โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและโป่มะยุง่วน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและโป่มะยุง่วน

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี vs. โป่มะยุง่วน

มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม.. ป่มะยุง่วน เป็นชาวพม่าที่ได้รับแต่งตั้งจากพระเจ้ามังระแห่งกรุงอังวะให้ไปครองเมืองเชียงใหม่ ก่อนที่กรุงศรีอยุธยาจะเสียแก่พม่าครั้งที่สองไม่นานนัก เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงยกกองทัพไปปราบชุมนุมเจ้าพระฝางที่เมืองสวางคบุรี พวกเจ้าพระฝางหนีไปพึ่งพม่าที่เมืองเชียงใหม่ โปมะยุง่วนเห็นเป็นโอกาส จึงยกกองทัพลงมาตีเมืองสวรรคโลก เมื่อปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและโป่มะยุง่วน

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและโป่มะยุง่วน มี 11 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชุมนุมเจ้าพระฝางพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)พระเจ้ากาวิละพระเจ้ามังระพระเจ้าจิงกูจาสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีสวรรคโลกอาณาจักรล้านนาอาณาจักรธนบุรีเมืองสวางคบุรี

ชุมนุมเจ้าพระฝาง

รูปหล่อบุคคลในพิพิธภัณฑ์วัดพระฝาง ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่าเป็นรูปหล่อของเจ้าพระฝาง (เรือน) อดีตผู้นำชุมนุมอิสระหลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองธีระวัฒน์ แสนคำ. (2559). "'''ศึกเจ้าพระฝาง พ.ศ. 2313: สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กับการปราบ "พวกสงฆ์อลัชชี" ที่เมืองสวางคบุรี'''," ใน ''ศิลปวัฒนธรรม''. ปีที่ 37 ฉบับที่ 5 มีนาคม ชุมนุมเจ้าพระฝาง เป็นชุมนุมอิสระภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ในปี พ.ศ. 2310 โดยมีผู้นำชุมนุมเป็นพระสงฆ์ คือ พระพากุลเถระ (มหาเรือน) พระสังฆราชาแห่งเมืองสวางคบุรี (ฝาง) ชุมนุมดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงยกทัพมาปราบปราม เมื่อ พ.ศ. 2313 โดยชุมนุมเจ้าพระฝาง เป็นชุมนุมอิสระสุดท้ายหลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกปราบชุมนุมก๊กเจ้าพระฝางได้นั้น นับเป็นการพระราชสงครามสุดท้ายที่ ทำให้สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงบรรลุพระราชภารกิจสำคัญ ในการรวบรวมพระราชอาณาเขตให้เป็นปึกแผ่นหนึ่งเดียวดังเดิมหลังภาวะจลาจลเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่า ในปี พ.ศ. 2310 และนับเป็นการสถาปนากรุงธนบุรีได้อย่างเบ็ดเสร็จสมบูรณ์ เมื่อสำเร็จศึกปราบชุมนุมก๊กเจ้าพระฝาง ในปี พ.ศ. 2313.

ชุมนุมเจ้าพระฝางและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · ชุมนุมเจ้าพระฝางและโป่มะยุง่วน · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและโป่มะยุง่วน · ดูเพิ่มเติม »

พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)

ระยาวิเชียรปราการ หรือ พระยาจ่าบ้าน (พระนามเดิม "บุญมา") เป็นพระยาประเทศราชนครเชียงใหม่สมัยกรุงธนบุรี ช่วง พ.ศ. 2317 - พ.ศ. 2319.

พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)และสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)และโป่มะยุง่วน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ากาวิละ

ระบรมราชาธิบดี หรือ พระเจ้ากาวิละ (125px) (พ.ศ. 2285 - พ.ศ. 2358) เป็นพระเจ้านครเชียงใหม่พระองค์แรกแห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ปกครองดินแดนล้านนาไท 57 เมือง ตลอดรัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาแห่งการศึกสงครามและสร้างบ้านแปงเมือง ทรงเป็นกษัตริย์ชาตินักรบได้ทรงร่วมกับพระอนุชาทั้ง 6 และกองทัพสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี กอบกู้อิสรภาพแผ่นดินล้านนาออกจากพม่า และนำล้านนาเข้ามาเป็นประเทศราชแห่งสยาม ด้วยพระปรีชาสามารถและพระเดชานุภาพในการรบ ทรงสามารถขยายขอบขัณฑสีมาแผ่นดินล้านนาออกไปอย่างกว้างใหญ่ไพศาล กอปรกับความจงรักภักดีที่ทรงถวายต่อพระบรมราชวงศ์จักรี ในวันที่ 14 กันยายน..

พระเจ้ากาวิละและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · พระเจ้ากาวิละและโป่มะยุง่วน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามังระ

ระเจ้ามังระ หรือ พระเจ้าซินพะยูชิน (ဆင်ဖြူရှင်;‌ Hsinbyushin.) เป็นพระโอรสองค์ที่ 2 ในจำนวน 6 พระองค์ของพระเจ้าอลองพญา ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์อลองพญาหรือราชวงศ์คองบอง ได้ขึ้นเป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์อลองพญา ในปี..

พระเจ้ามังระและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · พระเจ้ามังระและโป่มะยุง่วน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจิงกูจา

ระเจ้าจิงกูจา (Singu Min,စဉ့်ကူးမင်း) พระโอรสของพระเจ้ามังระ ขึ้นครองราชย์ด้วยพระชันษาเพียง 20 ปี ภายหลังการสวรรคตของพระเจ้ามังระ พระเจ้าจิงกูจา ได้ทำการปราบบรรดาผู้ที่ต่อต้านน้อยใหญ่ ซึ่งประกอบไปด้วยเชื้อพระวงศ์ พระญาติ และเหล่าขุนนางด้วยวิธีการที่เด็ดขาด คือ ประหารชีวิตเสียหลายคน และหลายคนก็ถูกลดอำนาจหรือส่งไปอยู่หัวเมืองที่ห่างไกล เช่น พระเจ้าปดุง ที่ถูกส่งไปอยู่เมืองสะกาย และมีผู้ทำการควบคุมอีกชั้นหนึ่ง โดยเมื่อพระองค์ได้อำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดแล้วก็ทรงปลดอะแซหวุ่นกี้แม่ทัพคู่บารมีของพระเจ้ามังระพระราชบิดาของพระองค์ลงแล้วเนรเทศไปอยู่ที่เมืองสะกายเช่นเดียวกับพระเจ้าปดุง ทั้งที่แม่ทัพเฒ่าผู้นี้ยกกองทัพกลับมาจากการตีกรุงธนบุรี เพื่อมาควบคุมสถานะการในกรุงอังวะจนเรียบร้อยและมอบพระราชอำนาจเต็มแก่พระองค์ ซึ่งหากวิเคราะห์แล้วก็อาจเป็นเพราะอะแซหวุ่นกี้มีอำนาจ บารมีทางการทหารมากเกินไป รวมไปถึงเนเมียวสีหบดี, เนเมียวสีหตูและเหล่าขุนนางเก่าในพระเจ้ามังระพระองค์ก็ประหารทิ้งบ้าง ปลดทิ้งเสียจากตำแหน่งบ้างไปอีกหลายคน ซึ่งการใช้พระเดชเช่นนี้ทำให้ระหว่างการครองราชย์ผู้คนรอบตัวต่างหวาดระแวงภัยที่อาจมาถึงตัวเมื่อใดก็ได้ ในที่สุดหลังจากพระเจ้าจิงกูจาครองราชย์เพียง 5 ปี ก็ถูกเชื้อพระวงศ์พระองค์หนึ่ง คือ หม่องหม่อง โอรสของพระเจ้ามังลอก ทำการรัฐประหารยึดพระราชวัง ในระหว่างที่พระองค์เสด็จไปสักการะพระพุทธรูปสิงหดอที่ทางเหนือ โดยความช่วยเหลือของขุนนางและเชื้อพระวงศ์หลายคน (เชื่อว่ารวมทั้งอะแซหวุ่นกี้ที่ทนต่อการบริหารราชการของพระองค์ไม่ได้) แต่แรกพระเจ้าจิงกูจาคิดจะหนีไปอาศัยอยู่เมืองกะแซ แต่เป็นห่วงพระราชชนนีจึงลอบลงมาใกล้เมืองอังวะ แล้วมีหนังสือเข้าไปทูลให้ทราบว่าจะหนีไปเมืองกะแซ.

พระเจ้าจิงกูจาและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · พระเจ้าจิงกูจาและโป่มะยุง่วน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและโป่มะยุง่วน · ดูเพิ่มเติม »

สวรรคโลก

วรรคโลก อาจหมายถึง.

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและสวรรคโลก · สวรรคโลกและโป่มะยุง่วน · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านนา

อาณาจักรล้านนา (95px) คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก ฝั่งตะวันตกแม่นำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอนสรัสวดี อ๋องสกุล.

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและอาณาจักรล้านนา · อาณาจักรล้านนาและโป่มะยุง่วน · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรธนบุรี

อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง..

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและอาณาจักรธนบุรี · อาณาจักรธนบุรีและโป่มะยุง่วน · ดูเพิ่มเติม »

เมืองสวางคบุรี

วางคบุรี หรือ ฝาง เป็นเมืองโบราณที่มีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของผู้คนสืบต่อเนื่องยาวนานมากที่สุดแห่งหนึ่งในจังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นเมืองที่อยู่เหนือสุดปลายพระราชอาณาเขตและเป็นศูนย์กลางทางศาสนาที่สำคัญของอาณาจักรอยุธยาโบราณ โดยอาณาเขตเมืองสวางคบุรีโบราณครอบคลุมพื้นที่ ตำบลผาจุก, ตำบลคุ้งตะเภา และตำบลแสนตอ ในปัจจุบัน เมืองสวางคบุรี ปรากฏหลักฐานการมีอยู่ในพงศาวดารเหนือ ระบุว่าเป็นที่ตั้งของพระมหาธาตุที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุส่วนพระรากขวัญของพระพุทธเจ้า และปรากฏชื่อเมืองในศิลาจารึกสุโขทัยหลายหลัก รวมถึงพระราชพงศาวดารตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงรัตนโกสินทร์ และจากการเคยเป็นเมืองชายแดนพระราชอาณาเขต ทำให้เมืองนี้มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับผู้คนจากแคว้นล้านนาและล้านช้าง ผู้ที่อยู่อาศัยในเมืองส่วนใหญ่สืบทอดขนบวัฒนธรรมแบบคนหัวเมืองเหนือโบราณ (ภาษาถิ่นสุโขทัย) ซึ่งเป็นชนกลุ่มใหญ่ของเมืองนี้ หลังการสิ้นสุดลงของชุมนุมเจ้าพระฝาง ระหว่างปี พ.ศ. 2310-2313 ที่มีเมืองสวางคบุรีเป็นศูนย์กลาง และการขับไล่พม่ารวบรวมหัวเมืองล้านนาไว้ภายในพระราชอาณาเขตได้ในสมัยกรุงธนบุรี ประกอบกับตำแหน่งภูมิศาสตร์ทางการค้าลุ่มแม่น้ำน่านในยุคต่อมาเปลี่ยนแปลงไป ทำให้เมืองสวางคบุรีร่วงโรยลงในระยะต่อมา เมืองสวางคบุรีได้ลดฐานะความเป็นเมืองสำคัญทางศาสนาลงในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เนื่องจากเมืองสวางคบุรีไม่ได้เป็นเมืองเหนือสุดปลายพระราชอาณาเขตอีกต่อไป อีกทั้งชาวเมืองสวางคบุรีส่วนใหญ่ได้โยกย้ายไปอยู่ในบริเวณที่กลายมาเป็นเมืองบางโพ (ท่าอิฐ, ท่าเสา) และได้รับยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัดอุตรดิตถ์ในปัจจุบัน.

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและเมืองสวางคบุรี · เมืองสวางคบุรีและโป่มะยุง่วน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและโป่มะยุง่วน

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี มี 110 ความสัมพันธ์ขณะที่ โป่มะยุง่วน มี 32 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 11, ดัชนี Jaccard คือ 7.75% = 11 / (110 + 32)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและโป่มะยุง่วน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »