โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล

เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ vs. เจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล

้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ (พ.ศ. 2447 - พ.ศ. 2532) เป็นราชโอรสใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 กับ หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ มีขนิษฐาและอนุชา ร่วมเจ้ามารดา 3 องค์ คือ. ณหญิง ดร.เจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล (สกุลเดิม: ณ เชียงใหม่; เกิด: พ.ศ. 2471 - 1 มกราคม พ.ศ. 2558) เป็นธิดาในเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน) กับเจ้าภัทรา ณ เชียงใหม่ เป็นพระนัดดาในพลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์สุดท้าย เจ้าระวีพันธุ์ เคยดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานมูลนิธินวราชดำริอนุรักษ์ฝ่ายเหนือ และอดีตประธานมูลนิธิกู่เจ้าหลวงเชียงใหม่ (วัดสวนดอก).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล

เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระเจ้าอินทวิชยานนท์เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่)เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่เจ้านายฝ่ายเหนือเจ้าแก้วนวรัฐเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

พระเจ้าอินทวิชยานนท์

ระเจ้าอินทวิชยานนท์ (125px) (? - พ.ศ. 2440 ขึ้นครองนครเชียงใหม่ พ.ศ. 2416 - พ.ศ. 2440) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นพระเจ้าประเทศราชองค์สุดท้ายที่มีอำนาจอย่างแท้จริง เพราะในสมัยรัชกาลที่ 5 สยามได้ริดรอนอำนาจของเจ้าผู้ครองนครลง ด้วยความจงรักภักดีที่ทรงถวายต่อพระบรมราชวงศ์จักรี อย่างไม่สั่นคลอน กอปรกับเป็นพระบิดาในเจ้าดารารัศมี พระราชชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ซึ่งนับว่าเป็นการถวายพระเกียรตินับเนื่องเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ในพระบรมราชวงศ์จักรี และเป็นพระเจ้าประเทศราชเพียงพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์ที่ได้รับพระราชทานและยกย่องพระเกียรติยศดังกล่าว.

พระเจ้าอินทวิชยานนท์และเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ · พระเจ้าอินทวิชยานนท์และเจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่)

รองอำมาตย์เอก พลตรี เจ้าราชบุตร หรือพระนามเดิมคือ เจ้าวงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่ เป็นเจ้าราชบุตรองค์สุดท้ายแห่งจังหวัดเชียงใหม่ อดีตผู้บังคับการพิเศษกรมผสมที่ 7 ราชองครักษ์พิเศษ อดีตสมาชิกวุฒิสภา และเป็นราชโอรสในพลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 กับแม่เจ้าจามรีวง.

เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) · เจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุลและเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่

้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ (150px) ผู้สืบราชสกุลเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เจ้านายฝ่ายเหนือ ทายาทในเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ กับหม่อมจันทร์สม ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม "ชนะนนท์") เป็นหลานปู่ ใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าหลวงผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เกิดที่คุ้มรินแก้ว (เดิมชื่อคุ้มแจ่งหัวริน) เมื่อวันที่ สมรสกับ ชนิดา ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม "จุลละรัต") ในปี..

เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ · เจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุลและเจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้านายฝ่ายเหนือ

้านายฝ่ายเหนือ หมายถึง เจ้านายผู้สืบเชื้อสายในราชวงศ์ที่เคยปกครองอาณาจักรหัวเมืองเหนือ ซึ่งเข้ามาเป็นประเทศราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช อันได้แก่ เจ้าในราชวงศ์ทิพย์จักรที่ปกครองนครเชียงใหม่ นครลำปาง และนครลำพูน ราชวงศ์น่านที่ปกครองนครน่าน และราชวงศ์เทพวงศ์ที่ปกครองนครแพร่ ในอดีตเจ้าผู้ครองนครต่าง ๆ มีอำนาจสิทธิ์ขาดปกครองดินแดนของตน แต่มีหน้าที่ต้องส่งเครื่องบรรณาการถวายราชสำนักสยามเพื่อแสดงความจงรักภักดีเท่านั้น อย่างไรก็ตามราชสำนักสยามได้เริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในราชสำนักประเทศราชหลายครั้ง จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงยกเลิกการปกครองแบบประเทศราชเพื่อรวมศูนย์อำนาจการปกครองไว้ที่กรุงเทพฯ โดยเฉพาะ ตำแหน่งเจ้าประเทศราชก็ให้สิ้นสุดเมื่อเจ้านครนั้นถึงแก่พิราลัย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือในราชวงศ์ทิพย์จักรยังคงมีการสืบทอดกันจากรุ่นสู่รุ่น และยังมีการรวมกลุ่มดำเนินกิจกรรมต่างๆ ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเมื่อปี..

เจ้านายฝ่ายเหนือและเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ · เจ้านายฝ่ายเหนือและเจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าแก้วนวรัฐ

มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ (90px) (29 กันยายน พ.ศ. 2405 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร และองค์สุดท้ายแห่งนครเชียงใหม.

เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้าแก้วนวรัฐ · เจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุลและเจ้าแก้วนวรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2416 ด้วยทรงเห็นว่าพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีทรงอยู่ในราชสมบัติยั่งยืนนานมาเป็นเวลา 90 ปี ก็ด้วยความจงรักภักดีและการปฏิบัติราชการของพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการทั้งปวง ทั้งมีพระราชประสงค์จะทรงชุบเลี้ยงบรรดาทายาทของบุคคลเหล่านี้ ให้มีความเจริญรุ่งเรืองในราชการสืบเนื่องต่อไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทายาทของผู้ได้รับพระราชทานสามารถรับพระราชทานตราสืบตระกูลของบิดาได้ โดยพระราชทานนามพระองค์ "จุลจอมเกล้า" เป็นนามของเครื่องราชอิสรยาภรณ์ตระกูลนี้ พร้อมทรงคิดคำขวัญจารึกบนดวงตราว่า "เราจะบำรุงตระกูลวงศ์ให้เจริญ".

เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าและเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ · เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าและเจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล

เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ มี 26 ความสัมพันธ์ขณะที่ เจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล มี 31 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 10.53% = 6 / (26 + 31)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »