โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กระดูกสะบักและแอ่งกลีนอยด์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กระดูกสะบักและแอ่งกลีนอยด์

กระดูกสะบัก vs. แอ่งกลีนอยด์

ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ กระดูกสะบัก (Scapula) เป็นกระดูกแบบแบน (flat bone) ชิ้นหนึ่งที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของกระดูกส่วนไหล่ (shoulder girdle) โดยมีส่วนที่ติดต่อกับกระดูกไหปลาร้า (clavicle) และกระดูกต้นแขน (humerus) นอกจากนี้ยังเป็นที่ยึดเกาะของเอ็นเพื่อประกอบเป็นข้อต่อไหล่ (shoulder joint) และมีกล้ามเนื้อหลายมัดที่มีพื้นผิวบนกระดูกสะบักเป็นจุดเกาะต้น (origin) และจุดเกาะปลาย (insertion) อีกด้วย ดังนั้นกระดูกสะบักจึงเป็นกระดูกที่มีความสำคัญยิ่งในการเคลื่อนไหวของแขนรอบข้อต่อไหล. แอ่งกลีนอยด์ (glenoid cavity; glenoid fossa of scapula) เป็นพื้นผิวที่เป็นข้อต่อ มีลักษณะตื้น รูปชมพู่หรือลูกแพร์ อยู่ที่มุมด้านข้างของกระดูกสะบัก แอ่งนี้เป็นข้อต่อที่รับกับหัวของกระดูกต้นแขน (humerus) ฐานล่างของแอ่งนี้กว้างกว่ายอดบน พื้นผิวของแอ่งนี้ปกคลุมด้วยกระดูกอ่อน ที่ขอบซึ่งยกสูงขึ้นเล็กน้อยยึดติดกับโครงสร้างที่เป็นไฟโบรคาร์ทิเลจ (fibrocartilage) เรียกว่า กลีนอยด์ ลาบรัม (glenoid labrum) ซึ่งช่วยในการยกขอบให้แอ่งนี้ลึกขึ้น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กระดูกสะบักและแอ่งกลีนอยด์

กระดูกสะบักและแอ่งกลีนอยด์ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กระดูกต้นแขนมุมด้านข้างของกระดูกสะบัก

กระดูกต้นแขน

ในกายวิภาคศาสตร์ กระดูกต้นแขน (Humerus) เป็นกระดูกแบบยาวที่เป็นแกนของส่วนต้นแขน (Arm) หรือต้นขาหน้าในสัตว์สี่เท้า กระดูกต้นแขนจะอยู่ระหว่างกระดูกสะบัก (scapula) ที่อยู่ในบริเวณไหล่ กับกระดูกของส่วนปลายแขน (forearm) คือกระดูกเรเดียส (Radius) และกระดูกอัลนา (Ulna) พื้นผิวด้านต่างๆของกระดูกต้นแขนยังเป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อจากบริเวณต่างๆที่ช่วยในการเคลื่อนไหวของแขนอีกด้ว.

กระดูกต้นแขนและกระดูกสะบัก · กระดูกต้นแขนและแอ่งกลีนอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

มุมด้านข้างของกระดูกสะบัก

มุมด้านข้างของกระดูกสะบัก หรือ หัวกระดูกสะบัก (head of the scapula) เป็นส่วนที่หนาที่สุดของกระดูกสะบัก บริเวณนี้มีพื้นผิวที่เป็นข้อต่อ มีลักษณะตื้น รูปชมพู่หรือลูกแพร์ เรียกว่า แอ่งกลีนอยด์ (glenoid cavity) ซึ่งชี้ไปทางด้านข้างลำตัวและด้านหน้า เป็นข้อต่อกับส่วนหัวของกระดูกต้นแขน (head of the humerus) พื้นผิวของแอ่งนี้ปกคลุมด้วยกระดูกอ่อน ที่ขอบซึ่งยกสูงขึ้นเล็กน้อยยึดติดกับโครงสร้างที่เป็นไฟโบรคาร์ทิเลจ (fibrocartilage) เรียกว่า กลีนอยด์ ลาบรัม (glenoid labrum) ซึ่งช่วยในการยกขอบให้แอ่งนี้ลึกขึ้น ที่ยอดของแอ่งมีการยกสูงเล็กน้อยเป็นปุ่มเรียกว่า ปุ่มเหนือแอ่งกลีนอยด์ (supraglenoid tuberosity) เป็นจุดเกาะของปลายจุดเกาะต้นด้านยาว (long head) ของกล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรคิไอ (biceps brachii) ที่คอของกระดูกสะบัก (neck of the scapula) มีลักษณะคอดเล็กน้อย ซึ่งบริเวณด้านล่างและด้านหลังจะแตกต่างกับด้านบนและด้านหน้าอย่างชัดเจน.

กระดูกสะบักและมุมด้านข้างของกระดูกสะบัก · มุมด้านข้างของกระดูกสะบักและแอ่งกลีนอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กระดูกสะบักและแอ่งกลีนอยด์

กระดูกสะบัก มี 26 ความสัมพันธ์ขณะที่ แอ่งกลีนอยด์ มี 4 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 6.67% = 2 / (26 + 4)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กระดูกสะบักและแอ่งกลีนอยด์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »