โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่

ดัชนี เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่

้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ (พ.ศ. 2447 - พ.ศ. 2532) เป็นราชโอรสใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 กับ หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ มีขนิษฐาและอนุชา ร่วมเจ้ามารดา 3 องค์ คือ.

26 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2447พ.ศ. 2509พ.ศ. 2515พ.ศ. 2532พระยาคำฟั่นพระเจ้าอินทวิชยานนท์กรมส่งเสริมสหกรณ์การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่วชิราวุธวิทยาลัยหม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ประเทศอังกฤษโรงเรียนราชวิทยาลัยเหรียญรัตนาภรณ์เจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลงเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่เจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่)เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่เจ้าดารารัศมี พระราชชายาเจ้านายฝ่ายเหนือเจ้าแก้วนวรัฐเจ้าเติมศักดิ์ ณ เชียงใหม่เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

พ.ศ. 2447

ทธศักราช 2447 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1904 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และพ.ศ. 2447 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พระยาคำฟั่น

ระยาคำฟั่น หรือ พระญาคำฝั้น หรือพระนามเต็มว่า "เจ้ามหาสุภัทรราชะ" ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 1 ระหว่างปี..

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และพระยาคำฟั่น · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอินทวิชยานนท์

ระเจ้าอินทวิชยานนท์ (125px) (? - พ.ศ. 2440 ขึ้นครองนครเชียงใหม่ พ.ศ. 2416 - พ.ศ. 2440) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นพระเจ้าประเทศราชองค์สุดท้ายที่มีอำนาจอย่างแท้จริง เพราะในสมัยรัชกาลที่ 5 สยามได้ริดรอนอำนาจของเจ้าผู้ครองนครลง ด้วยความจงรักภักดีที่ทรงถวายต่อพระบรมราชวงศ์จักรี อย่างไม่สั่นคลอน กอปรกับเป็นพระบิดาในเจ้าดารารัศมี พระราชชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ซึ่งนับว่าเป็นการถวายพระเกียรตินับเนื่องเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ในพระบรมราชวงศ์จักรี และเป็นพระเจ้าประเทศราชเพียงพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์ที่ได้รับพระราชทานและยกย่องพระเกียรติยศดังกล่าว.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และพระเจ้าอินทวิชยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

กรมส่งเสริมสหกรณ์

กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Cooperative Promotion Department) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่ส่งเสริมและพัฒนาการสหกรณ์ภายในประเท.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และกรมส่งเสริมสหกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475

การปฏิวัติสยาม..

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่

ในสมัยที่เป็นประเทศราชของอาณาจักรธนบุรี เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เป็นมีบรรดาศักดิ์เป็น "พระยาประเทศราช" โดยมีพระยาวิเชียรปราการ (บุญมา) เป็นพระยาเชียงใหม่องค์แรก ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์มีพระยาเชียงใหม่บางองค์ได้รับสถาปนาเป็น "พระเจ้าประเทศราช" เป็นกรณีพิเศษ เช่น พระเจ้ากาวิละ พระเจ้ามโหตรประเทศ จนวันที่ 16 ตุลาคม..

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และรายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

วชิราวุธวิทยาลัย

วชิราวุธวิทยาลัย เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้างโรงเรียนแก่กุลบุตรชาวไทยแทนการสร้างพระอารามซึ่งมีอยู่มากแล้วนั้น ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้มีพระบรมราชโองการให้รวมโรงเรียนมหาดเล็กหลวง กรุงเทพ และโรงเรียนราชวิทยาลัยเข้าด้วยกัน โดยให้นักเรียนย้ายมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพ พร้อมทั้งได้พระราชทานนามโรงเรียนขึ้นใหม่ว่า “วชิราวุธวิทยาลัย” เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนสืบต่อไป วชิราวุธวิทยาลัยมีตึกที่พักนักเรียน เรียกว่า "คณะ" เป็นเสมือนบ้านของนักเรียน แบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง คือ คณะเด็กโต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยม แบ่งออกเป็น ๖ คณะ คือ คณะผู้บังคับการ คณะดุสิต คณะจิตรดา คณะพญาไท คณะจงรักภักดี คณะศักดิ์ศรีมงคล ส่วนคณะเด็กเล็กสำหรับนักเรียนชั้นประถม แบ่งออกเป็น ๓ คณะ คือ คณะสนามจันทร์ คณะนันทอุทยาน และ คณะสราญรมย์ นอกจากนี้ ทางโรงเรียนยังส่งเสริมให้นักเรียนได้เล่นกีฬาต่าง ๆ เช่น รักบี้ฟุตบอล แบดมินตัน นอกจากนี้ ยังมีการจัดการแข่งขันรักบี้ประเพณีกับมาเลย์ คอลเลจ (Malay College Kuala Kangsar) จากประเทศมาเลเซีย เป็นประจำทุก ๆ ปี ปัจจุบัน ดำเนินการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตั้งอยู่ที่ ถนนราชวิถี แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และวชิราวุธวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่

หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ (พ.ศ. 2387—2476) เป็นหม่อมในพลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และหม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชวิทยาลัย

รงเรียนราชวิทยาลัย (ปัจจุบันคือโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์) เป็นโรงเรียนหลวงที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริที่จะจัดตั้งเพื่อผลิตบุคลากรรองรับการปฏิรูปการปกครองประเทศในด้านต่างๆ โดยเฉพาะในด้านการใช้ภาษาอังกฤษและด้านกฎหมาย มีการฝึกและอบรมให้คุ้นเคยกับการเรียนและวัฒนธรรมแบบตะวันตกอันเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อต่างประเทศ และเข้ารับราชการในกระทรวงต่างๆ โรงเรียนราชวิทยาลัย มีการโยกย้ายที่ตั้งสถานศึกษาถึง 4 สมั.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และโรงเรียนราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญรัตนาภรณ์

หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ. 2416 เหรียญรัตนาภรณ์ มีลำดับชั้นทั้งหมด 5ชั้น มีหลักเกณฑ์ในการรับพระราชทานดังนี้ ชั้นที่ 1และ 2 มักจะพระราชทานให้ พระราชวงศ์, ขุนนางข้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิดและทรงสนิทสนมเป็นพิเศษ, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี ฯลฯ ชั้นที่ 3 และ 4 พระราชทานให้ ขุนนางช้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิด, ข้าราชบริพารที่ทรงสนิทสนม, พระอนุวงศ์และราชนิกุล ฯลฯ ชั้นที่ 5 พระราชทานให้ ผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งส่วนราชการหรือส่วนพระองค์, ผู้ที่สร้างชื่อเสียงคุณงามความดีให้กับประเทศ ฯลฯ แต่ทั้งนี้การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยส่วนพระองค์ บุคคลที่มียศตำแหน่งตามที่ระบุอาจได้รับพระราชทานชั้นที่สูงหรือต่ำกว่านี้ ก็สุดแท้แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเหรียญรัตนาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง

้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง หรือที่ชาวเชียงตุงนิยมเรียกว่า เจ้าฟ้าเฒ่า เป็นโอรสองค์ที่ 5 ของเจ้าฟ้าโชติก๋องไต ซึ่งขึ้นเป็นเจ้าฟ้าหลวงเชียงตุงสืบแทนเจ้าพี่คือเจ้าฟ้าโชติคำฟู ที่สิ้นพระชนม์ใน ปี พ.ศ. 2441 ตลอดเวลาที่เจ้าฟ้าก้อนแก้วอินแถลงครองนครเชียงตุง พระองค์ได้สร้างความเจริญแก่นครเชียงตุงเป็นอย่างมาก เช่น การสร้างถนนหนทาง ทำนุบำรุงพระศาสนา เช่น สร้างวัดหลายแห่ง และมีการบูรณะปฏิสังขรณ์ เช่นวัดหัวข่วงที่ถูกไฟไหม้ก็สร้างใหม่แล้วยกเป็นวัดหลวง มีการสร้างวัดพระเจ้าหลวงประดิษฐานพระพุทธมหามัยมุนีจำลองมาจากเมืองมัณฑะเลย์ สร้างหอหลวงขึ้นใหม่เป็นตึกแบบอินเดีย บรรดาหอต่างๆที่พำนักของเจ้าแม่เฒ่า (ราชมารดา) เจ้าแม่นางเมือง (พระมเหสี) และบรรดานางฟ้า(พระสนม) โปรดให้เปลี่ยนเป็นตึกแบบใหม่ทั้งหมด รวมความว่าสิ่งใดที่จะนำความเจริญมาสู่บ้านเมือง ท่านผู้นี้ก็ได้พยายามจัดขึ้นทำขึ้น การติดต่อกับเพื่อนบ้านก็ให้ตัดถนนเป็นทางรถยนต์ติดต่อกับจังหวัดเชียงรายซึ่งเป็นจังหวัดชายแดนติดต่อกับเชียงตุง ทางตะวันตกก็มีทางรถยนต์ติดต่อกับตองยี กับได้ทำความสัมพันธ์กับเจ้านายพื้นเมืองทางเชียงใหม่และลำปางโดยทางแต่งงานของราชบุตรเป็นต้น โดยได้ปฏิบัติงานเป็นที่เรียบร้อยและเป็นที่พอใจแก่อังกฤษซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคม จนรัฐบาลอังกฤษได้ยกให้เป็น C.I.E. (Companion of the Indian Empire) เจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง มีพระมเหสี 1 พระองค์ และมีพระสนม 5 คน มีราชโอรส-ธิดารวม 19 พระองค์ ได้แก.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่

้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ หรือเป็นที่รู้จักในนาม เจ้าป้า (16 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 — 13 มีนาคม พ.ศ. 2548) เป็นธิดาของเจ้ากาวิละวงศ์ กับเจ้าศิริประกาย ณ เชียงใหม่ และเป็นนัดดาของเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์สุดท้.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่

อำมาตย์ตรี เจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่ (15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2450 − 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) อดีตนายกสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2504−2508) และเป็นบิดาของเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่)

รองอำมาตย์เอก พลตรี เจ้าราชบุตร หรือพระนามเดิมคือ เจ้าวงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่ เป็นเจ้าราชบุตรองค์สุดท้ายแห่งจังหวัดเชียงใหม่ อดีตผู้บังคับการพิเศษกรมผสมที่ 7 ราชองครักษ์พิเศษ อดีตสมาชิกวุฒิสภา และเป็นราชโอรสในพลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 กับแม่เจ้าจามรีวง.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่

้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ (150px) ผู้สืบราชสกุลเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เจ้านายฝ่ายเหนือ ทายาทในเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ กับหม่อมจันทร์สม ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม "ชนะนนท์") เป็นหลานปู่ ใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าหลวงผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เกิดที่คุ้มรินแก้ว (เดิมชื่อคุ้มแจ่งหัวริน) เมื่อวันที่ สมรสกับ ชนิดา ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม "จุลละรัต") ในปี..

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่

งานสมรสของเจ้าอินทนนท์กับเจ้าสุคันธา เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม: ณ เชียงตุง; พ.ศ. 2456 −15 มกราคม พ.ศ. 2546) เป็นพระธิดาในเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง เจ้าผู้ครองนครเชียงตุงที่ 40 ประสูติแต่เจ้านางบัวทิพย์หลวง ต่อมาเจ้าสุคันธาสมรสกับเจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ พระโอรสของเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่คนสุดท้าย ประดุจสะพานเชื่อมสายสัมพันธ์ระหว่างเชียงตุง-เชียงใหม.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่

้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ (พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2534) เป็นราชโอรสองค์สุดท้ายในพลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 (องค์สุดท้าย) กับหม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ ชายารองในเจ้าแก้วนวรัฐ สมรสกับเจ้าสุคันธา ณ เชียงตุง ราชธิดาในเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง เจ้าฟ้าหลวงนครเชียงตุง องค์ที่ 40 กับเจ้าบัวทิพย์หลวง มเหสีพระองค์หนึ่ง การสมรสระหว่างเจ้าอินทนนท์ กับเจ้าสุคันธา นับเป็นการสานสัมพันธ์อันดีระหว่างนครเชียงตุง กับนครเชียงใหม่อย่างดียิ่ง.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าดารารัศมี พระราชชายา

้าดารารัศมี พระราชชายา (150px) (26 สิงหาคม พ.ศ. 2416 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2476) เจ้าหญิงในราชวงศ์ทิพย์จักรจากนครเชียงใหม่ ผู้มีบทบาทสำคัญต่อการรวมล้านนาเข้ากับสยาม โดยการถวายตัวเป็นสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมลานน.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้าดารารัศมี พระราชชายา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้านายฝ่ายเหนือ

้านายฝ่ายเหนือ หมายถึง เจ้านายผู้สืบเชื้อสายในราชวงศ์ที่เคยปกครองอาณาจักรหัวเมืองเหนือ ซึ่งเข้ามาเป็นประเทศราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช อันได้แก่ เจ้าในราชวงศ์ทิพย์จักรที่ปกครองนครเชียงใหม่ นครลำปาง และนครลำพูน ราชวงศ์น่านที่ปกครองนครน่าน และราชวงศ์เทพวงศ์ที่ปกครองนครแพร่ ในอดีตเจ้าผู้ครองนครต่าง ๆ มีอำนาจสิทธิ์ขาดปกครองดินแดนของตน แต่มีหน้าที่ต้องส่งเครื่องบรรณาการถวายราชสำนักสยามเพื่อแสดงความจงรักภักดีเท่านั้น อย่างไรก็ตามราชสำนักสยามได้เริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในราชสำนักประเทศราชหลายครั้ง จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงยกเลิกการปกครองแบบประเทศราชเพื่อรวมศูนย์อำนาจการปกครองไว้ที่กรุงเทพฯ โดยเฉพาะ ตำแหน่งเจ้าประเทศราชก็ให้สิ้นสุดเมื่อเจ้านครนั้นถึงแก่พิราลัย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือในราชวงศ์ทิพย์จักรยังคงมีการสืบทอดกันจากรุ่นสู่รุ่น และยังมีการรวมกลุ่มดำเนินกิจกรรมต่างๆ ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเมื่อปี..

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้านายฝ่ายเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าแก้วนวรัฐ

มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ (90px) (29 กันยายน พ.ศ. 2405 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร และองค์สุดท้ายแห่งนครเชียงใหม.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้าแก้วนวรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าเติมศักดิ์ ณ เชียงใหม่

้าเติมศักดิ์ ณ เชียงใหม่ เจ้านายฝ่ายเหนือ โอรสในเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ กับหม่อมจันทร์สม ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม "ชนะนนท์") เป็นราชนัดดา (หลานปู่) ใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าหลวงผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เกิดที่คุ้มหลวงรินแก้ว (เดิมชื่อคุ้มแจ่งหัวริน) เมื่อวันที.

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเจ้าเติมศักดิ์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2416 ด้วยทรงเห็นว่าพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีทรงอยู่ในราชสมบัติยั่งยืนนานมาเป็นเวลา 90 ปี ก็ด้วยความจงรักภักดีและการปฏิบัติราชการของพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการทั้งปวง ทั้งมีพระราชประสงค์จะทรงชุบเลี้ยงบรรดาทายาทของบุคคลเหล่านี้ ให้มีความเจริญรุ่งเรืองในราชการสืบเนื่องต่อไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทายาทของผู้ได้รับพระราชทานสามารถรับพระราชทานตราสืบตระกูลของบิดาได้ โดยพระราชทานนามพระองค์ "จุลจอมเกล้า" เป็นนามของเครื่องราชอิสรยาภรณ์ตระกูลนี้ พร้อมทรงคิดคำขวัญจารึกบนดวงตราว่า "เราจะบำรุงตระกูลวงศ์ให้เจริญ".

ใหม่!!: เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่และเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »