท์ และการรวมตัวกันของหน่วยเอ็สเอ็สและกองกำลังตำรวจเยอรมัน รวมถึงตำรวจลับเกสตาโพภายใต้บัญชาการของไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ วัตถุประสงค์หลักของแผนสี่ปีคือ การจัดหาอาวุธของเยอรมนีและเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการพึ่งพาตัวเองในระยะเวลาสี่ปี,นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแผนสี่ปี · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันออกเป็นเขตสงครามหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง มีอักษะประเทศในทวีปยุโรป และคู่สงครามร่วมฟินแลนด์ฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียต โปแลนด์และชาติสัมพันธมิตรจำนวนหนึ่งอีกฝ่ายหนึ่งเป็นคู่สงคราม เขตสงครามนี้กินอาณาบริเวณยุโรปตะวันออก บางส่วนของยุโรปเหนือและยุโรปใต้ สู้รบกันระหว่างวันที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง) · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันตก ของการสู้รบบนภาคพื้นทวีปยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองโอบล้อมบริเวณพื้นที่ตั้งแต่เดนมาร์ก นอร์เวย์ ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และภาคตะวันตกของเยอรมนี ปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สองบริเวณยุโรปตอนใต้และบริเวณอื่นๆ ถูกจัดว่าไม่เกี่ยวกับแนวรบด้านตะวันตกนี้ การต่อสู้ในแนวรบด้านตะวันตกถูกแบ่งโดยปฏิบัติการสู้รบครั้งใหญ่ๆ ด้วยกันสองครั้ง คือ ช่วงแรกที่เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝรั่งเศส ยอมจำนนต่อกองทัพนาซีเยอรมนีในช่วงเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน ค.ศ. 1940 ภายหลังจากที่พ่ายแพ้การสู้รบในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำและในพื้นที่กึ่งหนึ่งของฝรั่งเศสตอนเหนือ จากนั้นสงครามจึงดำเนินเข้าสู่การสู้รบทางอากาศระหว่างเยอรมนีกับสหราชอาณาจักร ซึ่งทวีความรุนแรงมากที่สุดในช่วงยุทธการที่บริเตน ช่องที่สองคือช่วงของการสู้รบภาคพื้นดินขนาดใหญ่ซึ่งเริ่มต้นขึ้นในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1944 จากการยกพลขึ้นบกที่นอร์ม็องดี และดำเนินไปจนกระทั่งสามารถปลดปล่อยกรุงปารีสและฝรั่งเศลให้พ้นจากนาซีเยอรมัน ต่อมาสามารถเอาชนะเยอรมนีได้ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1945 แม้ว่าพลทหารเยอรมันส่วนมากจะเสียชีวิตในแนวรบด้านตะวันออก แต่ความสูญเสียที่เกิดขึ้นในแนวรบด้านตะวันตกแทบจะไม่สามารถทดแทนกลับคืนมาได้ เนื่องจากทรัพยากรสงครามส่วนมากของเยอรมนีถูกโยกย้ายไปใช้ในแนวรบด้านตะวันตก ซึ่งหมายความได้ว่าในแนวรบด้านตะวันออกมีการเสริมกำลังและทรัพยากรเพื่อยืดระยะเวลาการสู้รบออกไปได้ ในขณะที่แนวรบด้านตะวันตกมีการส่งกำลังเสริมและทรัพยากรทดแทนเพื่อหยุดยั่งการรุกคืบของฝ่ายสัมพันธมิตรได้เพียงน้อยนิด การยกพลขึ้นบกที่นอร์ม็องดีนับได้ว่าส่งสัญญาณเชิงจิตวิทยาในแง่ลบให้แก่กองทัพและผู้นำของนาซีเยอรมนีอย่างมาก เนื่องจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เกรงกลัวสถานการณ์ที่เยอรมนีถูกขนาบด้วยการสู้รบจากแนวรบทั้งสองด้าน ซึ่งเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญที่ทำให้เยอรมนีพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง) · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมดำ

ันนิบาติการต่อสู้แห่งการปฏิวัติชาติสังคงนิยม (German: Kampfgemeinschaft Revolutionärer Nationalsozialisten, KGRNS), หรือเป็นที่รู้จักกันคือ แนวร่วมดำ (German: Schwarze Front),เป็นกลุ่มทางการเมืองที่ถูกจัดตั้งโดยออทโท สตรัสเซอร์ หลังจากที่เขาถูกขับไล่ออกจากพรรคนาซี (NSDAP) ในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแนวร่วมดำ · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมแรงงานเยอรมัน

แนวร่วมแรงงานเยอรมัน(Deutsche Arbeitsfront, DAF) เป็นองค์กรสหภาพแรงงานแห่งชาติสังคมนิยมซึ่งถูกแทนที่สหภาพแรงงานอิสระต่างๆของสาธารณรัฐไวมาร์ภายหลังจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้ขึ้นสู่อำน.หลังจากพรรคนาซีในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแนวร่วมแรงงานเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

แนวซีกฟรีด

แผนที่แนวซีกฟรีด แนวซีกฟรีด (Siegfriedstellung) เดิมเป็นแนวค่ายทหารถาวรป้องกันและการป้องกันรถถังที่เยอรมนีสร้างขึ้น เป็นส่วนหนึ่งของแนวฮินเดนบูร์ก..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแนวซีกฟรีด · ดูเพิ่มเติม »

โฟล์กสวาเกน

ฟล์กสวาเกน (Volkswagen, ย่อว่า VW) เป็นรถยนต์ที่ถือกำเนิดในเยอรมันในสมัยของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ซึ่งถูกตั้งโจทย์ว่าต้องเป็นรถที่มีสมรรถนะดีพอ ประโยชน์ใช้สอยมากพอ และราคาถูกเท่ารถจักรยานยนต์ (ในสมัยนั้น) อีกด้วย โดยผู้ออกแบบรถ คือ แฟร์ดีนันด์ พอร์เชอ ผู้ให้กำเนิดรถยนต์ยี่ห้อปอร์เช่ (Porsche) โฟล์กสวาเกนหมายถึง "รถของประชาชน" ในภาษาเยอรมัน คำขวัญปัจจุบันคือ Das Auto (ภาษาเยอรมัน แปลว่า รถยนต์) โฟล์คสวาเกน เป็นผู้ผลิตรถยนต์เยอรมันและเป็นยี่ห้อที่ยิ่งใหญ่ที่สุดที่ขายในกลุ่มโฟล์คสวาเกนซึ่งปัจจุบันเป็นเจ้าของหลายยี่ห้อด้วยกันอาทิ ออดี้,เบนท์ลีย์, บูกัตติ, ลัมโบร์กีนี, ซีท ถือหุ้น 49.9% ของปอร์เช่, สโกด้า และรถบรรทุกสแกนเนีย รถโฟร์คสวาเกน รู้จักกันส่วนมากว่า "รถเต่า" (ชื่อรุ่นของมันคือ Beetle อ่านว่า บีเทิล) ซึ่งมีมาตั้งแต่รุ่นแรกสุด ออกแบบมาคล้ายกับ เต่า และยังคงความเป็นเอกลักษณ์ไว้จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโฟล์กสวาเกน · ดูเพิ่มเติม »

โฟล์กสวาเกน บีเทิล

ฟล์กสวาเกน บีเทิล (Volkswagen Beetle) เป็นรถรุ่นหนึ่ง ของค่ายรถยนต์โฟล์กสวาเกน ผลิตระหว่าง พ.ศ. 2481 - พ.ศ. 2546 รวมระยะเวลาการผลิต 65 ปี ยอดจำหน่ายรวมทั้งสิ้น 21,529,464 คัน ซึ่งถือเป็นรุ่นที่ออกแบบครั้งเดียว แล้วสามารถทำยอดขายได้สูงสุด และผลิตเป็นระยะเวลานานที่สุดในประวัติศาสตร์ยานยนต์ (รถรุ่นอื่นๆ จะต้องมีการออกแบบใหม่และปรับโฉมนับสิบรุ่นในชื่อเดียวกัน เพื่อให้ทันสมัยและรักษายอดจำหน่าย จึงจะสามารถทำยอดขายได้ในหลักล้าน) บีเทิล เป็นรถขับเคลื่อนล้อหลัง และเครื่องยนต์อยู่ด้านหลังของตัวรถ อันที่จริงแล้ว ชื่อเดิมของมันไม่ใช่บีเทิล เดิมทีโฟล์กสวาเกน จะเรียกรถรุ่นนี้ว่า Volkswagen แล้วตามด้วยขนาดของลูกสูบโดยประมาณของรถคันนั้น ซึ่งมี 5 ขนาด ทำให้มีชื่อเรียกได้ 5 แบบ คือ Volkswagen 1600, Volkswagen 1500, Volkswagen 1300, Volkswagen 1200 และ Volkswagen 1100 แต่ต่อมา ผู้คนในประเทศเยอรมนี (โฟล์กสวาเกน เป็นบริษัทเยอรมัน) เริ่มเรียกรถรุ่นนี้ว่า "Käfer" ซึ่งเป็นศัพท์ภาษาเยอรมันว่า ด้วง ตามรูปทรงของรถ และในแถบประเทศอื่นๆ ก็เริ่มเรียกกันย่อๆ ว่า Beetle และการเรียกย่อๆ ได้รับความนิยม ด้วยเป็นชื่อที่เรียกง่ายกว่าที่จะเรียกว่า โฟล์กสวาเกน 1100 หรือตัวเลขอื่นๆ ต่อมา ความนิยมที่จะเรียกรถรุ่นนี้ว่า ด้วง ได้แพร่กระจายไปยังประเทศอื่นที่มีรถรุ่นนี้จำหน่าย โดยในแต่ละประเทศ มักจะเรียกรถรุ่นนี้ย่อๆ เป็นคำว่า ด้วง หรือแมลงอื่นๆ ที่ใกล้เคียง ของภาษานั้นๆ รวมทั้งในประเทศไทย ที่เรียกรถรุ่นนี้กันอย่างติดปากมาจนถึงปัจจุบันว่า "รถโฟล์กเต่า" หรือ "รถเต่า" ต่อมา ใน พ.ศ. 2510 โฟล์กสวาเกน จึงได้เริ่มใช้ชื่อ โฟล์กสวาเกน บีเทิล อย่างเป็นทางการ และการผลิตบีเทิลดำเนินต่อไปเป็นรถยะเวลานาน เมื่อรูปทรงเริ่มมองดูล้าสมัย ยอดขายก็เริ่มลดลง และโฟล์กสวาเกนเริ่มหยุดขายบีเทิลในประเทศต่างๆ (ประเทศไทย หยุดขาย พ.ศ. 2521) จนกระทั่ง พ.ศ. 2541 ก็เหลือประเทศสุดท้ายคือ เม็กซิโก เป็นประเทศสุดท้ายที่โฟล์กสวาเกนยังผลิตรุ่นบีเทิลอยู่ จนกระทั่ง โฟล์กสวาเกน ตัดสินใจหยุดการผลิตบีเทิลลงอย่างสมบูรณ์ในวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 ถึงการผลิตจะได้สิ้นสุดลงแล้ว บีเทิลก็ยังได้รับการจัดอันดับในรายชื่อรถยนต์ยอดเยี่ยมแห่งศตวรรษ เป็นอันดับ 4 รองจาก ฟอร์ด โมเดลที, มินิ และ ซีตรอง ดีเอส, James G. Cobb, The New York Times, December 24, 1999.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโฟล์กสวาเกน บีเทิล · ดูเพิ่มเติม »

โฟล์คสชทูร์ม

ฟล์คสชทูร์ม (Volkssturm) เป็นกองทหารอาสาสมัครชาติเยอรมันถูกจัดตั้งขึ้นในช่วงเดือนสุดท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง มันไม่ได้ถูกสร้างขึ้นโดยกองทัพเวรมัค์แต่โดยพรรคนาซีตามคำสั่งของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการดำรงอยู่อย่างเป็นทางการที่ไม่ได้ประกาศจนถึงวันที่ 18 ตุลาคม 1944Burleigh (2001).

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโฟล์คสชทูร์ม · ดูเพิ่มเติม »

โฟล์คสฮัลเลอ

มเดลของ ''โฟล์คสฮัลเลอ'' ภาพจำลองอาคารโฟล์คสฮัลเลอ ซึ่งตั้งอยู่หลังอาคารไรชส์ทาค โฟล์คสฮัลเลอ (Volkshalle) หรือเรียกอีกอย่างว่า โกรสส์ฮัลเลอ (Große Halle) เป็นอาคารศาลาประชาชนแบบโดมขนาดมหึมา ออกแบบโดยอัลแบร์ท ชเปียร์ สถาปนิกของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ฮิตเลอร์มีวิสัยทัศน์ที่จะสร้างอาคารหลังนี้ขึ้นในกรุงเบอร์ลินภายหลังเยอรมันได้รับชัยชนะในสงครามโลกครั้งที่สอง โดยวางให้เป็นศูนย์กลางของนครเยอร์มาเนีย ซึ่งฮิตเลอร์หมายมั่นจะให้เป็นเมืองหลวงของโลก หากสร้างเสร็จ อาคารหลังนี้จะกลายเป็นอาคารโดมที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตัวอาคารมีความกว้างและยาว 315 เมตร มีความสูงจากฐานถึงยอดโดม 290 เมตร ตัวโดมของโฟล์คสฮัลเลอมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 250 เมตร และสูง 74 เมตร.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโฟล์คสฮัลเลอ · ดูเพิ่มเติม »

โพราจมอส

การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวโรมานี หรือ ฮอโลคอสต์ โรมานี—ยังเป็นที่รู้จักกันคือ โพราจมอส (Romani pronunciation), พราราจิมอส (Pharrajimos คือ "ตัดให้ขาด", "ตัดออกเป็นท่อน", "ทำลาย") และซามูดาริเพน (Samudaripen คือ "การสังหารหมู่") เป็นความพยายามโดยนาซีเยอรมนีและประเทศพันธมิตรในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองในการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวโรมานีในแผ่นดินยุโรป ภายใต้อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ กฤษฎีกาเพิ่มเติมเพื่อกฎหมายเนือร์นแบร์กที่ได้ประกาศออกไป เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโพราจมอส · ดูเพิ่มเติม »

โยอาคิม ฟอน ริบเบนทรอพ

อุบิตส์ ฟรีดรีช วิลเฮล์ม โยอาคิม ฟอน ริบเบนทรอพ (Ulrich Friedrich Wilhelm Joachim von Ribbentrop) (30 เมษายน 2436 - 16 ตุลาคม 2489) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมัน เขาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศของนาซีเยอรมนี ซึ่งเขาได้เป็นตัวแทนในการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพกับสหภาพโซเวียต เมื่อสิ้นสงครามเขาถูกตั้งข้อหาให้เป็นอาชญากรสงครามและได้รับโทษประหารชีวิตด้วยการแขวนคอในช่วงการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กในวันที่ 16 ตุลาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโยอาคิม ฟอน ริบเบนทรอพ · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ เกออร์ก แอลเซอร์

ันน์ เกออร์ก แอลเซอร์ (Johann Georg Elser) เป็นกรรมกรชาวเยอรมันที่ได้วางแผนและทำการที่ซับซ้อนในความพยายามลอบสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และผู้นำนาซีระดับชั้นสูงคนอื่นๆ เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโยฮันน์ เกออร์ก แอลเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โยเซฟ เบร็คโทลด์

ซฟ เบร็คโทลด์ (Joseph Brechtold) เป็นสมาชิกพรรคนาซีระดับชั้นอาวุโสช่วงแรกและเป็นผู้ร่วมก่อตั้งกองกำลังกึ่งทหารทั้งสองหน่วยได้แก่ หน่วยชตูร์มับไทลุง(SA) และหน่วยชุทซ์ชทัฟเฟิล(SS).

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโยเซฟ เบร็คโทลด์ · ดูเพิ่มเติม »

โยเซฟ เกิบเบลส์

ล์ โยเซฟ เกิบเบลส์ (Paul Joseph Goebbels) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ โยเซฟ เกิบเบลส์ นักจิตวิทยามวลชน และแกนนำคนสำคัญฝ่ายพลเรือนของพรรคนาซี ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งจักรวรรดิที่สามหลังจากที่อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ฆ่าตัวตาย ได้ชื่อว่าเป็นเสมือนมือซ้ายของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (ขณะที่มือขวาคือ ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์).

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโยเซฟ เกิบเบลส์ · ดูเพิ่มเติม »

โรคุส มิสช์

รคุส มิสช์ (Rochus Misch) เป็นเจ้าหน้าที่ในหน่วยชุทซ์ชทัฟเฟิล มียศเป็นเอ็สเอ็ส-โอเบอร์ชาร์ฟือเรอร์ (เทียบเท่าจ่าสิบตรี) ในหน่วยกองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 1 (LSSAH) เขาได้รับบาดเจ็บสาหัสในระหว่างกาารทัพโปแลนด์ในช่วงเดือนแรกของสงครามโลกครั้งที่สองในยุโรป หลังการฟื้นตัว,ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโรคุส มิสช์ · ดูเพิ่มเติม »

โรแบร์ท ริทเทอร์ ฟอน ไกรม์

รแบร์ท ริทเทอร์ ฟอน ไกรม์ (Robert Ritter von Greim) เป็นจอมพลและนักบินเยอรมันในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง ฮิตเลอร์ได้มอบหมายแต่งตั้งให้ไกรม์เป็นผู้บัญชาการแห่งลุฟท์วัฟเฟอ (กองทัพอากาศ) แทนที่แฮร์มันน์ เกอริง ซึ่งถูกปลดออกจากตำแหน่งโทษฐานทรยศ และเมื่อเยอรมันได้ยอมจำนนต่อสัมพันธมิตร ไกรม์ถูกจับเป็นเชลยโดยกองทัพสหรัฐ เขาได้ฆ่าตัวตายในเรือนจำเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโรแบร์ท ริทเทอร์ ฟอน ไกรม์ · ดูเพิ่มเติม »

โรแบร์ท ลาย

รแบร์ท ลาย (Robert Ley) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันในช่วงยุคนาซี ผู้ซึ่งดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าแห่งแนวร่วมแรงงานเยอรมัน(Deutsche Arbeitsfront, DAF) ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโรแบร์ท ลาย · ดูเพิ่มเติม »

โวล์ฟ เมสซิ่ง

วล์ฟ เมสซิ่ง โวล์ฟ เมสซิ่ง (Wolf Messing) มีชื่อเต็มว่า โวล์ฟ เกรโกเรวิช เมสซิ่ง (Wolf Gregorevich Messing; וּוֹלףֿ מסינג; Wolf Grigorewicz Messing; Во́льф Григо́рьевич (Ге́ршикович) Ме́ссинг Vóľf Gérškovič (Grigór'evič) Méssing) เป็นบุคคลผู้มีพลังจิตที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของโลกในยุคสงครามโลกครั้งที่สอง โวล์ฟ เมสซิ่ง เกิดเมื่อวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 1899 ที่เมืองโกรากาลวาเรีย ซึ่งเป็นเมืองที่อยู่ติดกับพรมแดนโปแลนด์กับรัสเซีย ใกล้กับกรุงวอร์ซอ เมืองหลวงของประเทศโปแลนด์ โดยครอบครัวของเมสซิ่งอยู่ในฐานะยากจนใช้ชีวิตแบบเรียบง่ายและเคร่งศาสนา ในวัยเด็กเมสซิ่งสามารถเรียนรู้และอ่านคำภีร์โบราณของศาสนายิวได้อย่างแตกฉาน จนมีนักบวชคนหนึ่งแถวบ้านได้สนับสนุนให้ไปเรียนต่อทางด้านศาสนาในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง แต่เมสซิ่งไม่มีความสุขและไม่ชอบเลย เมื่ออายุได้ 11 ปี เมสซิ่งได้หันเหชีวิตไปท่องโลกด้วยตัวเองตามลำพังโดยมีเงินติดตัวเพียง 18 เซ็นต์ และได้ใช้พลังจิตสะกดพนักงานตรวจตั๋วรถไฟให้เห็นว่าเศษกระดาษที่เมสซิ่งยื่นให้ไปนั้นเป็นตั๋วรถไฟจริง ๆ ซึ่งพนักงานก็ได้เอากระดาษแผ่นนั้นสอดเข้าไปในเครื่องเจาะรู เจาะรูและยื่นให้เมสซิ่งคืน ซึ่งนับว่าเป็นครั้งแรกของเมสซิ่งที่ได้ใช้พลังจิตสะกดผู้อื่น โวล์ฟ เมสซิ่ง มาใช้ชีวิตอยู่ ณ เมืองเบอร์ลิน โดยทำงานเป็นพนักงานส่งของในเขตของชาวยิว ครั้งหนึ่งได้เกิดเป็นลมหน้ามืดล้มลงไป หลังจากได้นำส่งเข้าโรงพยาบาล แพทย์ได้ทำการตรวจหัวใจของเมซิ่งแล้วพบว่า หยุดเต้น ไม่หายใจ จึงถูกนำร่างเข้าสู่ห้องเก็บศพและเกือบถูกส่งกลบแล้ว แต่ปรากฏว่าได้มีนักศึกษาแพทย์คนหนึ่งได้ทำการตรวจร่างกายของเมสซิ่งอย่างละเอียดอีกครั้งหนึ่ง พบว่า เมสซิ่งยังไม่ตาย เพียงแต่หัวใจและชีพจรเต้นอ่อนมากจนแทบจะวัดไม่ได้เลย ซึ่งต่อมาได้มีนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาด้านพลังจิตและเรื่องลึกลับนี้ เชื่อว่า เหตุการณ์นี้เป็นการสะกดจิตตัวเอง โวล์ฟ เมสซิ่ง ได้พบปะกับบุคคลที่มีชื่อเสียงหลายคนระดับโลก เช่น อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์, ซิกมันด์ ฟรอยด์ และมหาตมะ คานธี โดยได้แสดงพลังจิตของตนเองให้ได้ดู ในการทดสอบกับไอสไตน์และฟรอยด์ เมสซิ่งได้รับคำสั่งจากจิตของฟรอยด์ให้ดึงหนวดของไอน์สไตน์มา 3 เส้น ซึ่งก็ปรากฏว่าทำได้ตรงตามคำสั่ง และกับมหาตมะ คานธี สามารถหยิบขลุ่ยขึ้นมาจากลิ้นชักบนโต๊ะและยื่นให้คานธีตามคำสั่งของคานธีจริง ๆ และอีกครั้งหนึ่งสามารถหาเพชรประจำตระกูลมูลค่าสูงถึง 8 แสนเหรียญของคหบดีชาวโปแลนด์ที่หายไปในงานเลี้ยงครั้งหนึ่งได้ โดยที่ได้ระดมคนหาจนทั่วแล้วก็ไม่พบ แต่เมสซิ่งรู้ว่าเพชรซ่อนอยู่ในตุ๊กตาหมีในห้องของคนงานในบ้านคณบดีนั่นเอง เนื่องจากลูกชายตัวเล็ก ๆ ของคนรับใช้ในบ้านเป็นผู้นำไปซ่อนเอง ความสามารถของเมสซิ่งยังสามารถทำนายเหตุการณ์ล่วงหน้าได้อีกด้วย หลายต่อหลายครั้งที่ออกแสดง เมสซิ่งได้ทำนายเหตุการณ์สงครามไว้ว่า ดินแดนแถบคาบสมุทรบอลติก, ไบโลรัสเซีย, ยูเครน จะตกอยู่ภายใต้การยึดครองของนาซี หรือเป็นผู้ทำนายถึงจุดจบของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ จนถูกทางนาซีไล่ล่าตัวอย่างหนัก ซึ่งทุกอย่างก็ปรากฏเป็นจริงดังคำทำนายทุกอย่าง โวล์ฟ เมสซิ่ง เสียชีวิตเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1974 ที่กรุงมอสโคว์ ประเทศรัสเซี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโวล์ฟ เมสซิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน หรือ ซัมเมอร์โอลิมปิกเกมส์ (Summer Olympic Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างประเทศ ซึ่งตามปกติจะมีการจัดแข่งขันทุกสี่ปี โดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee หรือ IOC) ในแต่ละครั้งจะมีการมอบเหรียญรางวัล ผู้ชนะเลิศได้เหรียญทอง อันดับสองได้เหรียญเงิน และอันดับสามได้เหรียญทองแดง การมอบเหรียญนี้เป็นประเพณีตั้งแต่ปี 1904 ต่อมามีการจัดแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว อันสืบเนื่องมาจากความสำเร็จของโอลิมปิกฤดูร้อน การแข่งขันนั้นเริ่มต้นครั้งแรกด้วยกีฬาเพียง 42 ประเภท และนักกีฬาชายเพียง 250 คน จนมีจำนวนเพิ่มขึ้นถึงมากกว่า 10,000 คน ของนักกีฬาชายและหญิงจาก 202 ประเทศทั่วโลก คณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่ปักกิ่ง คาดการณ์ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน เข้าชิงชัยใน 302 รายการ ในขณะที่กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่คณะกรรมการจัดการแข่งขันได้ประมาณการไว้ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน แต่ก็เกิดการคลาดเคลื่อนขึ้นเพราะมีผู้เข้าแข่งขันกว่า 11,099 คน ใน 301 รายการแข่งขัน นักกีฬาถูกส่งเข้าแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกของประเทศต่าง ๆ (NOC-National Olympic Committee) เพื่อแสดงจำนวนพลเมืองในบังคับของประเทศตน เพลงชาติและธงชาติประกอบพิธีมอบเหรียญ และตารางแสดงจำนวนเหรียญที่ชนะ โดยถูกใช้อย่างกว้างขวางในบางประเทศ โดยปกติแล้วเฉพาะประเทศที่ได้รับการรับรองเท่านั้นที่จะมีผู้แทนได้ แต่มีแค่เพียงประเทศมหาอำนาจบางประเทศเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้มีส่วนร่วม โดยมีเพียง 4 ประเทศที่ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อนทุกครั้ง ได้แก่ ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร กรีซ และสวิตเซอร์แลนด์ และมีเพียงประเทศเดียวเท่านั้นที่ชนะและได้รับเหรียญทองอย่างน้อย 1 เหรียญจากการแข่งขันทุกครั้ง คือ สหราชอาณาจักร โดยได้รับตั้งแต่ 1 เหรียญทอง ในปี 1904 1952 และ 1996 จนถึงได้รับ 56 เหรียญทอง ในปี 1908.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1936

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10 ประจำปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโอลิมปิกฤดูร้อน 1936 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1936

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 4 ประจำปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโอลิมปิกฤดูหนาว 1936 · ดูเพิ่มเติม »

โจ ไซมอน

ซมอนที่งาน 2006 นิวยอร์กคอมิกคอนกับชายในชุดกัปตันอเมริกา โจเซฟ เฮนรี่ "โจ" ไซมอน (Joseph Henry "Joe" Simon; 11 ตุลาคม ค.ศ. 1913 — 14 ธันวาคม ค.ศ. 2011) เป็นนักเขียนหนังสือการ์ตูน, ศิลปิน, บรรณาธิการ และ ผู้จัดพิมพ์ชาวอเมริกัน เขาเป็นผู้ร่วมออกแบบตัวละครสำคัญเป็นจำนวนมากในยุค 1930 - 1940 ซึ่งเป็นยุคทองของหนังสือการ์ตูน และทำหน้าที่เป็นบรรณาธิการครั้งแรกให้กับไทม์ลี่คอมมิกส์ก่อนที่จะวิวัฒนาการมาเป็นมาร์เวลคอมิกส์ในเวลาต่อมา ด้วยกันกับ แจ็ค เคอร์บี้ ซึ่งเป็นเพื่อนร่วมงานของเขา ที่เขาได้ร่วมสร้างกัปตันอเมริกาหนังสือพิมพ์มติชนรายวัน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโจ ไซมอน · ดูเพิ่มเติม »

โจวันนาแห่งอิตาลี สมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรีย

้าหญิงโจวันนาแห่งอิตาลี สมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรีย (ภาษาบัลแกเรีย: Йоанна Савойска; ภาษาอิตาลี: Giovanna Elisabetta Antonia Romana Maria) (13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2450 - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรีย (ซารินา) พระองค์สุดท้าย โดยเป็นพระมเหสีในพระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย เป็นพระราชวงศ์อิตาลี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโจวันนาแห่งอิตาลี สมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ สตาลิน

ซฟ สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин Iosif Vissarionovich Stalin อิโอซิฟ วิซซาริโอโนวิช สตาลิน; อังกฤษ: Joseph Stalin) (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 - 5 มีนาคม ค.ศ. 1953) เป็นผู้นำของสหภาพโซเวียต ตั้งแต่กลางทศวรรษที่ 1920 ถึง..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโจเซฟ สตาลิน · ดูเพิ่มเติม »

โคโลเนลบูกีมาร์ช

ลเนลบูกีมาร์ช (Colonel Bogey March) เป็นเพลงมาร์ชที่แต่งโดย เรือเอกเฟรเดริก โจเซฟ ริกเกตส์ ทหารเรือชาวอังกฤษในปี ค.ศ. 1914 ซึ่งต่อมาได้เป็นผู้อำนวยการวงดุริยางค์กองทัพเรืออังกฤษ ที่เมืองพลิมัท ริกเกตส์เป็นผู้ประพันธ์เพลงมาร์ชไว้เป็นจำนวนมาก ด้วยนามแฝงว่า "เคนเนต.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และโคโลเนลบูกีมาร์ช · ดูเพิ่มเติม »

ไมน์คัมพฟ์

หน้าปกของ ''ไมน์คัมพฟ์'' ไมน์คัมพฟ์ (Mein Kampf) หรือ การต่อสู้ของข้าพเจ้า เป็นหนังสือที่เขียนโดย อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ นักการเมืองชาวออสเตรียผู้นิยมลัทธินาซี เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับอุดมการณ์ทางการเมืองของฮิตเลอร์ โดยถูกตีพิมพ์ครั้งแรกใน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไมน์คัมพฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมเซิน

มเซิน (Meißen; อังกฤษ: Meissen, Sorbian: Mišno; Latin: Misena, Misnia, Misnensium) เป็นเมืองหนึ่ง ใกล้นครเดรสเดิน ในรัฐซัคเซิน ประเทศเยอรมนี เมืองไมเซิน ตั้งอยู่ห่างออกไป 25 กิโลเมตร ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองเดรสเดนซึ่งเมืองหลวงของสหพันธรัฐแซกโซนี มีประชากรประมาณ 30,000 คน เมืองไมเซนในปัจจุบันเป็นเมืองขนาดเล็ก แต่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นที่ตั้งของโรงงานผลิตภัณฑ์เครื่องเคลือบดินเผาไมเซิน ปราสาทอัลเบรชท์สบูร์ก วิหารโกธิคไมเซน และโบสถ์เฟราเอนไมเซน ปราสาท และวิหารไมเซิน ปราสาทไมเซิน ยามย่ำค่ำ มหาวิหารไมเซิน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไมเซิน · ดูเพิ่มเติม »

ไรชส์ทาค (รัฐสภาเยอรมัน)

รชส์ทาคในปี ค.ศ. 1889 ไรชส์ทาค (Reichstag) คือรัฐสภาของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และต่อมาของสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือและของเยอรมนี จนกระทั่งถึง..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไรชส์ทาค (รัฐสภาเยอรมัน) · ดูเพิ่มเติม »

ไรชส์ทาค (สาธารณรัฐไวมาร์)

รชส์ทาค (Reichstag) ของสาธารณรัฐไวมาร์ ดำรงอยู่ระหว่าง..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไรชส์ทาค (สาธารณรัฐไวมาร์) · ดูเพิ่มเติม »

ไรชส์ทาค (นาซีเยอรมนี)

ประกาศสงครามกับสหรัฐ ที่ไรชส์ทาค ในวันที่ 11 ธันวาคม 1941 ไรชส์ทาค (Reichstag) ในสมัยไรช์ที่สามมีชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรชส์ทาคมหาเยอรมัน (Großdeutscher Reichstag) เป็นฝ่ายนิติบัญญัติเยอรมันซึ่งเริ่มขึ้นตั้งแต่ที่ได้ตรากฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาคขึ้นใน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไรชส์ทาค (นาซีเยอรมนี) · ดูเพิ่มเติม »

ไรชส์คอมมิสซาเรียท

ไรช์มหาเยอรมัน (สีแดง) และพันธมิตรและดินแดนที่ถูกยึดครอง (สีส้ม) ในปี ค.ศ. 1942 ไรชส์คอมมิสซาเรียท (Reich Commissariat) เป็นชื่อเยอรมันสำหรับประเภทของเขตการปกครองโดยเจ้าหน้าที่รัฐบาลซึ่งเป็นที่รู้จักกันคือ ไรชส์คอมมิสซาร์ (Reich Commissioner) แม้ว่าสำนักงานดังกล่าวจะมีอยู่หลายแห่งในช่วงตลอดระยะเวลาของจักรวรรดิเยอรมันและสมัยนาซีในจำนวนของอาณาเขตที่แตกต่างกัน (อย่างเช่น โครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ, การวางแผนเชิงพื้นที่, การล้างชาติพันธุ์ เป็นต้น) มันเป็นสิ่งที่ปกติที่ถูกใช้เพื่ออ้างถึงการจัดตั้งเขตการปกครองแบบกึ่งอาณานิคมซึ่งก่อตั้งขึ้นโดยนาซีเยอรมนีในหลายประเทศที่ถูกยึดครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ในขณะที่ตั้งอยู่ในภายนอกเยอรมันไรช์อย่างเป็นทางการในแง่ของกฎหมาย หน่วยงานเหล่านี้ถูกควบคุมโดยตรงจากเจ้าหน้าที่พลเรือนที่มีอำนาจสูงสุด (ไรชส์คอมมิสซาร์) ผู้มีหน้าที่ในการปกครองดินแดนที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ว่าการรัฐเยอรมันทั้งในนามของและฐานะตัวแทนโดยตรงของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ การริเริ่มการบริหารปกครองดินแดนเหล่านี้มีวัตถุประสงค์หลายประการ การก่อตั้งขึ้นมานั้นหรือวางแผนที่จะก่อตั้งขึ้นในทางตะวันตกและตอนเหนือของยุโรปโดยทั่วไปในฐานะที่เป็นขั้นตอนการเปลี่ยนผ่านสำหรับการรวมตัวกันในอนาคตของชนชาติเยอรมันจากด้านนอกหลายประเทศต่างๆในช่วงก่อนสงครามเยอรมนีเข้าสู่การขยายตัวรัฐนาซี ในสิ่งที่คล้ายคลึงของทางด้านตะวันออกของพวกเขาได้มีหน้าที่เป็นอาณานิคมหลักและวัตถุประสงค์ของจักรวรรดินิยมเป็นแหล่งที่มาของอนาคต เลเบนสเราม์สำหรับการตั้งถิ่นฐานของชาวเยอรมันและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ด้วยความแตกต่างอีกอย่างหนึ่งก็คือระดับของการบริหารปกครองที่ปรับปรุงใหม่ที่ได้ดำเนินการในสองประเภท เช่นเดียวกับในดินแดนอื่นๆจำนวนมากที่ถูกยึดครองโดยเยอรมัน ผู้บริหารท้องถิ่นและข้าราชการได้ถูกกดดันเพื่อดำเนินการตามปกติแบบวันต่อวัน (โดยเฉพาะในระดับกลางและล่าง) แม้ว่าจะอยู่ภายใต่การกำกับดูแลของเยอรมันก็ตาม ในช่วงสงคราม ไรชส์คอมมิสซาเรียทในยุโรปตะวันตกและตอนเหนือยังคงรักษาโครงสร้างการบริหารที่มีอยู่ก่อนหน้านี้ อย่างไรก็ตาม ในขณะที่ด้านตะวันออกก็ได้มีโครงสร้างขึ้นมาใหม่อย่างเสร็จสมบูรณ์ที่ได้รับการนำเสนอ ทั้งหมดของหน่วยงานเหล่านี้ต่างก็มีวัตถุประสงค์เดียวกันสำหรับกรณีการรวมตัวเข้าสู่ไรช์มหาเยอรมัน (Großdeutsches Reich โกรซส์ดอยท์เชิสไรช์) ครอบคลุมพื้นที่ทั่วไปของยุโรปซึ่งทอดยาวจากทะเลเหนือไปยังเทือกเขายูรัล, ซึ่งเยอรมันจะสร้างเป็นพื้นฐาน หมวดหมู่:นาซีเยอรมนี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไรชส์คอมมิสซาเรียท · ดูเพิ่มเติม »

ไรน์ฮาร์ด ฮายดริช

รน์ฮาร์ด ทรีสทัน ออยเกิน ฮายดริช (Reinhard Tristan Eugen Heydrich) เป็นเจ้าหน้าที่ระดับสูงของนาซีเยอรมันอย่างเป็นทางการในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและผู้ออกแบบหลักในการล้างชาติโดยนาซี.เขาเป็นเจ้าหน้าที่แห่งเอสเอส (ชุทซ์ชทัฟเฟิล) ระดับโอแบร์กรุพเพนฟือแรร์ (พลโท) และเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจสามัญ (หัวหน้ากลุ่มระดับอาวุโสและอธิบดีกรมตำรวจ) เช่นเดียวกันกับหัวหน้าของสำนักความมั่นคงหลักของรัฐไรซ์ (Reich Main Security Office) (รวมทั้งเกสตาโพ, ครีมิไนโพลีไซ (Kripo), ซีแชร์ไฮท์สดีนสท์ (SD) และซีแชร์ไฮท์สโพลีไซ(sipo)) นอกจากนั้นเขายังเป็น Stellvertretender Reichsprotektor (รองผู้รักษาการป้องกันแห่งไรซ์-ผู้พิทักษ์) ของโบฮีเมียและโมราเวียในดินแดนสาธารณรัฐเช็ก.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไรน์ฮาร์ด ฮายดริช · ดูเพิ่มเติม »

ไวรัส Adolph

วรัส Adolph หรือ Adolf Hitler เป็นไวรัส ที่ใช้ชื่อเลียนแบบบุคคลในประวัติศาสตร์ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ โดยมีความยาวของโค็ดประมาณ 475 ไบต.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไวรัส Adolph · ดูเพิ่มเติม »

ไอน์ซัทซกรุพเพน

การสังหารชาวยิวที่ Ivanhorod,ยูเครน,ปี 1942 ภาพที่เห็นนั้นคือผู้หญิงคนหนึ่งได้ทำการปกป้องเด็กด้วยร่างกาย ก่อนที่จะถูกขับไล่ยิงด้วยปืนไรเฟิลในระยะประชิด ไอน์ซัทซกรุพเพน ("กำลังรบเฉพาะกิจ" "deployment groups") เป็นหน่วยทีมสังหารของกองกำลังกึ่งทหารหน่วยเอสเอสของนาซีเยอรมนีที่มีส่วนรับผิดชอบต่อการสังหารหมู่,โดยส่วนใหญ่เป็นการยิงเป้า,ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง (1939–45).ไอน์ซัทซกรุพเพนมีส่วนเกี่ยวข้องกับการสังหารหมู่เหล่าปัญญาชน,รวมถึงสมาชิกของพระนักบว.และมีบทบาทสำคัญในปฏิบัติการขั้นตอนสุดท้ายที่ถูกเรียกว่า การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย (Final solution to the Jewish question,Die Endlösung der Judenfrage) ในดินแดนที่ถูกยึดครองโดยนาซีเยอรมนี,เกือบทั้งหมดทุกคนที่ถูกสังหารคือพลเรือน,เริ่มต้นจากกลุ่มปัญญาชนและเหล่านักบวช,ก่อนจะก้าวไปยังนักการเมืองโซเวียตคอมมิสซาร์,ชาวยิวและชาวยิปซีเช่นเดียวกันกับความเป็นจริงหรือถูกข้อกล่าวหาว่า ได้เข้าร่วมกับกลุ่มพลพรรค (partisans) ตลอดทั่วยุโรปตะวันออก ภายใต้การนำของไรซ์ฟือเรอร์-เอสเอสไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์และการกำกับดูแลของไรน์ฮาร์ด ฮายดริช ไอน์ซัทซกรุพเพนได้ปฏิบัติการในดินแดนที่ถูกยึดครองโดยกองทัพเยอรมันภายหลังจากการบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไอน์ซัทซกรุพเพน · ดูเพิ่มเติม »

ไฮนซ์ บรันดท์

นายพลตรี ไฮนซ์ บรันดท์ (Heinz Brandt (Offizier); 11 มีนาคม ค.ศ. 1907 – 21 กรกฏาคม ค.ศ. 1944) เป็นเจ้าหน้าที่นายทหารในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ได้ทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยนายพลอดอล์ฟ Heusinger,หัวหน้าของหน่วยปฏิบัติการของนายพล เขาอาจจะได้รับการกล่าวว่า เขาได้ช่วยชีวิตอดอล์ฟ ฮิตเลอร์อย่างไม่ได้ตั้งใจ,โดยได้ใช้เท้าย้ายกระเป๋าที่ใส่ระเบิดที่ถูกวางเอาไว้โดยเคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์กให้ไปอยู่หลังขาโต๊ะประชุมในเหตุการณ์แผนลับ 20 กรกฎาคม ทำให้ฮิตเลอร์นั้นรอดชีวิตจากระเบิด แต่ตัวเขากลับเสียชีวิตลงจากแรงระเบิดพร้อมกับเสียขาไป หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมัน หมวดหมู่:ผู้บัญชาการทหารชาวเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่สอง‎.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไฮนซ์ บรันดท์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮนซ์ ฮิตเลอร์

ไฮน์ริช ฮิตเลอร์ (Heinrich Hitler; 14 มีนาคม 1920 – 21 กุมภาพันธ์ 1942) หรือ ไฮนซ์ ฮิตเลอร์ (Heinz Hitler) เป็นบุตรชายของอาลัวส์ ฮิตเลอร์ จูเนียร์และภรรยาคนที่สองของเขา Hedwig Heidemann และเป็นหลายชายของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองได้เริ่มขึ้น เขาได้เข้าร่วมกองทัพเวร์มัคท์และทำหน้าที่การรบในแนวรบด้านตะวันออกจนเขาถูกจับและเสียชีวิตในคุกเมื่อปี 1942 ไฮนซ์ได้เข้าโรงเรียนการทหารของชนชั้นสูงที่สถาบันการศึกษาเพื่อการเมืองแห่งชาติ(นาโปลา) ใน Ballenstedt/Saxony-Anhalt ด้วยความต้องการที่จะเป็นเจ้าหน้าที่ ไฮนซ์ได้เข้าร่วมกองทัพเวร์มัคท์โดยเป็นนายสิบวิทยุสื่อสารในกรมทหารปืนใหญ่ที่ 23 พอสดาเมอร์ในปี 1941 และเขาได้มีส่วนร่วมในการรุกรานสหภาพโซเวียตในปฏิบัติการบาร์บารอสซา เมื่อวันที่ 10 มกราคม 1942 ต่อมาเขาได้รับคำสั่งในการเก็บกู้อุปกรณ์วิทยุสื่อสารจากจุดที่ตรวจการณ์ของกองทัพ เขาได้ถูกจับโดยกองกำลังทหารของโซเวียตและถูกทรมานอย่างหนักจนเสียชีวิตที่ค่ายเรือนจำ บูไทร์คา (Butyrka)ในกรุงมอสโก ด้วยวัยเพียงอายุ 21 ปี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2463 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2485 หมวดหมู่:ครอบครัวฮิตเลอร์ หมวดหมู่:ทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมัน หมวดหมู่:เชลยศึกสงครามโลกครั้งที่สองชาวเยอรมันที่ถูกจับโดยสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไฮนซ์ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮนซ์ แลงก์

นซ์ แลงก์ (Heinz Linge; 23 มีนาคม 1913 — 9 มีนาคม 1980) เป็นพันโทในหน่วยเอ็สเอ็ส (ชุทซ์ชทัฟเฟิล) ซึ่งทำหน้าที่เป็นพนักงานคนขับรถสำหรับฟือเรอร์ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ แลงก์เป็นหนึ่งในบุคคลที่อยู่ในฟือเรอร์บุงเคอร์ เมื่อวันที่ 30 เมษายน 1945 ในช่วงที่ฮิตเลอร์กระทำอัตวินิบาตกรรม.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไฮนซ์ แลงก์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์

น์ริช ลุทโพลด์ ฮิมม์เลอร์ (Heinrich Luitpold Himmler) เป็นหนึ่งในผู้นำพรรคนาซีในเยอรมนี และเป็น ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส ของหน่วย ชุทซ์ชทัฟเฟิล (เอ็สเอ็ส) รับผิดชอบด้านการคุมกำลังหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สทั้งหมดในไรช์ เขาเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในไรช์ และเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงในการทำฮอโลคอสต์ชาวยิวSource: Der Spiegel, Issue dated 3 November 2008: Hitlers Vollstrecker – Aus dem Leben eines Massenmörders ฮิมม์เลอร์เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮเดิลแบร์ค

ลแบร์ค (Heidelberg) เป็นเมืองในรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค ประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่บนแม่น้ำเน็คคาร์ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ เมืองไฮเดิลแบร์คตั้งอยู่ทางทิศใต้ของนครแฟรงก์เฟิร์ตไปราว 78 กิโลเมตร ไฮเดิลแบร์คเป็นเมืองใหญ่อันดับห้าในรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค มหาวิทยาลัยไฮเดิลแบร์คซึ่งสถาปนาขึ้นในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไฮเดิลแบร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ไทม์

ปกฉบับแรกของนิตยสาร Time ไทม์ (Time หรือตามเครื่องหมายการค้าคือ TIME) เป็นนิตยสารข่าวรายสัปดาห์ของสหรัฐอเมริกา เริ่มพิมพ์ฉบับแรก โดยเป็นนิตยสารข่าวรายสัปดาห์เล่มแรกของประเทศ โดยในปัจจุบันไทม์มีจัดพิมพ์หลายแห่งทั่วโลก โดยในยุโรปใช้ชื่อว่า "ไทม์ยุโรป" (หรือที่ในอดีตเรียกว่า ไทม์แอตแลนติก) มีสำนักงานอยู่ที่ลอนดอน และออกจำหน่ายในยุโรป ตะวันออกกลาง แอฟริกา รวมถึงละตินอเมริกา ส่วนในเอเชีย ใช้ชื่อว่า "ไทม์เอเชีย" มีสำนักงานที่ฮ่องกง ขณะที่ "ไทม์แคนาดา" เป็นฉบับสัญชาติแคนาดาซึ่งจัดจำหน่ายในประเทศแคนาดา และ "ไทม์เซาท์แปซิฟิก" ซึ่งจัดจำหน่ายครอบคลุมออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และหมู่เกาะแปซิฟิก มีสำนักงานอยู่ที่ซิดนีย์ ในปัจจุบัน นิตยสารไทม์จัดการโดยบริษัทไทม์วอร์เนอร์ สำนักงานใหญ่อยู่ที่นิวยอร์ก และมีนายริชาร์ด สเตนเจล เป็นบรรณาธิการบริหาร.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

ไนอาลาโธเทป

นอาลาโธเทป ไนอาลาโธเทป (Nyarlathotep) หรือไนอาลัทโฮเทป หรือเนียลาโธเทป เป็นหนึ่งในสิ่งที่เรียกว่า เอาเตอร์ก็อด ในงานประพันธ์ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ ไนอาลาโธเทปมีฉายาว่า ความวุ่นวายที่คืบคลาน (Crawling Chaos) ปรากฏตัวในเรื่องสั้นชื่อ ไนอาลาโธเทป (พ.ศ. 2463) และนับเป็นเทพที่มีบทบาทมากที่สุดตัวหนึ่งในงานประพันธ์ของเลิฟคราฟท์ ไนอาลาโธเทปมีร่างอวตารอยู่มากมายและมีรูปร่างที่แตกต่างกันนับไม่ถ้วน บางครั้งไนอาลาโธเทปจะปรากฏตัวบนโลกในร่างมนุษย์ ซึ่งมักเป็นชายร่างสูง มีนิสัยขี้เล่น และแต่งกายด้วยชุดสีดำล้วน แต่ส่วนใหญ่จะเป็นสัตว์ประหลาดซึ่งมีรูปร่างน่าสะพรึงกลัว ในบทกวี Nyarlathotep และนิยาย เดอะดรีมเควสต์ออฟอันโนนคาดัธ (พ.ศ. 2469) ไนอาลาโธเทปปรากฏกายเป็นชายที่มีลักษณะคล้ายฟาโรห์ของอียิปต์โบราณ ซึ่งมีเหล่าสาวกติดตามเป็นจำนวนมาก ในเรื่องสั้น The Dreams in the Witch House (พ.ศ. 2476) ไนอาลาโธเทปปรากฏตัวในร่างของ บุรุษดำ ซึ่งเป็นปิศาจผิวดำในลัทธิแม่มดของนิวอิงแลนด์ และใน The Haunter of the Dark (พ.ศ. 2476) อสุรกายซึ่งเป็นเงามืดที่มีหนวดระยาง ปีกค้างคาว และดวงตาที่ลุกเป็นไฟสามดวง (three-lobed burning eye) ซึ่งอยู่ในวิหารแห่งลัทธิสตารีวิสดอมก็เป็นหนึ่งในร่างอวตารของไนอาลาโธเทป นักประพันธ์ในกลุ่มตำนานคธูลูยังได้เขียนถึงร่างอวตารของไนอาลาโธเทปอีกมากมายในภายหลัง เช่น.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไนอาลาโธเทป · ดูเพิ่มเติม »

เบลืยติกร์ สงครามรถถังประจัญบาน

ลืยติกร์ (Белый тигр) หรือชื่อในภาษาไทยคือ สงครามรถถังประจัญบาน เป็นภาพยนตร์แนวแอคชัน และ สงครามของรัสเซียกำกับโดย Karen Shakhnazarov นอกจากนี้ เบลืยติกร์ ยังได้รับการคัดเลือกในฐานะภาพยนตร์ของประเทศรัสเซียให้เข้าชิงรางวัลสาขาภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม (Best Foreign Language Film) ในงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 85 (85th Academy Awards) แต่ไม่ผ่านการคัดเลือกจากสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้โครงเรื่องจากนวนิยายของ Ilya Boyashov เรื่อง Tankist, ili "Belyy tigr" (พลขับรถถังของ "รถถังไทเกอร์").

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเบลืยติกร์ สงครามรถถังประจัญบาน · ดูเพิ่มเติม »

เบนิโต มุสโสลินี

นีโต อามิลกาเร อานเดรอา มุสโสลีนี (Benito Amilcare Andrea Mussolini) เรียกชื่อโดยทั่วไปว่า "อิลดูเช" (Il Duce) แปลว่า "ท่านผู้นำ" เป็นจอมเผด็จการและนายกรัฐมนตรีของประเทศอิตาลี (พ.ศ. 2465 – พ.ศ. 2486) เกิดเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2426 ในครอบครัวที่ยากจนที่เมืองโดวีอาดีเปรดัปปีโอ (Dovia di Predappio) ในจังหวัดฟอร์ลิ แคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา แต่ด้วยเวลาไม่นาน มุสโสลีนีได้กลายเป็นนักสังคมนิยมยุวชนที่หลักแหลมและมีอันตราย แต่ต่อมาต้องลาออกจากพรรคสังคมนิยมอิตาลีเนื่องจากสนับสนุนการเข้าแทรกแซงสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2462 มุสโสลีนีได้เข้าร่วมการก่อตั้งพรรคสันนิบาตการต่อสู้แห่งอิตาลี (Fasci Italiani di Combattimento) หรือพรรคฟาสซิสต์เพื่อเตรียมเป็นกองกำลังปฏิวัติ ในปี พ.ศ. 2465 ได้เป็นนายกรัฐมนตรีซึ่งฉลองชัยชนะด้วย "การสวนสนามแห่งโรม" (เดือนตุลาคม) ล่วงมาถึงปี พ.ศ. 2468 เขาได้สถาปนาตนเองเป็นเผด็จการเต็มรูปแบบ บังคับให้ยกเลิกระบบรัฐสภาทดแทนด้วย "รัฐบรรษัท" (Corporate State) และวางระบบรวบอำนาจอย่างเป็นทางการ ได้จัดตั้งนครรัฐวาติกัน (พ.ศ. 2472) บุกยึดอะบิสซิเนีย (ตั้งแต่ พ.ศ. 2478-พ.ศ. 2479 ปัจจุบันคือเอธิโอเปีย) และแอลเบเนีย (พ.ศ. 2482) ไว้ในการครอบครอง พร้อมกับการประกาศเข้าร่วมเป็นฝ่ายอักษะกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์แห่งประเทศเยอรมนี มุสโสลินีถูกจับกุมตัวได้เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2488 โดยกองกำลังปาร์ติซานของพรรคคอมมิวนิสต์อิตาลี ที่บริเวณใกล้ชายแดนอิตาลี-สวิสเซอร์แลนด์ ในขณะที่เขาพยายามจะหลบหนีออกจากอิตาลี และถูกประหารชีวิตด้วยการยิงเป้าในข้อหาทรยศต่อชาติ ในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2488 โดยคำตัดสินลับหลังของคณะลูกขุนแห่งคณะกรรมการปลดแอกแห่งชาติ ร่างของมุสโสลินี อนุภรรยา และผู้นิยมลัทธิฟาสซิสต์คนอื่นๆ อีกประมาณ 15 คน ได้ถูกนำไปยังเมืองมิลาโน เพื่อแขวนประจานต่อสาธารณชน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเบนิโต มุสโสลินี · ดูเพิ่มเติม »

เฟดอร์ ฟอน บอค

ฟดอร์ ฟอน บอค (Fedor von Bock) เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาบัญชาการกองทัพบกกลุ่มเหนือระหว่างการบุกครองโปแลนด์ในปี 1939 และบัญชาการกองทัพบกกลุ่มบีในยุทธการที่ฝรั่งเศสในปี 1940 และต่อมาได้บัญชาการกองทัพบกกลุ่มกลางในการโจมตีสหภาพโซเวียตในปี 1941 และได้บัญชาการกองทัพบกกลุ่มใต้ในปี 1942 ซึ่งเป็นตำแหน่งบัญชาการครั้งสุดท้าย บอคเกิดในเมืองคืชตริง (ปัจจุบันอยู่ในโปแลนด์) ในครอบครัวทหารชาวปรัสเซีย บิดาเป็นผู้บัญชาการหน่วยทหารในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ส่วนมารดาเป็นน้องสาวของเอริช ฟอน ฟัลเคินไฮย์ (Erich von Falkenhayn) ผู้บัญชาการทหารสูงสุดในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง บอคเข้าศึกษาที่วิทยาลัยการทหารในกรุงเบอร์ลิน และต่อมาได้เข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ด้วยความที่เกิดในครอบครัวทหารทำให้เขามีค่านิยมทหารมากกว่าคนอื่น ในสงครามครั้งนั้นเขาได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นทหารที่องอาจถึงขนาดพร้อมตายเพื่อปิตุภูมิจนได้รับสมญาว่า พระเพลิงแห่งคืชตริง และได้รับเหรียญปัวร์เลอแมริทของจักรวรรดิเยอรมัน ในปี 1935 อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ แต่งตั้งบอคให้เป็นแม่ทัพใหญ่กองทัพบกกลุ่มที่สาม และเป็นหนึ่งในนายพลที่ไม่ถูกโยกย้ายเมื่อครั้งฮิตเลอร์ปฏิรูปกองทัพครั้งใหญ่เพื่อสั่งสมแสนยานุภาพก่อนสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ บอคเป็นพวกนิยมระบอบกษัตริย์และมักจะไปเยี่ยมเยือนวังของอดีตไกเซอร์เสมอ บอคบัญชาการการบุกเวียนนาในปี 1938 และเมื่อเยอรมันผนวกออสเตรียแล้ว บอคก็บัญชาการการรุกรานเชโกสโลวาเกีย ฮิตเลอร์ไม่ค่อยชอบนิสัยการพูดจาตรงไปตรงมาขวานผ่าซากของบอค สิ่งที่ฮิตเลอร์ชอบในตัวบอคอย่างเดียวคือเขาเป็นผู้บัญชาการมือฉกาจที่ประสบความสำเร็จในการรบBattle of Russia, Battlefield: Battles that Won the Second World War—Series 2.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเฟดอร์ ฟอน บอค · ดูเพิ่มเติม »

เพลิงโอลิมปิก

ลิงโอลิมปิกในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว ณ เมืองซอลต์เลกซิตี (Salt Lake City) รัฐยูทาห์ สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2545 เพลิงโอลิมปิก (Olympic Flame, Olympic Fire, Olympic Torch, Olympic Light, Olympic Eye, Olympic Sun) คือเพลิงที่ใช้จุดในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก เป็นสัญลักษณ์และอนุสรณ์ถึงเพลิงที่เทพโพรมีเทียสขโมยจากเทพเจ้าซุสมามอบให้แก่มนุษยชาติมีไว้บริโภคเป็นครั้งแรก การจุดคบเพลิงโอลิมปิกเป็นประเพณีปฏิบัติตั้งแต่สมัยกรีกโบราณที่ต้องรักษาให้เพลิงโชติช่วงตลอดการแข่งขันกีฬาดังกล่าว สำหรับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกยุคปัจจุบัน ประเพณีการจุดเพลิงเช่นว่านี้ได้รับการฟื้นฟูอีกครั้งในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน ณ กรุงอัมสเตอร์ดัม พ.ศ. 2471 สืบมาจนทุกวันนี้ ส่วนการส่งผ่านและวิ่งซึ่งคบเพลิงโอลิมปิกจากประเทศกรีซผ่านประเทศเครือข่ายต่าง ๆ ไปยังประเทศเจ้าภาพจัดการแข่งขันนั้นมีนายคาร์ล ไดเอ็ม (Carl Diem) และนายโยเซฟ เกิบเบลส์ (Joseph Goebbels) เป็นผู้ริเริ่มในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงเบอร์ลิน พ.ศ. 2479.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเพลิงโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก

ล์ ลุดวิก ฮันส์ อันโทน ฟอน เบเนกเคินดอร์ฟ อุนด์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก (Paul Ludwig Hans Anton von Beneckendorff und von Hindenburg) รู้จักกันทั่วไปว่า เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก (2 ตุลาคม 1847 – 2 สิงหาคม 1934) เป็นจอมพล รัฐบุรุษและนักการเมืองชาวปรัสเซีย-เยอรมัน และเป็นประธานาธิบดีเยอรมนีคนที่สองตั้งแต่ปี 1925 ถึง 1934.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เกรกอร์ สตรัสเซอร์

กรกอร์ สตรัสเซอร์ (Gregor Strasser) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันและเป็นหนึ่งในผู้นิยมนาซี เกิดในปี 1892 ในราชอาณาจักรบาวาเรีย สตรัสเซอร์รับใช้ในกองทหารปืนใหญ่ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.ได้รับการเลื่อนขั้นยศเป็นนายร้อยตรี.เขาได้เข้าร่วมกับพรรคนาซี(NSDAP)ในปี 1920 และกลายเป็นผู้ทรงอิทธิพลและมีความสำคัญได้อย่างรวดเร็ว.เขาได้มีส่วนร่วมในการก่อรัฐประหารในมิวนิกในปี 1923 และถูกจับเข้าคุก,แต่ได้รับการปล่อยตัวในช่วงต้นด้วยเหตุผลทางการเมือง.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเกรกอร์ สตรัสเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกลี เราบัล

อังเกอลา มาเรีย "เกลี" เราบัล (Angela Maria „Geli“ Raubal) เป็นหลานสาวของลูกพี่ลูกน้องที่ร่วมฝ่ายบิดาของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เกิดในเมืองลินซ์, ออสเตรีย-ฮังการี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเกลี เราบัล · ดูเพิ่มเติม »

เกอร์ดา คริสเตียน

เกรด้า "ดารา" คริสเตียน née Daranowski (13 ธันวาคม 1913 - 14 เมษายน 1997)เป็นหนึ่งในเลขานุการส่วนตัวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในช่วงก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2456 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2540 หมวดหมู่:ชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเกอร์ดา คริสเตียน · ดูเพิ่มเติม »

เกาะแอ็นสท์ เทลมัน

อร์ลินตะวันออก, 19 มิถุนายน 1972: ฟิเดล คาสโตร (ซ้าย) มอบแผนที่คิวบาหลังจากการลงนามในแถลงการณ์กับเอริช ฮอเนคเคอร์ (กลาง) แผนที่แสดงเกาะที่มีชื่อว่า "แอ็นสท์ เทลมัน" และทางใต้เรียกว่า "หาดสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี" เกาะแอ็นสท์ เทลมัน (Ernst-Thälmann-Insel, Cayo Ernesto Thaelmann หรือ Cayo Blanco del Sur) เป็นเกาะที่มีความยาว 15 กิโลเมตรและกว้าง 500 เมตรของคิวบาในอ่าว Gulf of Cazones ตั้งชื่อตามนักคอมมิวนิสต์และนักกิจกรรมชาวเยอรมัน แอ็นสท์ เทลมัน เกาะนี้ถูกถ่ายโอนการปกครองให้กับเยอรมนีตะวันออก ในปี 1972 แม้กระนั้นเมื่อหนังสือพิมพ์เยอรมันพยายามที่จะเยี่ยมชมเกาะหลังจากเยอรมนีรวมประเทศ พวกเขาบอกว่าการถ่ายโอนนี้เป็นเพียงแค่ "การแสดงเชิงสัญลักษณ์" เท่านั้น ก่อนถึงปี 1972 เกาะนี้เป็นที่รู้จักในชื่อ Cayo Blanco del Sur เนื่องในโอกาสเยือนคิวบาของเอริช ฮอเนคเคอร์ ผู้นำเยอรมนีตะวันออก ในเดือนมิถุนายน 1972 ฟีเดล กัสโตรได้เปลี่ยนชื่อเกาะเพื่อเป็นเกียรติแก่ แอ็นสท์ เทลมัน นักคอมมิวนิสต์ นักกิจกรรม และ เลขาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี ในช่วงยุคของสาธารณรัฐไวมาร์ เขาถูกจับกุมตัวโดยเกสตาโป ในปี 1933 เขาถูกลงโทษโดยการใช้แรงงานหนักเป็นเวลา 11 ปี ก่อนจะถูกยิงที่ค่ายกักกันบูเคนวัลด์ ตามคำสั่งของ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในปี 1944 อ้างอิงจากบทความในหนังสือพิมพ์ Neues Deutschland ลงวันที่ 20 มิถุนายน 1972 ผู้นำคิวบาประกาศเปลี่ยนชื่อเกาะและหนึ่งในชายหาดเป็น "ชายหาดสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี" (Playa "República Democrática Alemana", "DDR-Strand") รายการข่าวโทรทัศน์ของเยอรมนีตะวันออก Aktuelle Kamera ได้รายงานเกี่ยวกับพิธีเปิดรูปปั้นครึ่งตัวของแอ็นสท์ เทลมันเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 1972 ในที่นี่มีมีเอกอัครราชทูตเยอรมนีตะวันออก ผู้แทนจากเยอรมนีตะวันออกและคิวบาประมาณ 100 คน เข้าร่วมพิธีเปิดในครั้งนี้ ในเดือนมีนาคม 1975 รัฐบาลเยอรมนีตะวันออกได้ส่งนักร้อง Frank Schöbel ไปยังคิวบาเพื่อทำมิวสิกวิดีโอ และฉากบางส่วนของเกาะถูกถ่ายรวมอยู่ในสารคดีเน้นเกาะซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของมิตรภาพระหว่างเยอรมนีตะวันออกและคิวบา ในปี 1998 เกาะแห่งนี้ได้รับความเสียหายอย่างรุนแรงจากพายุเฮอริเคนมิทช์ซึ่งทำให้รูปปั้นครึ่งตัวของแอ็นสท์ เทลมันเสียหาย สถานทูตคิวบาประจำเยอรมนีและกระทรวงการต่างประเทศเยอรมนีกล่าวในนำนองเดียวกันว่า การเปลี่ยนชื่อเกาะนั้นเป็น "การแสดงเชิงสัญลักษณ์" เกาะไม่เคยถูกถ่ายโอนการปกครองจากคิวบาและรัฐเยอรมันทั้งสองซึ่งเป็นเจ้าของเกาะและหลังการรวมประเทศในวันที่ 3 ตุลาคม 1990.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเกาะแอ็นสท์ เทลมัน · ดูเพิ่มเติม »

เกาไลแตร์

ังหวัด ของ Halle-Merseburg. เกาไลแตร์ เป็นหัวหน้าพรรคสาขาภูมิภาคของพรรคนาซี (NSDAP) หรือหัวหน้าผู้นำของเกาหรือไรซ์เกา คำศัพท์นี้เป็นได้ทั้งเอกพจน์หรือพหูจน์ได้ขึ้นอยู่กับบริบท เกาไลแตร์เป็นอันดับสองของกองกำลังกึ่งทหารพรรคนาซีระดับสูง,ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาของไรซ์ไลแตร์และตำแหน่งผู้นำฟือเรอร์ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง, ตำแหน่งของเกาไลแตร์นั้นได้รับมาอย่างโดยตรงจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เท่านั้น.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเกาไลแตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เยอรมันเชเพิร์ด

อรมันเชพเพิร์ด หรือ แอลเซเชียน (German Shepherd, Alsatian) เป็นสายพันธุ์สุนัขสายพันธุ์หนึ่งที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศเยอรมนี ในงานของสุนัขตำรวจ ได้มีการนำสุนัขสายพันธุ์นี้มาใช้ในการดมกลิ่นเพื่อตรวจค้นอาวุธ วัตถุระเบิด ยาเสพติด และยังพบว่าได้มีการนำสุนัขสายพันธุ์นี้มาใช้ในงานอื่น เช่น งานหน่วยกู้ภัย งานนำทางคนตาบอด งานคุ้มกัน เยอรมันเชพเพิร์ดยังไม่มีใครรู้จักจนกระทั่งปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเยอรมันเชเพิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เยอรมนีภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตร

มื่อนาซีเยอรมนีพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะจึงได้แสดงสิทธิ์การปกครองเหนือดินแดนของรัฐเยอรมัน (เยอรมันไรช์) ที่ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกของแนวโอเดอร์-ไนเซอ (Oder–Neisse line) และล้มล้างรัฐบาลภายใต้การปกครองของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ลง (ดูที่ปฏิญญาเบอร์ลิน ค.ศ. 1945) จากนั้นมหาอำนาจทั้ง 4 ของฝ่ายสัมพันธมิตรจึงได้แบ่งแยกเยอรมนีออกเป็น เขตยึดครอง จำนวนสี่เขตเพื่อเป้าหมายด้านการปกครอง โดยให้ฝรั่งเศสปกครองดินแดนทางตะวันตกเฉียงใต้ สหราชอาณาจักรปกครองดินแดนทางตะวันตกเฉียงเหนือ สหรัฐปกครองดินแดนตอนใต้ และสหภาพโซเวียตปกครองภาคตะวันออก และบริเวณนี้เป็นที่รู้จักโดยรวมภายใต้ชื่อ เยอรมนีภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตร (Alliierten-besetztes Deutschland) การแบ่งแยกนี้เป็นที่ยอมรับและให้สัตยาบัน ณ การประชุมพอทสดัม ระหว่างวันที่ 17 กรกฎาคม - 2 สิงหาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเยอรมนีภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตร · ดูเพิ่มเติม »

เรือประจัญบานบิสมาร์ค

มาร์ค เป็นเรือประจัญบาน และหนึ่งในเรือรบที่มีชื่อเสียงที่สุดในสงครามโลกครั้งที่สอง บิสมาร์คเป็นเรือลำแรกในเรือประจัญบานชั้นบิสมาร์ค ซึ่งตั้งตามชื่อนายกรัฐมนตรีของเยอรมนีสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 ออตโต ฟอน บิสมาร์ค บิสมาร์คมีระวางขับน้ำเต็มที่ถึง 50,000 ตัน และเป็นเรือประจัญบานขนาดใหญ่ที่สุดในโลกที่เข้าประจำการในสมัยนั้น; retrieved 14 November 2009 บิสมาร์คได้ปฏิบัติการเพียงครั้งเดียวตลอดอายุการใช้งานอันสั้นของเธอ โดยจมลงในตอนเช้าของวันที่ 27 พฤษภาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเรือประจัญบานบิสมาร์ค · ดูเพิ่มเติม »

เลออน ทรอตสกี

ลออน ทรอตสกี (Лев Тро́цкий) ชื่อเกิด เลฟ ดาวิโดวิช บรอนชเทย์น (Лев Дави́дович Бронште́йн) เป็นนักปฏิวัติและนักทฤษฎีมาร์กซิสต์ นักการเมืองโซเวียต และผู้ก่อตั้งและผู้นำคนแรกของกองทัพแดง ทรอตสกีแต่แรกเป็นผู้สนับสนุนกลุ่มแยกสนับสนุนความร่วมมือระหว่างประเทศเมนเชวิค (Menshevik Internationalists) แห่งพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย เขาเข้ากับพรรคบอลเชวิคทันทีก่อนการปฏิวัติตุลาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเลออน ทรอตสกี · ดูเพิ่มเติม »

เลโอนิด เบรจเนฟ

ลโอนิด อิลลิช เบรจเนฟ (Леонид Ильич Брежнев; Leonid Illyich Brezhnev; 19 ธันวาคม 2449 – 10 ธันวาคม 2525) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตและประธานาธิบดีโซเวียตคนที่ 8 ระหว่างสงครามเย็น.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเลโอนิด เบรจเนฟ · ดูเพิ่มเติม »

เวร์มัคท์

วร์มัคท์ (Wehrmacht ความหมาย:"กำลังป้องกัน") เป็นกองทัพของนาซีเยอรมนีระหว่าง..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเวร์มัคท์ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของยุคใหม่

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเส้นเวลาของยุคใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค

หตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค (Reichstagsbrand) เป็นการลอบวางเพลิงอาคารไรชส์ทาค ในกรุงเบอร์ลินเมื่อวันที่ 27 กุมภาพัน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค · ดูเพิ่มเติม »

เอฟา เบราน์

อฟา อันนา เพาลา ฮิตเลอร์ (Eva Anna Paula Hitler) สกุลเดิม เบราน์ เป็นเพื่อนเก่าแก่ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และเป็นภรรยาของเขาในช่วง 40 ชั่วโมงสุดท้ายของชีวิต เบราน์พบฮิตเลอร์ในมิวนิกขณะที่เธอมีอายุได้ 17 ปี ขณะที่ทำงานเป็นผู้ช่วยและนางแบบของช่างถ่ายภาพส่วนตัวของเขาและเริ่มพบฮิตเลอร์บ่อยครั้งขึ้นในอีกราวสองปีถัดมา เธอเคยพยายามฆ่าตัวตายสองครั้งในความสัมพันธ์ระยะแรกระหว่างทั้งสอง ใน..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเอฟา เบราน์ · ดูเพิ่มเติม »

เอมิล นอลเดอ

อมิล นอลเดอ (Emil Nolde) หรือในชื่อเดิมคือ เอมิล แฮนสัน (Emil Hanson) เกิดเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเอมิล นอลเดอ · ดูเพิ่มเติม »

เอริช เฟ็ลล์กีเบิล

ฟริทซ์ เอริช เฟ็ลล์กีเบิล (Fritz Erich Fellgiebel; 4 ตุลาคม ค.ศ. 1886 – 4 กันยายน ค.ศ. 1944) เป็นนายทหารในกองทัพเยอรมัน เกิดที่เมืองโปโปวิตเซ (ปัจจุบันอยู่ในประเทศโปแลนด์) เมื่ออายุ 18 ปี เขาเข้าร่วมหน่วยทหารสื่อสารในกองทัพบกปรัสเซีย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เฟ็ลล์กีเบิลอยู่สังกัดหน่วยเสนาธิการทหารบก หลังสงคราม เขาประจำอยู่ที่กรมเสนาธิการไรชส์เวร์ในเบอร์ลิน ในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเอริช เฟ็ลล์กีเบิล · ดูเพิ่มเติม »

เอลเซท 129 ฮินเดนบูร์ก

รือเหาะฮินเดนบูร์กขณะจอดเทียบฐานจอดที่เลคเฮิร์ทส์ นิวเจอร์ซีย์ สหรัฐ เมื่อ พ.ศ. 2479 เอลเซท 129 ฮินเดนบูร์ก (LZ 129 Hindenburg) เป็นเรือเหาะของเยอรมนีที่สร้างคู่กับเรือเหาะลำน้องที่ชื่อ กราฟ เซปเปลิน 2 นับเป็นอากาศยานที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยสร้างมา ใช้ช่วงบินให้บริการปีที่ 2 ได้เกิดไฟใหม้ระหว่างแล่นลอยตัวลงจอดที่ฐานทัพเรือเลคเฮิร์สท์ รัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2480 มีผู้เสียชีวิต 36 คน นับเป็นเหตุการณ์ที่มีการรายงานโดยสื่อต่างๆ ทั้งภาพยนตร์ ภาพถ่ายและวิทยุกระจายเสียงมากที่สุด เรือเหาะฮินเดนบูร์กได้รับการตั้งชื่อตาม เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก (พ.ศ. 2390 – พ.ศ. 2477) ประธานาธิบดีแห่งประเทศเยอรมนีระหว่าง พ.ศ. 2468 – พ.ศ. 2477 ประธานาธิบดีคนสุดท้ายของเยอรมนีที่รับตำแหน่งจากการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย ก่อนที่ฮิตเลอร์จะครองอำน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเอลเซท 129 ฮินเดนบูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เอาโทบาน

อาโทบานสาย 3 ตัดกับสาย 5 บริเวณแฟรงเฟิร์ต เอาโทบาน (Autobahn ออกเสียง: เอาโทบาน) เป็นศัพท์ภาษาเยอรมันหมายถึง ทางด่วนระหว่างเมือง ซึ่งเป็นทางคู่และมีทางยกระดับข้ามทางแยก ศัพท์คำนี้ใช้เรียกทางด่วนในเยอรมนี ออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ แต่เมื่อกล่าวโดยทั่วไปมักหมายถึงทางหลวงในเยอรมนี เอาโทบานในเยอรมนีเป็นทางด่วนที่ไม่มีการเรียกเก็บค่าผ่านทาง ส่วนในออสเตรียและสวิตเซอร์แลนด์มีด่านเก็บค่าผ่านทาง ในเยอรมนีและออสเตรีย กำหนดให้พาหนะที่ใช้งานเอาโทบานได้ จะต้องเป็นพาหนะที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์และมีความเร็วไม่ต่ำกว่า 60 กม/ชม (37 mph) ส่วนในสวิตเซอร์แลนด์ต้องมีความเร็วไม่ต่ำกว่า 80 กม/ชม (50 mph) ส่วนขีดจำกัดความเร็วนั้น กำหนดไว้ที่ไม่เกิน 130 กม/ชม (80 mph) สำหรับออสเตรีย, ไม่เกิน 120 กม/ชม (75 mph) สำหรับสวิตเซอร์แลนด์ ส่วนในเยอรมนีนั้น ส่วนใหญ่ไม่มีจำกัดความเร็วสูงสุด แต่มีการกำหนดความเร็วแนะนำที่ 130 กม/ชม (80 mph) ยกเว้นในบางรัฐเช่น เบรเมิน ที่เริ่มจำกัดความเร็วเพื่อควบคุมระดับเสียงและลดมลภาวะ เอาโทบานในสมัยนาซีเยอรมนี ค.ศ. 1939 ทางหลวงในลักษณะเดียวกับเอาโทบานนี้ เริ่มสร้างขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเอาโทบาน · ดูเพิ่มเติม »

เอียน อันโตเนสคู

อียน วิคเตอร์ อันโตเนสคู (Ion Victor Antonescu) หรือมีสมญาว่า หมาแดง (Câinele Roșu) เป็นนายทหาร, นักการเมือง และ ผู้นำเผด็จการชาวโรมาเนียและ ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีและผู้นำแห่งรัฐ (Conducător) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้ปกครองแบบระบอบเผด็จการเป็นเวลาสองสมัยในสมัยระหว่างสงคราม ภายหลังสงคราม เขาได้ถูกตัดสินว่ามีความผิดฐานก่ออาชญากรรมสงครามและลงโทษด้วยการประหารชีวิต เจ้าหน้าที่ทหารแห่งกองทัพโรมาเนียได้ทำการบันทึกชื่อของเขาในช่วงการก่อกบฏชาวนาโรมาเนียในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเอียน อันโตเนสคู · ดูเพิ่มเติม »

เอ็สเอ็ส-เวอร์ฟือกุนจ์สทรูปเปอร์

อ็สเอ็ส-เวอร์ฟือกุนจ์สทรูปเปอร์(SS-Verfügungstruppe,ย่อคำว่าSS-VT)(English: SS Dispositional Troops) ถูกก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเอ็สเอ็ส-เวอร์ฟือกุนจ์สทรูปเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดเวิร์ด วูด เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์

อ็ดเวิร์ด เฟรเดริก ลินเลย์ วูด เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์ (Edward Frederick Lindley Wood, 1st Earl of Halifax) เป็นหนึ่งในนักการเมืองอาวุโสที่สุดในพรรคอนุรักษนิยมของสหราชอาณาจักรในทศวรรษที่ 1930 เขาได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีหลายกระทรวง และยังได้เป็นอุปราชแห่งอินเดียระหว่าง..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเอ็ดเวิร์ด วูด เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮลมุท ไวด์ลิง

ลมุท ออทโท ลุดวิจ ไวด์ลิง (Helmuth Otto Ludwig Weidling) เป็นนายพลในกองทัพบกเยอรมันระหว่างก่อนและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ต่อมาไวด์ลิงได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการกองทัพในการป้องกันกรุงเบอร์ลินในพื้นที่การต่อสู้ในยุทธการเบอร์ลินในปี 1945 ต่อมาหลังจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้กระทำอัตวินิบาตกรรมในฟือเรอร์บุงเคอร์ ไวด์ลิงตัดสินใจประกาศยอมจำนนต่อกองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียต ทำให้เป็นอันสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป หลังสงคราม ไวด์ลิงถูกจับกุมและกลายเป็นนักโทษสงครามของโซเวียต เขาถูกส่งตัวไปยังกรุงมอสโก  ศาลทหารโซเวียตได้ตัดสินให้จำคุก 25 ปีให้ข้อหาก่ออาชญากรรมสงครามในดินแดนสหภาพโซเวียต ต่อมาเขาได้เสียชีวิตในค่ายกักกันเชลยศึกชาวเยอรมันในเมืองวลาดิเมียร์ภายใต้การควบคุมของหน่วยเคจีบีด้วยสภาวะหัวใจวายล้มเหลว เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 1955.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเฮลมุท ไวด์ลิง · ดูเพิ่มเติม »

เฮนนิง ฟอน เทรสคอว์

แฮร์มันน์ เฮนนิง คาร์ล โรแบร์ท ฟอน เทรสคอว์ (Hermann Henning Karl Robert von Tresckow) หรือ เฮนนิง ฟอน เทรสคอว์ (10 มกราคม ค.ศ. 1901 – 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1944) เป็นนายทหารชาวเยอรมัน เกิดในครอบครัวทหารที่เมืองมักเดบูร์ก เขาเข้ารับราชการในกรมทหารราบที่ 9 พอทสดัม ขณะมีอายุเพียง 16 ปี และได้รับกางเขนเหล็กชั้นที่ 1 จากวีรกรรมในยุทธการที่แม่น้ำมาร์นครั้งที่สอง หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เทรสคอว์ลาออกจากกองทัพเพื่อไปเรียนต่อด้านกฎหมายและเศรษฐศาสตร์ และแต่งงานกับบุตรสาวคนหนึ่งของครอบครัวทหาร เขากลับเข้ารับราชการทหารอีกครั้งด้วยการสนับสนุนจากเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก และเริ่มรับรู้ถึงแผนการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ที่ตั้งใจจะก่อสงครามโลกอีกครั้ง เทรสคอว์มีส่วนในการบุกครองโปแลนด์และยุทธการที่ฝรั่งเศส รวมถึงดูแลพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ำนีเปอร์ในปฏิบัติการบาร์บารอสซา ในช่วงแรก เทรสคอว์เป็นผู้สนับสนุนพรรคนาซี เพราะไม่พอใจในสนธิสัญญาแวร์ซาย แต่หลังจากเหตุการณ์ "คืนแห่งมีดยาว" (Night of the Long Knives) เขาก็เริ่มต่อต้านพรรคนาซีและมีส่วนในหลายแผนการลอบสังหารฮิตเลอร์ เช่น ปฏิบัติการสปาร์คและแผนลับ 20 กรกฎาคม ซึ่งหลังจากแผนลอบสังหารวันที่ 20 กรกฎาคม ล้มเหลว เทรสคอว์ก็ตัดสินใจกระทำอัตวินิบาตกรรมในวันต่อม.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเฮนนิง ฟอน เทรสคอว์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน

. อาร.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

เจียง ไคเชก

ียง ไคเชก (Chiang Kai-shek; 31 ตุลาคม ค.ศ. 1887 — 5 เมษายน ค.ศ. 1975) หรือชื่อตามภาษาจีนมาตรฐาน คือ เจี่ยง จงเจิ้ง (蔣中正) หรือ เจี่ยง เจี้ยฉือ (蔣介石) เป็นผู้นำจีน เจียงจบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยของญี่ปุ่นและกลับมาเป็นขุนศึกค้ำบัลลังก์ของซุน ยัตเซน ได้เป็นผู้นำของจีนระหว่าง..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเจียง ไคเชก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา หรือพระนามเต็ม เลโอโพลด์ ชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ด จอร์จ อัลเบิร์ต (Charles Edward, Duke of Saxe-Coburg and Gotha; Carl Eduard, Herzog von Sachsen-Coburg und Gotha; 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2427 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2497) ทรงเป็นดยุคแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา ในประเทศเยอรมนี พระองค์ที่สี่และสุดท้าย (30 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461) และในฐานะพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ผ่านทางสายพระราชโอรส พระองค์ทรงเป็นเจ้าชายแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นดยุคแห่งอัลบานีอีกด้วย เจ้าชายชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ดทรงเป็นบุคคลที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในประเทศอังกฤษ เนื่องจากการมีสถานภาพเป็นศัตรูในฐานะที่ทรงเป็นดยุคครองรัฐแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา อันเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 พระองค์ทรงถูกถอดถอนบรรดาศักดิ์ขุนนางและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างๆ ของอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2462 ในปี พ.ศ. 2461 พระองค์ทรงถูกบังคับให้สละราชสมบัติ และต่อมาได้ทรงเข้าร่วมพรรคนาซีเยอรมัน ยังความเสื่อมเสียที่ใหญ่หลวงมาให้แก่เจ้าหญิงอลิซ เค้านท์เตสแห่งแอธโลน ซึ่งเป็นพระภคินีเพียงพระองค์เดียว สมเด็จพระราชินีแมรี่ พระภคินีในพระเชษฐภรรดา รวมถึงสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ซึ่งเป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งด้ว.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี

้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย:شمس پهلوی, ประสูติ 18 ตุลาคม ค.ศ. 1917 - สิ้นพระชนม์ 29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996) พระราชธิดาในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี กับสมเด็จพระราชินีตาจ อัล-โมลูก และเป็นพระเชษฐภคินีในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวี และระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในประเทศอิหร่าน.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งบัลแกเรีย

้าหญิงมารี หลุยส์แห่งบัลแกเรีย (Княгиня Мария Луиза Българска; 13 มกราคม พ.ศ. 2476 —) เป็นพระธิดาในพระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรียกับเจ้าหญิงโจวันนาแห่งอิตาลี พระองค์เป็นพระเซษฐภคินีใน พระเจ้าซาร์ซิเมออนที่ 2 แห่งบัลแกเรี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ

้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ (9 กันยายน พ.ศ. 2452 – 25 สิงหาคม พ.ศ. 2538) พระนามเดิม เซะสึโกะ มะสึไดระ เป็นพระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชายชิชิบุ พระราชโอรสในจักรพรรดิไทโชและจักรพรรดินีเทเม ทั้งนี้พระองค์เป็นพระประยูรญาติของเจ้านายหลายพระองค์ อาทิ เจ้าหญิงนะงะโกะแห่งคุนิ (ต่อมาคือจักรพรรดินีโคจุง) และเจ้าหญิงมะซะโกะแห่งนะชิโมะโตะ (ต่อมาคือเจ้าหญิงพังจา พระชายาในมกุฎราชกุมารอึยมิน) และยังเป็นหนึ่งในพระบรมวงศานุวงศ์ญี่ปุ่นที่พระราชวงศ์อังกฤษโปรดปราน โดยเฉพาะเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ออกพระโอษฐ์อยู่เสมอว่าเจ้าหญิงเซะสึโกะเป็น "พระอัยยิกาชาวญี่ปุ่น".

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเจ้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เจเนรัลพลันโอสท์

นรัลพลันโอสท์ (Master Plan for the East), ย่อคำว่า GPO, เป็นแผนการของรัฐบาลนาซีเยอรมนีในการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์และขจัดชาติพันธุ์ในพื้นที่กว้างใหญ่,และเขตอาณานิคมของทวีปยุโรปกลางและตะวันออกโดยเยอรมัน มันได้ถูกรับรองในดินแดนที่ถูกยึดครองโดยเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง แผนการนี้ได้เป็นที่รับรู้เพียงบางส่วนในช่วงสงคราม,ได้ส่งผลทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากมายมหาศาลทั้งทางตรงและทางอ้อม,แต่การลงมือแผนการทั้งหมดกลับไม่ได้ปฏิบัติตามในช่วงปฏิบัติการทางทหารที่สำคัญ, และถูกขัดขวางจากความพ่ายแพ้ของเยอรมนี แผนการนี้ได้ก่อให้เกิดการกดขี่ข่มเหง, ขับไล่เนรเทศ,และสังหารหมู่ต่อชนชาวสลาฟจำนวนมากในทวีปยุโรปรวมถึงการวางแผนการทำลายประเทศชาติของพวกเขา,แบบที่"เผ่าอารยัน"ของนาซีนั้นได้ดูราวกับเชื้อชาติด้อยกว่าตน โครงการแนวทางการปฏิบัตินี้ได้ขึ้นอยู่กับนโยบายเลเบนสเราม์ ซึ่งได้ออกแบบโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซีในการปฏิบัติตามอุดมการณ์ของลัทธิ Drang nach Osten (การขับไล่ไปทางตะวันออก) จากการขยายตัวของเยอรมัน ซึ่งเช่นนี้แล้ว,ได้มุ่งมั่นหมายที่จะเป็นส่วนหนึ่งของระเบียบใหม่ในทวีปยุโรป แผนการนำได้ดำเนินไป,มีเพียงสี่รุ่นที่เป็นที่รู้จักกัน,มันได้ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อเวลาได้ผ่านพ้นไป,ภายหลังจากการบุกยึดครองโปแลนด์,ภาพออกแบบพิมพ์เขียวสำหรับแผนการเจเนรัลพลันโอสท์(GPO)ได้ถูกกล่าวถึงโดยสำนักผู้ตรวจการไรช์เพื่อความเป็นเอกภาพแห่งชนชาติเยอรมัน-RKFDV ในช่วงกลางของปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเจเนรัลพลันโอสท์ · ดูเพิ่มเติม »

เทราดล์ ยุงเกอ

กอร์ทรานด์ "เทราด์" ยุงเกอร์(née Humps; 16 มีนาคม 1920 – 10 กุมภาพันธุ์ 2002) ทำงานเป็นเลขานุการหญิงส่วนตัวของของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในช่วงสุดท้ายจากเดือนธันวาคม 1942 ถึงเดือนเมษายน 1945.หลังจากได้พิมพ์ดีดเอกสารให้กับฮิตเลอร์แล้ว,เธอยังคงอยู่ในฟือเรอร์บุงเคอร์ใจกลางกรุงเบอร์ลินจนกระทั่งฮิตเลอร์ต.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเทราดล์ ยุงเกอ · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองสามัญ

ตปกครองสามัญ(Generalgouvernement, Generalne Gubernatorstwo, Генеральна губернія),เรียกอีกอย่างว่า เจอเนอรัลโกเวอร์โนเรนท์ เป็นเขตยึดครองของเยอรมันที่ได้ก่อตั้งขึ้นภายหลังจากการร่วมมือบุกเข้ายึดครองโปแลนด์โดยนาซีเยอรมนีและสหภาพโซเวียตในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเขตปกครองสามัญ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะบริดจ์ออนเดอะริเวอร์แคว

อะบริดจ์ออนเดอะริเวอร์แคว (The Bridge on the River Kwai) หรือ สะพานข้ามแม่น้ำแคว มีชื่อไทยว่า สะพานเดือดเลือดเชลยศึก เป็นภาพยนตร์อังกฤษ ออกฉาย ปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเดอะบริดจ์ออนเดอะริเวอร์แคว · ดูเพิ่มเติม »

เดอะบลิตซ์

อะบลิตซ์ (The Blitz) หมายถึงการทิ้งระเบิดเกือบทุกเมืองทั้งใหญ่และเล็กในสหราชอาณาจักรโดยนาซีเยอรมันอย่างหนักและต่อเนื่องในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2483 และวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 โดยกองทัพอากาศเยอรมัน (Luffwaffe) การเน้นหนักอยู่ที่นครลอนดอน เดอะบลิตซ์ ทำให้คนตาย 43,000 คน บ้านเรือนถูกทำลายมากกว่าหนึ่งล้านหลัง แต่ก็ไม่บรรลุเป้าหมายที่ต้องการให้สหราชอาณาจักรหมดความสามารถในการทำสงคราม หรือหมดขีดความสามารถในการต่อต้านการรุกรานของนาซี ถึงแม้ว่าคำว่า "บลิตซ์" (Blitz) เป็นคำย่อของ 'blitzkrieg' ซึ่งแปลว่า "การโจมตีสายฟ้าแลบ" แต่ยุทธการเดอะบลิตซ์กลับไม่ตรงความหมายคือรวดเร็วอย่างฟ้าแลบ แต่ได้กลายเป็นแบบอย่างของ "การทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์" (strategic bombing)ที่ทุกฝ่ายนำไปใช้ในเวลาต่อมา การโจมตีทางอากาศของนาซีต่อสหราชอาณาจักรได้เบาบางลงและทิ้งช่วงไประยะหนึ่ง มาเริ่มต้นใหม่ในปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเดอะบลิตซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เดนนิส กาบอร์

นนิส กาบอร์ ซีบีอี, เอฟอาร์เอส (Dennis Gabor CBE, FRS; 5 มิถุนายน ค.ศ. 1900 - 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1979) นักประดิษฐ์และวิศวกรไฟฟ้าชาวอังกฤษเชื้อสายยิว-ฮังการี Arthur T. Hubbard (1995) CRC Press, 1995.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเดนนิส กาบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เด็กเก็บว่าว

็กเก็บว่าว (The Kite Runner) เป็นนวนิยายเล่มแรกที่เขียนโดยคาเลด โฮสเซอินี (خالد حسینی, Khaled Hosseini) ที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 2003 และในปี ค.ศ. 2007 ก็ได้รับการสร้างเป็นภาพยนตร์ในชื่อเดียวกัน -- “เด็กเก็บว่าว (ภาพยนตร์)”.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเด็กเก็บว่าว · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องหมายบาดเจ็บ

150px เครื่องหมายบาดเจ็บ (Verwundetenabzeichen) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทางทหารที่ถูกประกาศใช้เป็นครั้งแรกโดยจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 1918 ซึ่งเป็นการปูนบำเหน็จให้แก่ทหารที่ได้บาดเจ็บจากการรบหรือป่วยเป็นโรคหิมะกัด (frostbitten) ในกองทัพจักรวรรดิเยอรมันระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.ในช่วงระหว่างสงครามโลก,มันเป็นรางวัลปูนบำเหน็จให้แก่สมาชิกของกองทัพเยอรมัน ผู้ที่เข้าร่วมรบกับฝ่ายชาตินิยมในสงครามกลางเมืองสเปนในปี 1938-39,และได้รับบาดเจ็บจากการสู้ร.นอกจากนั้นมันได้เป็นรางวัลปูนบำเหน็จให้แก่สมาชิกของไรชส์เวร์,เวร์มัคท์,เอสเอส และองค์กรการดูแลคอยสนับสนุนในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.หลังจากนั้นในเดือนมีนาคม ปี 1943 เนื่องจากการทิ้งระเบิดแบบปูพรมของเครื่องบินฝ่ายสัมพันธมิตรหลายต่อหลายครั้งก็ยังได้มอบให้แก่พลเมืองที่ได้รับบาดเจ็บจากการโจมตีทางอาก.นอกจากนั้นมันยังเป็นการปูนบำเหน็จให้แก่ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บที่ผลจากการถูกฝ่ายศัตรูโจมตี ยกเว้นแต่เป็นโรคหิมะกั.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเครื่องหมายบาดเจ็บ · ดูเพิ่มเติม »

เคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก

ันเอก เคลาส์ ฟีลิพพ์ มาเรีย เชงค์ กรัฟ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก (Claus Philipp Maria Schenk Graf von Stauffenberg) เป็นทหารบกและสมาชิกตระกูลขุนนางชาวเยอรมันซึ่งเป็นสมาชิกผู้นำคนหนึ่งของแผนลับ 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เซพพ์ ดีทริซ

ซฟ "เซพพ์" ดีทริซ (28 พฤษภาคม ค.ศ. 1892 – 21 เมษายน ค.ศ. 1966) เป็นเอ็สเอ็ส-โอเบิร์ช-กรุพเพินฟือเรอร์(พลเอก)ในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส กองกำลังติดอาวุธของหน่วยชุทซ์ชทัฟเฟิล (SS) ผู้บัญชาการของหน่วยไปยังถึงระดับกองทัพในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ก่อนปี..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเซพพ์ ดีทริซ · ดูเพิ่มเติม »

เซมนัดซัตมกโนเวนีย์เวสนืย

ซมนัดซัตมกโนเวนีย์เวสนืย (Semnadtsat' mgnoveniy vesny) เป็นมินิซีรีสของสหภาพโซเวียตมีทั้งหมด 12 ตอน ออกอากาศทางโทรทัศน์ครั้งแรกในปี 1973 กำกับการแสดงโดย Tatyana Lioznova โดยมีเค้าโครงของนวนิยายเรื่องเดียวกันของ Yulian Semyonov เซมนัดซัตมกโนเวนีย์เวสนืย เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ Maxim Isaev สายลับโซเวียตที่ทำงานจารกรรมในนาซีเยอรมนีโดยใช้ชื่อ Max Otto von Stierlitz ซึ่งรับบทโดย Vyacheslav Tikhonov เซมนัดซัตมกโนเวนีย์เวสนืยกลายเป็นซีรีสที่เป็นที่นิยมในสหภาพโซเวียตนอกจากนี้เซมนัดซัตมกโนเวนีย์เวสนืยยังเป็นหนึ่งในซีรีสที่ยังเป็นที่นิยมในประวัติศาสตร์ละครซีรีสของรัสเซี.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเซมนัดซัตมกโนเวนีย์เวสนืย · ดูเพิ่มเติม »

เนวิล เชมเบอร์ลิน

อาร์เธอร์ เนวิล เชมเบอร์ลิน (Arthur Neville Chamberlain) เป็นนักการเมืองพรรคอนุรักษนิยมชาวอังกฤษ เป็นนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรตั้งแต่พฤษภาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเนวิล เชมเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เนเธอร์แลนด์ในสงครามโลกครั้งที่สอง

การเข้าร่วมสงครามโดยตรงของเนเธอร์แลนด์ในสงครามโลกครั้งที่สองได้เริ่มต้นขึ้นด้วยการรุกรานโดยนาซีเยอรมนี เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม..

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเนเธอร์แลนด์ในสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

13 มีนาคม

วันที่ 13 มีนาคม เป็นวันที่ 72 ของปี (วันที่ 73 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 293 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และ13 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 มีนาคม

วันที่ 16 มีนาคม เป็นวันที่ 75 ของปี (วันที่ 76 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 290 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และ16 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 กรกฎาคม

วันที่ 18 กรกฎาคม เป็นวันที่ 199 ของปี (วันที่ 200 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 166 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และ18 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 กุมภาพันธ์

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 33 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 332 วันในปีนั้น (333 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และ2 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

2 สิงหาคม

วันที่ 2 สิงหาคม เป็นวันที่ 214 ของปี (วันที่ 215 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 151 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และ2 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 กรกฎาคม

วันที่ 20 กรกฎาคม เป็นวันที่ 201 ของปี (วันที่ 202 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 164 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และ20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 เมษายน

วันที่ 20 เมษายน เป็นวันที่ 110 ของปี (วันที่ 111 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 255 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และ20 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

26 กุมภาพันธ์

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 57 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 308 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และ26 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

30 เมษายน

วันที่ 30 เมษายน เป็นวันที่ 120 ของปี (วันที่ 121 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 245 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และ30 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Adolf HitlerHitlerอด๊อฟ ฮิตเลอร์ฮิตเลอร์ฮิตเล่อร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »